SlideShare a Scribd company logo
ปัญหาการลดความอ้วน
สาเหตุของโรคอ้วน
คนเรารับประทานอาหารเข้าไปไม่ว่าจะเป็นประเภทแป้ ง หรือ
โปรตีนหากพลังงานที่ได้รับเกินความต้องการร่างกายก็จะสะสมอาหาร
ส่วนเกินเหล่านั้นในรูปไขมัน สะสมมากขึ้นจนกลายเป็นโรคอ้วน ดังนั้น คน
ที่อ้วนเกิดจากเรารับอาหารที่มีพลังงานมากกว่าพลังงานที่เราใช้ไป สาเหตุ
จริงๆยังไม่ทราบแน่ชัด โรคอ้วนมักจะมีสาเหตุต่างๆดังนี้
• การรับประทานอาหาร หากรับประทานอาหารที่ให้พลังงานสูงเป็นประจา จะให้น้าหนักเกินโดยเฉพาะอาหารที่มีไขมัน และแป้ งสูงซึ่ง
มักจะพบในอาหารจานด่วน
• ประเภทของอาหาร โดยเฉพาะผู้ที่ชอบรับประทานอาหารที่มีน้าตาล ไม่ว่าจะเป็นกลูโคส sugars, fructose,น้าหวาน
เครื่องดื่ม ไวน์ เบียร์ อาหารเหล่านี้ จะดูดซึมอย่างรวดเร็ว และทาให้ร่างกายหลั่งอินซูลินเป็นปริมาณมาก ซึ่งเชื่อว่าจะเป็นสาเหตุของ
โรคอ้วน
• ภาวะที่ร่างกายเผาพลาญพลังงานน้อย ผู้ชายจะมีกล้ามเนื้ อมากว่าผู้หญิง กล้ามเนื้ อจะเผาพลังงานได้มาก ดังนั้นผู้หญิงจึงอ้วน
ง่ายกว่าผู้ชายและลดน้าหนักยาก
• โรคต่อมไร้ท่อ เช่นต่อมไทรอยด์ทางานน้อย จะมีน้าหนักเกินเนื่องจากร่างกายเผาผลาญอาหารน้อยลง
โรค cushing ร่างกายสร้างฮอร์โมนcortisol มากทาให้ร่างกายมีการสะสมไขมัน ฮอร์โมนนี้ อาจจะมาจากร่างกายสร้างเอง หรือ
จากลูกกลอน ยาแก้หอบ ยาชุด หรือร่างกายสร้างขึ้นเนื่องจากเนื้ องอกต่อมหมวกไต
• จากยา ยาบางชนิดทาให้ความอยากอาหารเพิ่ม เช่นยาคุมกาเนิด ยาแก้โรคซึมเศร้า tricyclic
antidepressant,phenothiazine ยาลดความดันbeta-block ยารักษาเบาหวาน ยาคุมกาเนิด ยา steroid
• กรรมพันธุ์ จะพบว่าบางครอบครัวจะอ้วนทั้งหมดซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจากพันธุกรรม เช่นคนที่เป็นโรคขาด leptin ซึ่งเป็น
ฮอร์โมนที่ส่งไปยังสมองทาให้เรารับอาหารน้อยลง แต่อีกส่วนหนึ่งอาจจะเกิดจากวัฒนธรรมการรับประทานอาหารและความเป็นอยู่
• วัฒนธรรมการดารงชีวิตและอาหารซึ่งเห็นได้ว่าบางชาติจะมีน้าหนักเกินเนื่องจากอาหารของชาตินั้นนิยมอาหารมันๆ
• ความผิดปกติทางจิตใจทาให้รับประทานอาหารมาก เช่นบางคนเศร้า เครียด แล้วรับประทานอาหารเก่ง
