SlideShare a Scribd company logo
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
สงครามโลก
วิเคราะห์สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
ศูนย์กลางของสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• เป็นสงครามใหญ่ที่เกิดขึ้นเฉพาะในทวีปยุโรปเป็น
สาคัญเท่านั้น ระหว่าง ค.ศ. 1914 ถึง 1918 มี
ศูนย์กลางอยู่ในทวีปยุโรป
• เป็นความขัดแย้งทางทหารในระดับโลกตั้งแต่
ค.ศ. 1939 ถึง 1945 เป็นสงครามที่ลุกลามไปทั่วโลก
อย่างแท้จริง
โดยครอบคลุมอาณาบริเวณทั้งในยุโรป แอฟริกา
เหนือ เอเชียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก
• สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นการระดมคนจานวนมาก
เข้ามาสู่สงครามประหัตประหารกัน ที่เรียกว่า
"สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses)
• สงครามโลกครั้งที่สอง ประชาชนทุกคนล้วน
เกี่ยวข้องกับสงครามอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงอาจกล่าว
ได้ว่า สงครามโลกครั้งที่สองนั้นเป็น "สงครามของ
ประชาชนทุกคน“
คู่สงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
ฝ่ายมหาอานาจกลาง หรือไตรพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่
ไตรพันธมิตร ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี
จักรวรรดิออตโตมัน เข้าสู่สงครามใน ค.ศ. 1914 อิตาลี
และบัลแกเรียใน ค.ศ. 1915 และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916
ฝ่ายอักษะ ได้แก่
เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น
กับ กับ
ฝ่ายมหาอานาจไตรภาคี หรือฝ่ายสัมพันธมิตร
ศูนย์กลางอยู่ที่ไตรภาคี คืออังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
ค.ศ. 1918 กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม
จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายใน ค.ศ. 1917 และรัสเซียถอน
ตัวจากสงครามหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน
ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
เมื่อเริ่มสงคราม สหรัฐอเมริกาวางตัวเป็นกลาง แต่
เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลซึ่งเป็นฐานทัพของ
สหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิก จึงเข้าร่วมใน
สงครามโลกครั้งที่ 2
สาเหตุของสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
1. ลัทธิชาตินิยม
2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม
3. การรวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร
4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอล
ข่าน
1. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น
2. ลัทธิจักรวรรดินิยม
3. ลัทธินิยมทางทหาร การสะสมอาวุธเพื่อ
ประสิทธิภาพของกองทัพ
4. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง
ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ
5. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ
6. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะ
สนธิสัญญาแวร์ซายส์
ชนวนสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก -
ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย
รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28
มิถุนายน ค.ศ. 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีปนักศึกษา
ชาวบอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนียหนุ่ม เป็น
ชนวนเหตุใกล้ชิดของสงคราม
• กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้าแลบ เมื่อ
1 กันยายน 1939 ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่า
ดานซิกและฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ
ฝรั่งเศส ซึ่งมีสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์
ได้ยื่นคาขาดให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์
แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศ
สงครามกับเยอรมนี
• และญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรือฝั่งแปซิฟิก
ของสหรัฐอเมริกา
ประเทศไทยกับการเข้าร่วมสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• สงครามเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2457( ค.ศ. 1914 ) ในรัชสมัย
รัชกาลที่ 6
• สยามตั้งตัวเป็นกลาง จนสงครามได้รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ
รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นว่าฝ่ายเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน จนกระทั่ง
22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 จึงทรงตัดสินพระทัยประกาศ
สงครามกับเยอรมันนีและออสเตรีย-ฮังการี และได้ส่งทหาร
อาสาสมัครไปช่วยรบ
• สงครามเกิดขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2482( ค.ศ. 1939 ) ในรัชสมัย
ของรัชกาลที่ 8 (ขณะนั้นเสด็จประทับอยู่ในประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์) หลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป.พิบูล