• การดาเนินชีวิตอย่างสบาย มีเครื่องอานวยความสะดวดมากมาย และขาดการออกกาลังกาย มีรถยนต์ มีเครื่องทุ่นแรง มีทีวี
รายการดีๆให้ดู มีสื่อโฆษณาถึงน้าหวาน น้าอัดลม เหล่านี้ เป็นปัจจัยเสี่ยงโรคอ้วนตั้งแต่ในวัยเด็ก
• สุราให้เพียงแต่พลังงานแต่คุณค่าทางโภชนาการต่ามาก
คาแนะนา
• เนื่องจากสุราให้พลังงาน และมีคุณค่าทางโภชนาการต่า ดังนั้นคนที่ดื่มสุรามักจะขาดสารอาหารและมีน้าหนักเกิน
• การรับประทานสุราแต่พอควรโดยกาหนดให้ผู้หญิงดื่มไม่เกินวันละ 1 หน่วยสุรา ส่วนผู้ชายไม่เกิน 2 หน่วยสุรา
• เบียร์ไม่เกิน 360 ซีซี
• ไวน์ไม่เกิน 150 ซีซี
• สุราอื่นไม่เกิน 45 ซีซี
• คนบางจาพวกไม่ควรดื่มสุราได้แก่
• ผู้ที่ไม่สามารถควบคุมปริมาณสุราที่จะดื่ม
• หญิงวัยเจริญพันธุ์
• คนตั้งครรภ์
• ผู้ที่เลี้ ยงลูกด้วยนมตัวเอง
• ผู้ที่รับประทานยา
• ผู้ที่ทางานต้องใช้ทักษะหรือสมาธิ เช่นคนขับรถ
• ผู้ที่มีวัยกลางคนเมื่อสุราตามที่กาหนดจะมีอัตราการเกิดโรคหัวใจ และอัตราการเสียตา่่ กว่าผู้ที่ไม่ดื่มสุรา
• ผู้ที่ดื่มสุราต้องรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ ไม่สูบบุหรี่ รักษาน้าหนักมิให้เกิน
• วัยรุ่นไม่ได้รับประโยชน์จากการดื่มสุรา
• ไม่แนะนาให้ดื่มสุราเพื่อเหตุผลทางสุขภาพ
ความอ้วนมีสาเหตุมาจาก
• -ได้พลังงานจากอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย คือ การกินเข้าไปมากแต่ใช้น้อย อาหารที่
ให้ พลังงานคือ อาหารพวกแป้ งและน้าตาล เนื้ อสัตว์ต่าง ๆ ไขมัน กะทิ และเหล้าเบียร์ ฉะนั้น หากใครกิน
อาหารประเภทของหวาน ของมัน หรอดื่มเหล้าเบียร์มากก็อ้วนได้ทั้งนั้น
• -อ้วนเพราะออกกาลังกายน้อยไป เช่นคนที่ใช้เวลานั่งโต๊ะทางาน เป็นส่วนใหญ่
• -กรรมพันธุ์ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้คนอ้วน แต่พบได้น้อย คนอ้วนมักจะชอบโทษว่ากรรมพันธุ์เป็นสาเหตุที่ทาให้ตน
อ้วน ซึ่งความจริงแล้วโรคอ้วนมักมาจากปัญหาของพฤติกรรมการชอบกินมากกว่า
• -ความอ้วนเกิดจากโรคบางชนิด เช่น ความผิดปกติของฮอร์โมน ความผิดปกติของสมอง แต่ความอ้วนจากสาเหตุนี้ พบ
น้อยมาก
• เรากล่าวกันไปแล้วเกี่ยวกับสาเหตุของความอ้วน มาดูกันบ้างว่าในแต่ละวันคนเรานั้นควรได้รับสารอาหารประมานเท่าไหร่