สงคราม) เป็นนายกรัฐมนตรี
• เมื่อเริ่มสงครามนั้นไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่เพราะ
ไทยมีกาลังน้อย เมื่อญี่ปุ่นบุกจึงไม่สามารถต่อต้านได้ และ
เพื่อป้องกันมิให้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญี่ปุ่นในด้านเศรษฐกิจ
และการเมือง รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน
ประเทศไทยกับการเข้าร่วมสงคราม (ต่อ)
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ประเทศไทยได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียง
ประเทศเดียวในทวีปเอเชียและแปซิฟิกไม่นับรวม
ญี่ปุ่น ที่เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะ สาเหตุการเข้าร่วม
เนื่องมาจากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกใน
สมัยรัชกาลที่ 5 ทุกประเทศในฝั่งทะเลแปซิฟิกและ
ทะเลอันดามัน ถูกเป็นเมืองขึ้นกันหมดเหลือแต่ไทย
และญี่ปุ่นเท่านั้น
ยุทธวิธีและอาวุธทางทหารที่ใช้ในสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ปืนกลยิงรัว ยังเป็นแบบติดฐานบังเกอร์ • ใช้ Assault Rifle หรือ Sub Machine Gun
ให้ทหารพกพา
• ทหารม้ายังขี่ม้าออกรบ โดยรถถังยังไม่มีบทบาท • รถถังถูกใช้กันแพร่หลาย และทหารม้าเปลี่ยนจากขี่ม้ามาขับ
รถถังออกรบแทน
• เครื่องบินรบยังเน้นใช้ยิงกันบนฟ้าเป็นหลักและบินได้ไม่ไกล • เครื่องบินถูกใช้ทั้งยิงกันบนฟ้า ทิ้งระเบิด และบินได้ไกลข้าม
ทวีป
• รูปแบบการรบภาคพื้นดินเป็นแนวรบอยู่กับที่ • รูปแบบการรบภาคพื้นดินมีรูปแบบการรบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
ยุทธวิธีและอาวุธทางทหารที่ใช้ในสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ระเบิดก๊าซพิษแตกต่างกันราว 30 ชนิดถูก
นามาใช้ ทาให้ผู้ได้รับแก๊สพิษเสียชีวิตอย่างช้า
ๆ และทรมาน ซึ่งหลังสงครามครั้งที่ 1 หลาย
ประเทศได้มีการลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วย
การห้ามใช้ก๊าซพิษเหล่านี้อีก
• เทคโนโลยีในสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบบ
เรดาร์ จรวดพิสัยไกล เรือดาน้า รถถัง ปืน
ไรเฟิลประจากายทหารที่ยิงรัวต่อเนื่องได้
เครื่องบินไอพ่น ระเบิดนิวเคลียร์
• ไม่มีการนาก๊าซพิษมาใช้อีก
ผลของสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม
• ส่วนรัฐจักรวรรดิใหญ่ 4 รัฐ อันได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน
ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียและออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทาง
การเมือง และทางทหาร จนได้สิ้นสภาพไป เยอรมนีและ
รัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีก 2 รัฐที่เหลือนั้นล่ม
สลายลงอย่างสิ้นเชิง
• แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็ก
เกิดใหม่หลายประเทศ
• ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม
• เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือสหรัฐอเมริกา และสหภาพ
โซเวียต จนนาไปสู่เกิดสงครามเย็น ที่ดาเนินต่อมาอีก 45 ปี
• การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ
การแบ่งกลุ่มประเทศในโลกของสหรัฐ
•กลุ่มประเทศ G8
•กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
•กลุ่มประเทศเกิดใหม่และรัฐเอกราช
•กลุ่มประเทศอักษะแห่งความชั่วร้าย
ผลของสงคราม (ต่อ)
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ทหารที่เข้าร่วมสงครามทั้งฝ่ายมหาอานาจกลางและฝ่าย
สัมพันธมิตร ประมาณ 70 ล้านคน เสียชีวิต 8 ล้านคน
บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน พิการตลอดชีวิตประมาณ 7
ล้านคน
• ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลก
ครั้งที่ 1 โดยมีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 68 ล้านคน จากการ
นาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้
• สันนิบาตชาติถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะป้องกันความ
ขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต
• สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความ
ร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งใน
อนาคต
ระยะเวลาของสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงเมื่อเยอรมนี
เซ็นสัญญาสงบศึก ในวันที่ 11 พฤศจิกายน
1918 กินเวลานาน 4 ปี 5 เดือน จึงยุติลงอย่าง
เป็นรูปธรรม ตามด้วยการลงนามในสนธิสัญญา
แวร์ซายส์ ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1919
• เป็นสงครามที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลก
ครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี มีระยะเวลายาวนาน ถึง
6 ปี จึงยุติสงคราม
วิเคราะห์สงครามโลกครั้งที่ 3
ศูนย์กลางของสงครามจะอยู่ที่ใด
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• สงครามใหญ่
• เฉพาะในทวีปยุโรป
• พื้นที่สงครามอยู่ในทวีปยุโรป
• สงครามลุกลามไปทั่วโลกทั้งใน
ยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชีย
ตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก
• สงครามกระจายไปทั่วแต่ละ
ประเทศในทุกทวีป ทั้งอเมริกา
แอฟริกา เอเชียแปซิฟิค ยุโรป
และมหาสมุทรแปซิฟิคฯลฯ
•"สงครามของคนหมู่มาก"
(War of the Masses)
•"สงครามของประชาชนทุก
คน“
•สงครามไร้ตัวตน(นิรนาม)
คู่สงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
ฝ่ายไตรพันธมิตร เยอรมนี ออสเตรีย-
ฮังการีและอิตาลี ออตโตมัน อิตาลี
บัลแกเรียและโรมาเนียเข้ามาภายหลัง
ฝ่ายอักษะ ได้แก่
เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น
กลุ่มประเทศสังคมนิยมเก่า
กลุ่มประเทศมุสลิม
กับ กับ
ฝ่ายสัมพันธมิตร
อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมภายหลังรัสเซียล่ม
สลาย
ฝ่ายสัมพันธมิตร
อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
เริ่มสงครามสหรัฐอเมริกาเป็นกลาง เมื่อ
ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลจึงเข้าร่วมในสงคราม
ฝ่ายสัมพันธมิตร
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเต
เลีย และกลุ่มประเทศ NATO
สาเหตุของสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
ลัทธิชาตินิยม แข่งขันกัน
แสวงหาอาณานิคม การ
รวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร
ความไม่มั่นคงทางการเมือใน
คาบสมุทรบอลข่าน
ลัทธิชาตินิยม ลัทธิจักรวรรดิ
นิยม ลัทธินิยมทางทหาร
การสะสมอาวุธ อุดมการณ์
ทางการเมือง ความอ่อนแอ
ขององค์การสันนิบาตชาติ
สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็น
ธรรม
ลัทธิชาตินิยม องค์การ
สหประชาชาติที่ไม่เป็นธรรม
สังคม วัฒนธรรม เชื้อชาติ
เผ่าพันธ์ ศาสนาที่แตกต่างกัน
(Crash Civilization, Megatrend
Asia, Americanization,
Islamization )
Muslim
• ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7 กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป
• หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic
Conference Organization(ICO)
• ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน
• มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้ง
ประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
• มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
ประเทศมุสลิม
• ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
• ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
• ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
• ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
• ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
• ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
ประเทศมุสลิม
• ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก
จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
• ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
• ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)
• ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ)
• ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic
Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)
• ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่
เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก
• ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน
• ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ “ฮิซโบเลาะห์
• มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก
• ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครองโลกแบบครบวงจรของ
สหรัฐอเมริกา
• อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียน” เป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตันเรียกว่า“The
Clash of Civilizations” )
• ผู้นามีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี
• “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การกาหนดมาตรฐานระหว่าง
ประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
ประเทศมุสลิมที่มีความสัมพันธ์อันดีกับสหรัฐอเมริกา
และกลุ่มประเทศตะวันตก
•อิยิปต์
•โมร็อกโก
•จอร์แดน
•ซาอุดิอาระเบีย
•ตูนิเซีย
•ปากีสถาน
•รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
•อินโดนีเซีย
•บูรไน
ชนวนสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• ลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก-
ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่ง
ออสเตรีย โดยนักศึกษาชาว
บอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนีย
หนุ่ม
• เยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้า
แลบ ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยก
เมืองท่าดานซิกและฉนวน
โปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ
ฝรั่งเศส ยื่นคาขาดให้เยอรมนี
ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิต
เลอร์ปฏิเสธ และญี่ปุ่นโจมตีอ่าว
เพิร์ล ของสหรัฐอเมริกา
• สงครามการโจมตีกลุ่ม ISIS ใน
อิรักและซีเรีย
• การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/
สเเปรตลีย์ การท้าทายของอิหร่าน
และเกาหลีเหนือต่อสหรัฐอเมริกา
• พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS)
and China
สถานการณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่สงคราม
www.kpi.ac.th
การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Religion , Culture
Media Power : Facebook, Twitter, Vdolink,
Mobile Phone, TVonline, Radio online, Cyber War
National
Power
GLOBAL CONFLICT
•Globalisation & Localisation
•Hard Power & Soft Power
•Americanization & Islamization
•Capitalism & Socialism
•High Technology & Low Technology
•Tangible & Intangible
•Physical & Mental or Spiritual
•National Resource
ยูเรเซีย(Eurasia)
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
กาลังอานาจทางทหารทางบก เรือ อากาศ
กาลังอานาจทางการเมือง :
ระบอบประชาธิปไตย
กาลังทางเศรษฐกิจ : ทุนนิยมเสรี กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา : ศาสนา/วัฒนธรรม
Hard Power fight Soft Power
change to Smart Power
• Soft Power กาลังอานาจที่จับต้องไม่ได้คือความสามารถเปลี่ยนแปลงผู้อื่น โดยใช้วิธีการ
กาหนดกรอบ กาหนดเป้าหมายร่วมกัน ใช้การโน้มน้าวและสร้างให้เกิดความต้องการสิ่งเหล่านั้น
เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้อานาจ
• ทรัพายากรของ กาลังอานาจแบบ Soft Power เช่น ขนบธรรมเนียม ความคิด คุณค่า
วัฒนธรรม และความเข้าใจในนโยบายอย่างถูกต้อง
• กาลังอานาจ Smart Power คือ การผสมผสานระหว่าง กาลังอานาจแบบ Hard
Power และ กาลังอานาจแบบ Soft Power ลงไปในยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดผลตามที่
ต้องการ
การใช้กาลังอานาจทางทหารแบบ Smart Military Power
• มีลักษณะ 4 ประการได้แก่
1. การต่อสู้และการทาลายล้าง
2. การสนับสนุนด้วยวิธีทางการทูต
3. ให้ความคุ้มครองรักษาสันติภาพ
4. ให้ความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ
• การใช้อานาจทางทหาร สามารถทาให้เกิดได้ทั้ง อานาจแบบ Hard Power และ อานาจแบบ Soft Power ได้
• ยุทธศาสตร์ที่ผสมผสานทั้ง อานาจแบบ Hard Power และอานาจแบบ Soft Power อย่างมีประสิทธิภาพ จะ
นาไปสู่ อานาจทางทหารอย่าง Smart Military Power ในที่สุด
กาลังอานาจแบบ Soft Power
•กาลังอานาจแบบ Soft Power เกิดจากปัจจัยพื้นฐาน 3 ประการคือ
1. วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อที่น่าสนใจ และดึงดูดผู้อื่น
2. คุณค่าในทางการเมือง คือ ระบบบริหารที่มีความรับผิดชอบและตอบสนองต่อความ
ต้องการของประชาชน
3. นโยบายระหว่างประเทศ ที่ผู้อื่นเห็นถึงความสาคัญ และความถูกต้อง
พฤติกรรมกับกาลังอานาจแบบ Soft Power
1. กาหนดหลักการ สร้างความดึงดูดใจ และโน้มน้าว
• ยกตัวอย่าง การรณรงค์งดสูบบุหรี่ การใช้อานาจแบบ Hard Power : จับและปรับผู้ที่สูบบุหรี่ถ้าใช้
อานาจแบบ Soft Power : จะใช้การรณรงค์ พูดคุย เพื่อโน้มน้าวให้ผู้ที่สูบ
เปลี่ยนแปลงความคิด เกี่ยวกับการสูบบุหรี่
• อานาจแบบ Hard Power : ยกเลิกการขายบุหรี่ อานาจแบบ Soft Power : ใช้การโฆษณา เพื่อให้ผู้ที่
สูบเห็นถึง พิษภัยของการสูบบุหรี่ และเป็นที่น่ารังเกียจของสังคม
2. การทางานของ อานาจแบบ Soft Power : ความตั้งใจโดยตรงผู้นา อาจได้รับรับจูงใจจาก ผู้นาอื่นๆ และ
นาไปสู่นโยบายที่ดีที่สุด ส่วนความตั้งใจทางอ้อม
ผู้นา ได้รับแรงจูงใจจาก จากความต้องการของสังคมที่ชอบหรือ มีแรงจูงใจในเรื่องเดียวกัน อันนาไปสู่
นโยบายที่ดีที่สุด
SEA POWER 21
A Publication by
www.knowtheprophet.com
34
ประสบการณ์ของสหรัฐฯจากการรบ
•สงครามในอัฟกานิสถาน ต้องการใช้พื้นที่ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง รัฐบาล
ปากีสถานอนุญาตให้สิทธิแค่การบินผ่าน
•สงครามอิรัก ขอใช้พื้นที่ประเทศตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ได้รับการปฏิเสธจากสภาฯ
•การใช้พื้นที่ประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการใช้ งป.มหาศาล และเกิดความสูญ
เปล่าในอนาคต
•การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์ ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า
•ต้องหันกลับมาใช้อาณานิคมของตนเอง คือเกาะกวมเป็นศูนย์กลางของกองกาลังสหรัฐฯ ในเขต
ภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
การตั้งฐานทัพในเกาะกวม
• พัฒนาฐานทัพอากาศ และฐานทัพเรือ
• ใช้งบประมาณ ๑,๐๔๘ ล้านยูเอสดอลล่าร์
• มีประชากร ๑๗๐,๐๐๐ คน
• มีโรงกลั่นน้ามัน และอู่ซ่อมเรือ
• ห่างจากฟิลิปปินส์ ไปทางตะวันออก ๒๒๔๐ กม.
• มีพื้นที่ ๕๔๑ ตร.กม.
(บทความนิติภูมิ ไทยรัฐ หน้า ๒ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒)