• การปรับนิสัยการกินของตนเอง ไม่กินของหวานจัด มันจัดเค็มจัดเพิ่มการกินผักและผลไม้ให้มากขึ้นเป็นการเริ่มต้น ที่ดี สาหรับ
การกินอะไร ได้มากน้อยแค่ไหน ยังเป็นคาถามที่ต้องหาคาตอบ คาว่า “พอดี” ของ แต่ละคนไม่เท่ากัน จะทราบได้อย่างไรว่า
ควรกินข้าว ผัก ผลไม้ เนื้ อสัตว์ นม ได้แค่ไหนจึงถูกหลักโภชนาการ ทุกวันนี้ อาศัยความชอบ ความต้องการของตนเองเป็นหลัก
หากบังเอิญกินได้ถูกต้องก็ถือว่าโชคดีไป แต่ขณะนี้ ไม่ต้องรอเสี่ยงโชคอีกแล้ว เพราะมีงานวิจัยที่สามารถกาหนดปริมาณอาหารที่
เหมาะสมครอบคลุมกลุ่มคนไทยอายุ ตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป จนถึงผู้สูงอายุ บางท่านอาจเคยเห็นโปสเตอร์รูป “ธงโภชนาการ” ของ
กระทรวงสาธารณสุขมาแล้วเชื่อได้ว่ายังมีผู้ที่ไม่เคยเห็น หรือยังไม่สามารถ นาไปปฏิบัติได้ จึงขอให้หลักการง่าย ๆ ดังนี้ คือ ขั้น
แรกต้องจัดตัวเองว่าอยู่ในคนกลุ่มใดก่อน เพื่อจะดูว่าควรกินอาหารให้ได้รับพลังงานทั้งวันVปริมาณเท่าใด
ระดับพลังงาน แตกต่างกันตามเพศ วัย และกิจกรรม
• พลังงาน 1600 กิโลแคลอรี – สาหรับเด็ก หญิงวัยทางาน และผู้สูงอายุ
• พลังงาน 2000 กิโลแคลอรี – สาหรับวัยรุ่น ชายวัยทางาน
• พลังงาน 2400 กิโลแคลอรี – สาหรับผู้ที่ใช้พลังงานมาก เช่น นักกีฬา เกษตรกร กรรมกร
• ต่อจากนั้นก็มาดูว่า จะกินอย่างไรให้สมดุล ปริมาณพอดี ซึ่งต้องดูจากปริมาณอาหารในแต่ละกลุ่ม
กลุ่มข้าว – แป้ ง
• ควรได้รับวันละ 8-12 ทัพพี อย่าเพิ่งดีใจว่ากินเท่าไรก็ได้ ความจริงก็คือ ต้องกินให้พอเหมาะกับความต้องการ พลังงาน
ของตัวเอง ถ้าเป็นหญิงวัยทางาน วัยทอง หรือสูงอายุ กินวันละ 8 ทัพพี ชายวัยทางานวันละ 10 ทัพพี และถ้าใช้พลังงาน
มากก็กินได้ถึง 12 ทัพพี อาหารกลุ่มนี้ รวมถึง ข้าว ก๋วยเตี๋ยว บะหมี่ ขนมจีน ขนมปัง และขนมทั้งหลายที่มีแป้ งเป็น
ส่วนประกอบ เช่น ขนมเค้ก ซาลาเปา บัวลอย ซ่าหริ่ม อะไร ๆ ที่เป็นแป้ งนับรวมอยู่ในกลุ่มนี้ ทั้งหมด
กลุ่มผัก
• แหล่งของใยอาหาร ผู้ใหญ่ควรกินผักวันละ 6 ทัพพี เด็ก ๆ วันละ 4 ทัพพี (1 ทัพพีประมาณ 3-4 ช้อนกินข้าว )
เมนูอาหารจานผักหาทานไม่ยาก ไม่ว่าจะเป็นแกงส้ม แกงเลียง แกงป่ า หรือจอาหารจานเดียว เช่น ขนมจีนน้าพริก