กวม (Guam)
•กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา
•มีเมืองหลวงคือ อากาญา
•ชื่อ“ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam)” เป็นเกาะหนึ่งใน
มหาสมุทรแปซิฟิก
•เป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา
•ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว
•รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยวโดยเฉพาะจากญี่ปุ่น
ยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐ
• Strategic Defense Mobile Forces
• Bases Places
• Hard Power Soft Power Smart Power
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
•ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและ
สถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
•กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ
ผบ.นย.และให้ กห.สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
EURASIA
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
การพัฒนากองทัพสหรัฐฯ
•ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถในการทาการรบในทุก
ภูมิภาคทั่วโลก
•ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force)
•มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการติดตั้งขีปนาวุธ
Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special
Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
แนวคิด Sea Basing
•สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็วลดการพึ่งพาชาติอื่น
•วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
•วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหารประจาการใน
เกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
•ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
•ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัย
คุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21
•Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater, Air Missile
Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
•Sea Strike การโจมตีจากทะเล
•Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
•Sea Trial คือจะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติ
การ
•Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
•Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Sea base
องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ (International Maritime Organization-IMO)
• เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship and Port
Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545
• มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความปลอดภัยการเดินเรือ
เพื่อป้องกันการก่อการร้าย
• กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System ภายใน 31
ธันวาคม 2547
• กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย
• กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่
• เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ(International Ship Security
Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
National Security Strategy and Economic Strategy
•Raw Material
•Product & Container
•Money
•Man
Alfred Thayer Mahan
นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๙๑๔
บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล
เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ
เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ
เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ
และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล
ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ (Naval Strategy)
A Publication by
www.knowtheprophet.com
56
A Publication by
www.knowtheprophet.com
57
• ประชากรไอร์แลนด์ มีการอพยพจานวนสูง ไปยังเฉพาะสหรัฐอเมริกา สองในห้าของชาวไอร์แลนด์ที่เกิดมี
ถิ่นฐานอยู่ในต่างประเทศในศตวรรษที่ 21 มีราว 80 ล้านคนจากทั่วโลกที่อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากชาว
ไอริช ในจานวนนี้เป็นชาวอเมริกัน 45 ล้านคนอ้างว่าเชื้อสายไอริช
• วอชิงตัน โพสต์ อ้างข้อมูลสามะโนประชากรสหรัฐว่า มีชาวอเมริกันอย่างน้อย 34.5 ล้านคนที่ระบุว่า
ตัวเองมีเชื้อสายไอริช ซึ่งมากกว่าตัวเลขประชากรในไอร์แลนด์ 4.68 ล้านคน ราว 7 เท่า คนไอริชอยู่ใน
สหรัฐมากที่สุดเป็นอันดับสองรองจากคนเยอรมัน นิวยอร์กเป็นมลรัฐที่มีคนเชื้อสายไอริชหนาแน่นที่สุด
คือ 12.9% เทียบกับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศที่ 11.1% แต่ถ้าเจาะลึกเป็นเมือง ๆ จะพบว่าบอสตัน ซึ่งเป็นเมือง
หลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ มีประชากรเชื้อสายไอริชสูงถึง 20.4%