น้ายา หรือข้าวยา ใน 1 มื้อได้ผัก 2 ทัพพี ไม่ยากนัก อย่าลืมหมุนเวียนชนิดของผัก จะได้ปลอดภัยจากยาฆ่าแมลง และ
ได้สารอาหารตามที่ต้องการ
กลุ่มผลไม้
• ขอให้ยืดหลักว่า ควรทานผลไม้หลังอาหารทุกมื้อและระหว่างมื้อเมื่อหิว รวม ๆ แล้วควรได้ผลไม้วันละ 3-5 ส่วน แต่
ละ 1 ส่วน ของผลไม้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ เช่น กล้วยน้าว้า 1 ผล ส้มเขียวหวาน 1 ผลใหญ่ ฝรั่ง 1/2 ผล
เงาะ 4 ผล ถ้าเป็นผลไม้ผลใหญ่ เช่น มะละกอ สับปะรด แตงโม ประมาณ 6-8 คาเท่ากับ 1 ส่วน ปริมาณผลไม้มาก
น้อยขึ้นอยู่กับความต้องการพลังงาน
• อาหารกลุ่มผักและผลไม้อาจทดแทนกันได้บ้าง วันไหนกับข้าวไม่ค่อยมีผัก ก็เพิ่มผลไม้ รวม ๆ แล้วทั้งวันควรได้ ผัก –
ผลไม้ รวมกันไม่น้อยกว่า 1/2 กิโลกรัมจึงจะได้ใยอาหารเพียงพอ
กลุ่มเนื้ อสัตว์ ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง
• เลือกทานเนื้ อสัตว์เล็ก เช่น ปลา ไก่ เพราะไขมันต่า ผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง เช่น เต้าหู้ชนิดต่าง ๆ เป็นทางเลือกของผู้รัก
สุขภาพ ปริมาณอาหารในกลุ่มนี้ คือ 6-12 ช้อนกินข้าว ปริมาณอาหารที่เทียบเท่ากับเนื้ อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว คือ เต้าหู้
ขาวแข็ง 1/4 ก้อน เต้าหู้ขาวหลอด 1/2 หลอด ไข่ 1/2 ฟอง ปลาทู 1/2 ตัว เป็นต้น
กลุ่มนม
• เด็ก ๆ ควรดื่มนมจืดวันละ 2-3 แก้ว ผู้ใหญ่วันละ 1-2 แก้ว สาหรับผู้ที่ไม่ดื่มนมวัวด้วยเหตุผลใด ๆ ก็ตาม ก็สามารถ
ดื่มนมถั่วเหลือง ได้เพราะให้โปรตีนปริมาณใกล้เคียงกัน แต่ควรเพิ่มการบริโภคปลาเล็กปลาน้อยและ ผักใบเขียวเข้ม
เพื่อให้ได้รับแร่ธาตุแคลเซียมเพียงพอ
• นอกจากตัวอาหารหลักแล้วเครื่องปรุ่งอย่าง น้าตาล เกลือเเละน้ามันก็ควรที่จะควบคุมไม่เกินตามปริมาณที่เหมาะสม
เช่นกัน
• ปริมาณน้าตาลต่อวันไม่เกิน เด็ก 4 ช้อนชา และ ผู้ใหญ่ 6 ช้อนชา
• น้ามันไม่เกิน 65 กรัมหรือไม่เกิน 16 ช้อนชา
• โซเดี่ยม(ของให้รสเค็ม) 2300 มิลลิกรัม (ประมาณ 1 ช้อนชา)
บางคนอาจจะเคยได้ยินมาว่า เด็กควรกินแต่โปรตีนเท่านั้น โปรตีนดีที่สุด
แล้ว แล้ววันนึงเราควรกินเท่าไหร่มาดูกันครับ

More Related Content

What's hot

Weight Control Meal Program
Weight Control Meal ProgramWeight Control Meal Program
Weight Control Meal Program
Pragasit Thitaram
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่an1030
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]arpakornsw2
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
anutidabulakorn
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
nin261
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
kasocute
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด Kraisee PS
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงวิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
Panuwat Beforetwo
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
ssuserf1e77f
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 

What's hot (15)

Weight Control Meal Program
Weight Control Meal ProgramWeight Control Meal Program
Weight Control Meal Program
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงวิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 

Viewers also liked

Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
Bream Mie
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้าปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
Jenjira1996
 
แคลลอรี่อาหาร
แคลลอรี่อาหารแคลลอรี่อาหาร
แคลลอรี่อาหารWirika Samee
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
Utai Sukviwatsirikul
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories tableตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories tableKruKaiNui
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (7)

Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้าปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
 
แคลลอรี่อาหาร
แคลลอรี่อาหารแคลลอรี่อาหาร
แคลลอรี่อาหาร
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories tableตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
 

Similar to ปัญหาการลดความอ้วน

โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13
memomild
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
rubtumproject.com
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
tassanee chaicharoen
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
พรพจน์ แสงแก้ว
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
Anupa Ice
 
โรคอ้วน กลุ่มเทรนเนอร์ ม.1/10
โรคอ้วน กลุ่มเทรนเนอร์  ม.1/10 โรคอ้วน กลุ่มเทรนเนอร์  ม.1/10
โรคอ้วน กลุ่มเทรนเนอร์ ม.1/10 ppluem
 
3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้Mint NutniCha
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
onginzone
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน
กินอย่างไรไม่ให้อ้วนกินอย่างไรไม่ให้อ้วน
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน
ntkaum
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
เอิท. เอิท
 

Similar to ปัญหาการลดความอ้วน (20)

โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
 
โรคอ้วน กลุ่มเทรนเนอร์ ม.1/10
โรคอ้วน กลุ่มเทรนเนอร์  ม.1/10 โรคอ้วน กลุ่มเทรนเนอร์  ม.1/10
โรคอ้วน กลุ่มเทรนเนอร์ ม.1/10
 
3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน
กินอย่างไรไม่ให้อ้วนกินอย่างไรไม่ให้อ้วน
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 

ปัญหาการลดความอ้วน

  • 2. สาเหตุของโรคอ้วน คนเรารับประทานอาหารเข้าไปไม่ว่าจะเป็นประเภทแป้ ง หรือ โปรตีนหากพลังงานที่ได้รับเกินความต้องการร่างกายก็จะสะสมอาหาร ส่วนเกินเหล่านั้นในรูปไขมัน สะสมมากขึ้นจนกลายเป็นโรคอ้วน ดังนั้น คน ที่อ้วนเกิดจากเรารับอาหารที่มีพลังงานมากกว่าพลังงานที่เราใช้ไป สาเหตุ จริงๆยังไม่ทราบแน่ชัด โรคอ้วนมักจะมีสาเหตุต่างๆดังนี้
  • 3. • การรับประทานอาหาร หากรับประทานอาหารที่ให้พลังงานสูงเป็นประจา จะให้น้าหนักเกินโดยเฉพาะอาหารที่มีไขมัน และแป้ งสูงซึ่ง มักจะพบในอาหารจานด่วน • ประเภทของอาหาร โดยเฉพาะผู้ที่ชอบรับประทานอาหารที่มีน้าตาล ไม่ว่าจะเป็นกลูโคส sugars, fructose,น้าหวาน เครื่องดื่ม ไวน์ เบียร์ อาหารเหล่านี้ จะดูดซึมอย่างรวดเร็ว และทาให้ร่างกายหลั่งอินซูลินเป็นปริมาณมาก ซึ่งเชื่อว่าจะเป็นสาเหตุของ โรคอ้วน • ภาวะที่ร่างกายเผาพลาญพลังงานน้อย ผู้ชายจะมีกล้ามเนื้ อมากว่าผู้หญิง กล้ามเนื้ อจะเผาพลังงานได้มาก ดังนั้นผู้หญิงจึงอ้วน ง่ายกว่าผู้ชายและลดน้าหนักยาก • โรคต่อมไร้ท่อ เช่นต่อมไทรอยด์ทางานน้อย จะมีน้าหนักเกินเนื่องจากร่างกายเผาผลาญอาหารน้อยลง โรค cushing ร่างกายสร้างฮอร์โมนcortisol มากทาให้ร่างกายมีการสะสมไขมัน ฮอร์โมนนี้ อาจจะมาจากร่างกายสร้างเอง หรือ จากลูกกลอน ยาแก้หอบ ยาชุด หรือร่างกายสร้างขึ้นเนื่องจากเนื้ องอกต่อมหมวกไต • จากยา ยาบางชนิดทาให้ความอยากอาหารเพิ่ม เช่นยาคุมกาเนิด ยาแก้โรคซึมเศร้า tricyclic antidepressant,phenothiazine ยาลดความดันbeta-block ยารักษาเบาหวาน ยาคุมกาเนิด ยา steroid • กรรมพันธุ์ จะพบว่าบางครอบครัวจะอ้วนทั้งหมดซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจากพันธุกรรม เช่นคนที่เป็นโรคขาด leptin ซึ่งเป็น ฮอร์โมนที่ส่งไปยังสมองทาให้เรารับอาหารน้อยลง แต่อีกส่วนหนึ่งอาจจะเกิดจากวัฒนธรรมการรับประทานอาหารและความเป็นอยู่ • วัฒนธรรมการดารงชีวิตและอาหารซึ่งเห็นได้ว่าบางชาติจะมีน้าหนักเกินเนื่องจากอาหารของชาตินั้นนิยมอาหารมันๆ • ความผิดปกติทางจิตใจทาให้รับประทานอาหารมาก เช่นบางคนเศร้า เครียด แล้วรับประทานอาหารเก่ง • การดาเนินชีวิตอย่างสบาย มีเครื่องอานวยความสะดวดมากมาย และขาดการออกกาลังกาย มีรถยนต์ มีเครื่องทุ่นแรง มีทีวี รายการดีๆให้ดู มีสื่อโฆษณาถึงน้าหวาน น้าอัดลม เหล่านี้ เป็นปัจจัยเสี่ยงโรคอ้วนตั้งแต่ในวัยเด็ก • สุราให้เพียงแต่พลังงานแต่คุณค่าทางโภชนาการต่ามาก
  • 4. คาแนะนา • เนื่องจากสุราให้พลังงาน และมีคุณค่าทางโภชนาการต่า ดังนั้นคนที่ดื่มสุรามักจะขาดสารอาหารและมีน้าหนักเกิน • การรับประทานสุราแต่พอควรโดยกาหนดให้ผู้หญิงดื่มไม่เกินวันละ 1 หน่วยสุรา ส่วนผู้ชายไม่เกิน 2 หน่วยสุรา • เบียร์ไม่เกิน 360 ซีซี • ไวน์ไม่เกิน 150 ซีซี • สุราอื่นไม่เกิน 45 ซีซี • คนบางจาพวกไม่ควรดื่มสุราได้แก่ • ผู้ที่ไม่สามารถควบคุมปริมาณสุราที่จะดื่ม • หญิงวัยเจริญพันธุ์ • คนตั้งครรภ์ • ผู้ที่เลี้ ยงลูกด้วยนมตัวเอง • ผู้ที่รับประทานยา • ผู้ที่ทางานต้องใช้ทักษะหรือสมาธิ เช่นคนขับรถ • ผู้ที่มีวัยกลางคนเมื่อสุราตามที่กาหนดจะมีอัตราการเกิดโรคหัวใจ และอัตราการเสียตา่่ กว่าผู้ที่ไม่ดื่มสุรา • ผู้ที่ดื่มสุราต้องรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ ไม่สูบบุหรี่ รักษาน้าหนักมิให้เกิน • วัยรุ่นไม่ได้รับประโยชน์จากการดื่มสุรา • ไม่แนะนาให้ดื่มสุราเพื่อเหตุผลทางสุขภาพ
  • 5. ความอ้วนมีสาเหตุมาจาก • -ได้พลังงานจากอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย คือ การกินเข้าไปมากแต่ใช้น้อย อาหารที่ ให้ พลังงานคือ อาหารพวกแป้ งและน้าตาล เนื้ อสัตว์ต่าง ๆ ไขมัน กะทิ และเหล้าเบียร์ ฉะนั้น หากใครกิน อาหารประเภทของหวาน ของมัน หรอดื่มเหล้าเบียร์มากก็อ้วนได้ทั้งนั้น • -อ้วนเพราะออกกาลังกายน้อยไป เช่นคนที่ใช้เวลานั่งโต๊ะทางาน เป็นส่วนใหญ่ • -กรรมพันธุ์ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้คนอ้วน แต่พบได้น้อย คนอ้วนมักจะชอบโทษว่ากรรมพันธุ์เป็นสาเหตุที่ทาให้ตน อ้วน ซึ่งความจริงแล้วโรคอ้วนมักมาจากปัญหาของพฤติกรรมการชอบกินมากกว่า • -ความอ้วนเกิดจากโรคบางชนิด เช่น ความผิดปกติของฮอร์โมน ความผิดปกติของสมอง แต่ความอ้วนจากสาเหตุนี้ พบ น้อยมาก
  • 6.
  • 7. • เรากล่าวกันไปแล้วเกี่ยวกับสาเหตุของความอ้วน มาดูกันบ้างว่าในแต่ละวันคนเรานั้นควรได้รับสารอาหารประมานเท่าไหร่ • การปรับนิสัยการกินของตนเอง ไม่กินของหวานจัด มันจัดเค็มจัดเพิ่มการกินผักและผลไม้ให้มากขึ้นเป็นการเริ่มต้น ที่ดี สาหรับ การกินอะไร ได้มากน้อยแค่ไหน ยังเป็นคาถามที่ต้องหาคาตอบ คาว่า “พอดี” ของ แต่ละคนไม่เท่ากัน จะทราบได้อย่างไรว่า ควรกินข้าว ผัก ผลไม้ เนื้ อสัตว์ นม ได้แค่ไหนจึงถูกหลักโภชนาการ ทุกวันนี้ อาศัยความชอบ ความต้องการของตนเองเป็นหลัก หากบังเอิญกินได้ถูกต้องก็ถือว่าโชคดีไป แต่ขณะนี้ ไม่ต้องรอเสี่ยงโชคอีกแล้ว เพราะมีงานวิจัยที่สามารถกาหนดปริมาณอาหารที่ เหมาะสมครอบคลุมกลุ่มคนไทยอายุ ตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป จนถึงผู้สูงอายุ บางท่านอาจเคยเห็นโปสเตอร์รูป “ธงโภชนาการ” ของ กระทรวงสาธารณสุขมาแล้วเชื่อได้ว่ายังมีผู้ที่ไม่เคยเห็น หรือยังไม่สามารถ นาไปปฏิบัติได้ จึงขอให้หลักการง่าย ๆ ดังนี้ คือ ขั้น แรกต้องจัดตัวเองว่าอยู่ในคนกลุ่มใดก่อน เพื่อจะดูว่าควรกินอาหารให้ได้รับพลังงานทั้งวันVปริมาณเท่าใด ระดับพลังงาน แตกต่างกันตามเพศ วัย และกิจกรรม • พลังงาน 1600 กิโลแคลอรี – สาหรับเด็ก หญิงวัยทางาน และผู้สูงอายุ • พลังงาน 2000 กิโลแคลอรี – สาหรับวัยรุ่น ชายวัยทางาน • พลังงาน 2400 กิโลแคลอรี – สาหรับผู้ที่ใช้พลังงานมาก เช่น นักกีฬา เกษตรกร กรรมกร • ต่อจากนั้นก็มาดูว่า จะกินอย่างไรให้สมดุล ปริมาณพอดี ซึ่งต้องดูจากปริมาณอาหารในแต่ละกลุ่ม
  • 8. กลุ่มข้าว – แป้ ง • ควรได้รับวันละ 8-12 ทัพพี อย่าเพิ่งดีใจว่ากินเท่าไรก็ได้ ความจริงก็คือ ต้องกินให้พอเหมาะกับความต้องการ พลังงาน ของตัวเอง ถ้าเป็นหญิงวัยทางาน วัยทอง หรือสูงอายุ กินวันละ 8 ทัพพี ชายวัยทางานวันละ 10 ทัพพี และถ้าใช้พลังงาน มากก็กินได้ถึง 12 ทัพพี อาหารกลุ่มนี้ รวมถึง ข้าว ก๋วยเตี๋ยว บะหมี่ ขนมจีน ขนมปัง และขนมทั้งหลายที่มีแป้ งเป็น ส่วนประกอบ เช่น ขนมเค้ก ซาลาเปา บัวลอย ซ่าหริ่ม อะไร ๆ ที่เป็นแป้ งนับรวมอยู่ในกลุ่มนี้ ทั้งหมด กลุ่มผัก • แหล่งของใยอาหาร ผู้ใหญ่ควรกินผักวันละ 6 ทัพพี เด็ก ๆ วันละ 4 ทัพพี (1 ทัพพีประมาณ 3-4 ช้อนกินข้าว ) เมนูอาหารจานผักหาทานไม่ยาก ไม่ว่าจะเป็นแกงส้ม แกงเลียง แกงป่ า หรือจอาหารจานเดียว เช่น ขนมจีนน้าพริก น้ายา หรือข้าวยา ใน 1 มื้อได้ผัก 2 ทัพพี ไม่ยากนัก อย่าลืมหมุนเวียนชนิดของผัก จะได้ปลอดภัยจากยาฆ่าแมลง และ ได้สารอาหารตามที่ต้องการ กลุ่มผลไม้ • ขอให้ยืดหลักว่า ควรทานผลไม้หลังอาหารทุกมื้อและระหว่างมื้อเมื่อหิว รวม ๆ แล้วควรได้ผลไม้วันละ 3-5 ส่วน แต่ ละ 1 ส่วน ของผลไม้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ เช่น กล้วยน้าว้า 1 ผล ส้มเขียวหวาน 1 ผลใหญ่ ฝรั่ง 1/2 ผล เงาะ 4 ผล ถ้าเป็นผลไม้ผลใหญ่ เช่น มะละกอ สับปะรด แตงโม ประมาณ 6-8 คาเท่ากับ 1 ส่วน ปริมาณผลไม้มาก น้อยขึ้นอยู่กับความต้องการพลังงาน • อาหารกลุ่มผักและผลไม้อาจทดแทนกันได้บ้าง วันไหนกับข้าวไม่ค่อยมีผัก ก็เพิ่มผลไม้ รวม ๆ แล้วทั้งวันควรได้ ผัก – ผลไม้ รวมกันไม่น้อยกว่า 1/2 กิโลกรัมจึงจะได้ใยอาหารเพียงพอ
  • 9. กลุ่มเนื้ อสัตว์ ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง • เลือกทานเนื้ อสัตว์เล็ก เช่น ปลา ไก่ เพราะไขมันต่า ผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง เช่น เต้าหู้ชนิดต่าง ๆ เป็นทางเลือกของผู้รัก สุขภาพ ปริมาณอาหารในกลุ่มนี้ คือ 6-12 ช้อนกินข้าว ปริมาณอาหารที่เทียบเท่ากับเนื้ อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว คือ เต้าหู้ ขาวแข็ง 1/4 ก้อน เต้าหู้ขาวหลอด 1/2 หลอด ไข่ 1/2 ฟอง ปลาทู 1/2 ตัว เป็นต้น กลุ่มนม • เด็ก ๆ ควรดื่มนมจืดวันละ 2-3 แก้ว ผู้ใหญ่วันละ 1-2 แก้ว สาหรับผู้ที่ไม่ดื่มนมวัวด้วยเหตุผลใด ๆ ก็ตาม ก็สามารถ ดื่มนมถั่วเหลือง ได้เพราะให้โปรตีนปริมาณใกล้เคียงกัน แต่ควรเพิ่มการบริโภคปลาเล็กปลาน้อยและ ผักใบเขียวเข้ม เพื่อให้ได้รับแร่ธาตุแคลเซียมเพียงพอ • นอกจากตัวอาหารหลักแล้วเครื่องปรุ่งอย่าง น้าตาล เกลือเเละน้ามันก็ควรที่จะควบคุมไม่เกินตามปริมาณที่เหมาะสม เช่นกัน • ปริมาณน้าตาลต่อวันไม่เกิน เด็ก 4 ช้อนชา และ ผู้ใหญ่ 6 ช้อนชา • น้ามันไม่เกิน 65 กรัมหรือไม่เกิน 16 ช้อนชา • โซเดี่ยม(ของให้รสเค็ม) 2300 มิลลิกรัม (ประมาณ 1 ช้อนชา)