• ประเทศสหรัฐอเมริกาประชากรมีบรรพบุรุษเป็นชาวอังกฤษ แต่น้อยกว่าเยอรมัน
ปี ค.ศ.1840 ก่อนสงครามโลกมีการอพยพอย่างมาก
จนกลายเป็นขบวนการโยกย้ายประชากรระดับชาติ
• รัสเซีย จีน กลุ่ม BRIC China + Russia มีการค้าขายกันอย่างมาก และร่วมปฏิบัติในตะวันออกกลาง
โจมตีกลุ่ม ISIS
• North Korea, Iran, Germany
• Russia ค้ากับ Germany อันดับ 10 มี 6000 โรงงาน แรงงาน 300,000 คน
• Russia เป็น Strategic Partner กับ Germany ส่งน้ามันให้ Germany 36%
• UK ถอนตัวจาก EU และ NATO ไม่ร่วม EU Dollars
• Germany France ตั้ง EU
• คนอังกฤษอพยพ IRISH, ISRAEL, UK เข้าไปใน Canada, USA
• China ค้ากับ USA อย่างมาก
ความสัมพันธ์ระหวางประเทศ ชะลอการเกิดสงครามด้วยอาวุธ
• อานาจกาลังรบที่มีตัวตน เช่น กาลังพล ยานพาหนะ ยุทธภัณฑ์ อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่
ทันสมัยต่างๆ ฯลฯ
• อานาจกาลังรบที่ไม่มีตัวตน ( Intangible ) เช่น ขวัญ กาลังใจ ความกล้าหาญ ความเสียสละ
ความรักชาติ รักแผ่นดิน ความฮึกเหิม ความมุมานะอดทน รวมถึงการฝึกซ้อมต่างๆ ฯลฯ
ไซเบอร์ : หนึ่งในพลังอานาจกาลังรบที่ไม่มีตัวตน
( The Cyber : one of Intangible Power )
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติรูปธรรม
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 รัฐบาล
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
 การพลังงาน
 การศึกษา
 การเศรษฐกิจ
 กาลังทหาร
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาตินามธรรม
 ลักษณะและเอกลักษณ์ประจาชาติ
 อุดมการณ์ของชาติ
 แบบแผนของชาติ
 ภาวะผู้นา
 ความเชื่อ
 ศาสนา จริยธรรม
 ความจงรักภักดี
1. ขยายสมาชิกของสหภาพยุโรปไปยังยุโรปตะวันออกเพื่อรวมยุโรปเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันใหญ่ใหญ่ขึ้น
2. เดินหน้าสร้างอิสราเอลที่ใหญ่ขึ้น (Greater Israel) ผ่านการก่อสงคราม กับอิรัก ซีเรีย ลิเบีย เลบานอน
ซูดาน โซมาเลียและอิหร่าน สงครามในตะวันออกกลางเป็นการลดประชากรและจะทาให้ประเทศในภูมิภาคนั้น
รวมทั้งแอฟริกาเหนืออ่อนแอ กลายเป็นรัฐบริวารของอิสราเอลในที่สุด แบ่งแยกและปกครองเป็นนโยบายที่ใช้มา
ตลอด
3. ปิดล้อมรัสเซียผ่านองค์กรนาโต้ ด้วยการเพิ่มกาลังทหารในยุโรป และทาลายแผนการของรัสเซียที่จะผงาดขึ้นมาใหม่
ผ่านเขตเศรษฐกิจร่วมยูเรเซีย (Eurasian Economic Union) สร้างวิกฤติยูเครน และสร้าง
ปฏิวัติสีในรัสเซียเพื่อโค่นล้มปูติน
4. ปิดท้ายด้วยการสกัดจีน เพื่อล้มคู่แข่งทางการเงิน และเศรษฐกิจในเอเซีย
แองโกลอเมริกันมีเป้าหมายหลัก 4 ประการที่จะครองโลกและสยบคู่แข่ง
หลังใช้สงครามเย็นเหนือสหภาพโซเวียต
Anglo-America คือ ดินแดนที่อยู่ทางตอนเหนือของแม่น้้าริโอแกรนด์ ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ประชากรส่วนใหญ่เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษ
1. การสร้างรัฐบาลโลกเดียวผ่านยูเอ็น
2. การสร้างธนาคารกลางโลกเดียวผ่านกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือBank for
International Settlements
3. การสร้างเงินสกุลโลกเดียวผ่านเงินดิจิตัล special drawing rights ของกองทุน
การเงินระหว่างประเทศ
4. การสร้างศาสนาโลกเดียว โดยจะมีการรวมเอาศาสนาจูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนา
อิสลามเข้าด้วยกัน
5. การสถาปนาให้เยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงของโลก
สหรัฐอเมริกันต้องการเป็นผู้นาฝ่ายเดียว
• แองโกลอเมริกันเดินหน้าสร้าง Greater Israel อย่างเร่งด่วน ด้วยการสร้าง ISIS เพื่อล้ม
อิรัก ซีเรีย และอิหร่านในท้ายที่สุดในตะวันออกกลาง
• พยายามยันรัสเซีย รวมทั้งจีนไม่ให้ผงาด แล้วเตรียมตัวก่อสงครามโลกครั้งที่ 3 ในอีก 3-5 ปี โดย
มั่นใจว่าเวลานั้นจะสามารถสยบทุกประเทศได้
• แต่ รัสเซีย จีนละอิหร่านจับมือกันชิงก่อสงครามก่อนในซีเรีย เพื่อเปิดเผยว่าใครอยู่เบื้องหลัง ISIS
เตรียมการยึดตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือและจะทาลาย Greater Israel ให้พังพินาศ
• แกนของโลกอยู่ที่ตะวันออกกลางเวลานี้ เนื่องจากเป็นแหล่งพลังงาน แหล่งประวัติศาสตร์ และอารยะ
ธรรมโบราณหลักของโลก ใครเป็นผู้นาในตะวันออกกลางได้ ผู้นั้นจะเป็นผู้ครองโลก
Greater Israel
บทบาทของสหรัฐอเมริกาในสงครามทั่วโลก
1. สหรัฐอเมริกาแทรกแซงทางทหารในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นับตั้งแต่ปี 1946 มีเพียงปี 1955
และ 1957 เท่านั้นที่ไม่มีหลักฐานการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกา (Uppsala
Conflict Data Program, 2011: Grossman ,2012): Global Policy Forum, 2005)
2. สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก(Stockholm International Peace
Research Institute, 2011)
69
สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
ภาพที่ 2 มูลค่าการส่งออกอาวุธของสหรัฐอเมริกา ในฐานะผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก
70
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
40,000
45,000
50,000
USA World
ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011)
สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
ภาพที่ 3 ส่วนแบ่งตลาดอาวุธของสหรัฐอเมริกา
71
ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011)
per cent
-
10
20
30
40
50
60
70
สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
ภาพที่ 4 สัดส่วนผู้นาเข้าอาวุธ ปี 1989-2010
72
ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011)
Western Europe,
13.46
Eastern Europe, 8.50
Middle East, 23.10Asia, 38.89
Africa, 4.58
North America, 4.02
Central and South
America, 4.92
Others, 2.53
การแทรกแซงของสหรัฐอเมริกาในสงครามอิรัก
73
ที่มา: The Hanscom Family Weblog (2013)
การแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกาในอิรัก
เริ่มต้น-สิ้นสุด การปฏิบัติการ ผลที่เกิดขึ้นหลังจากสงคราม
ม.ค. 1990-
ธ.ค. 2011
1. ปฏิบัติการทางทหารในสงครามอ่าวเปอร์เซีย
(สงครามคูเวต)
2. ปฏิบัติการยึดครองอีรัก (สหรัฐเรียนกว่า
ปฏิบัติการเสรีภาพอิรัก)
3. ล้มล้างรัฐบาลและประหารชีวิตอดีต
ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน
(สหรัฐอเมริกาได้รับเงินและกาลังสนับสนุนจาก
36 ประเทศ)
1. มูลค่าการค้าน้ามันระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา
เพิ่มขึ้นอย่างมีนัย
2. ยอดขายอาวุธของสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นในปี 1991-
1993
3. วัตถุโบราณของอีรักถูกโจรกรรมหลังจาก
สหรัฐอเมริกาบุกเข้ายึดอิรัก
74
ยอดขายอาวุธของบริษัทผู้ค้าอาวุธยักษ์ใหญ่ 10 อันดับแรก
75
ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute, Yearbook 2008
Ranking Name Country Arms Sales ($ million USD)
1 Boeing USA 30,690
2 Lockheed Martin USA 28,120
3 BAE Systems UK 24,060
4 Northrop Grumman USA 23,060
5 Raytheon USA 19,530
6 General Dynamics USA 18,770
7 EADS West Europe 12,600
8 L-3 Communications USA 9,980
9 Finmeccanica Italy 8,990
10 Thales France 8,240
จานวนผู้เสียชีวิตจากสงคราม ปี 2006 (คน) 17,398
จานวนผู้เสียชีวิตจากสงคราม ปี 2006-2010 (คน) 111,916
• สงครามว่า “เป็นสิ่งที่ยากในการให้คานิยามอย่างกระจ่างชัด
• คานิยามในทางกฎหมาย ถือเอาการประกาศสงครามเป็นสิ่งที่ถูกต้องและรวมถึงระยะเวลาตั้งแต่การ
ประกาศสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นก่อนการเริ่มต้นสู้รบกัน
• ตั้งแต่ ค.ศ.๑๙๖๔ จะไม่มีประเทศใดประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ เนื่องจากเป็นข้อห้ามของ
สหประชาชาติ เช่นสงครามเวียดนาม สงครามอิรัก/อิหร่าน สงครามฟอล์กแลนด์ และสงครามอ่าว
• การรับรู้ของสงคราม ในเดือนเมษายน ค.ศ.๑๙๘๒ คนอังกฤษเชื่อว่าพวกเขากาลังอยู่ในภาวะสงคราม
กับอาร์เจนตินา ในขณะที่ฝ่ายอาร์เจนตินาเห็นว่าพวกเขาได้บรรลุความสาเร็จในการยึดคืนหมู่เกาะ
ฟอล์กแลนด์จากอังกฤษ
The Fundamentals of British Maritime Doctrine
•ประการแรก การดิ้นรนเสาะหาความร่ารวยทรัพยากรเพื่อการผลิตของประเทศรวมทั้งการหา
ตลาดการค้า เป็นต้น
•ประการที่สอง มาจากสาเหตุของการขยายธรรมจักรโดยเฉพาะศาสนาคริสต์ และอิสลาม
•ประการสุดท้าย คือ การรักษาสถานะเดิมของตนหรือดุลยภาพแห่งอานาจ แต่ในยุคร่วมสมัย
สาเหตุของสงครามตามที่ Thucydides กล่าวไว้ในสมัยโบราณว่าเกิดจากเหตุสามประการ คือ
“ความกลัว เกียรติยศ และผลประโยชน์” กลับดูจะมีน้าหนักมากขึ้นอีก โดยเฉพาะเรื่อง
ผลประโยชน์ “War is the continuation of business by other means”
สาเหตุของสงคราม ๓ ประการ
๑. สงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) หมายถึง คู่สงครามใช้ทรัพยากรทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ ชาติจะถูกคุกคามให้ยอมแพ้
โดยปราศจากเงื่อนไข
๒. สงครามทั่วไป (General War) คล้ายคลึงกับสงครามเบ็ดเสร็จ ต่างกันที่สงครามทั่วไปเน้นการใช้กาลังทหารอย่าง
เบ็ดเสร็จ ส่วนมากจะหมายถึงสงครามที่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ เคมี หรือชีวะ นอกจากนั้นยังหมายถึงการทาสงครามตาม
แบบอย่างไม่จากัด (Unrestricted Convention War)
๓. สงครามจากัด (Limited War) วัตถุประสงค์ของคู่สงครามจะถูกจากัด คู่สงครามจะจากัดการใช้เครื่องมือทาง
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (ตรงข้ามกับสงครามเบ็ดเสร็จ) และยังจากัดการใช้กาลังทหารด้วย (ต่างจากสงคราม
ทั่วไป)
• ๔. สงครามตามแบบ (Conventional War) เป็นการสู้รบกันโดยปราศจากการใช้อาวุธนิวเคลียร์ เคมี และชีวะ แม้ว่า
ฝ่ายที่มีอาวุธดังกล่าวจะมีอิทธิพลต่อเป้าหมายสงครามยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีของคู่ต่อสู้อย่างเห็นได้ชัด
ระดับของสงคราม (Levels of War)
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก

More Related Content

What's hot

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Beau Pitchaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
nidthawann
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
Taraya Srivilas
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
Waciraya Junjamsri
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
namfon17
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Taraya Srivilas
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21pareboon
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
imeveve
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
mintra_duangsamorn
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
Kittayaporn Changpan
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
friend209
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
EarnEarn Twntyc'
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 

What's hot (20)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 

Viewers also liked

1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
Kittayaporn Changpan
 
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
Peeranat Lar
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์Makiya Khompong
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์Makiya Khompong
 
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
กลางภาค ส42101  ม.5 docxกลางภาค ส42101  ม.5 docx
กลางภาค ส42101 ม.5 docxthnaporn999
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
คุณครู กดชะกอน
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
คุณครู กดชะกอน
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลก
Kittayaporn Changpan
 
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ Pikcolo Pik
 
Key vocabulary
Key vocabularyKey vocabulary
Key vocabulary
duangporn01
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
คุณครู กดชะกอน
 
การใช้แผนที่
การใช้แผนที่การใช้แผนที่
การใช้แผนที่thnaporn999
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
Kasidet Srifah
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
Kittayaporn Changpan
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
Sukanda Panpetch
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
Penny Lighter
 

Viewers also liked (20)

1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
 
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
กลางภาค ส42101  ม.5 docxกลางภาค ส42101  ม.5 docx
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลก
 
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
Key vocabulary
Key vocabularyKey vocabulary
Key vocabulary
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ส 32101 ม.5
ส 32101 ม.5ส 32101 ม.5
ส 32101 ม.5
 
การใช้แผนที่
การใช้แผนที่การใช้แผนที่
การใช้แผนที่
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 

Similar to สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
Taraya Srivilas
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Napis Inkham
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
knwframe1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
tanut lanamwong
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iNew Nan
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
Panda Jing
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2New Nan
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
tanut lanamwong
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
Suchawalee Buain
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1
Jiratchaya Phisailert
 

Similar to สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก (15)

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่  1สงครามโลกครั้งที่  1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
Taraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
Taraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
Taraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
Taraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
Taraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
Taraya Srivilas
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
Taraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com สงครามโลก
  • 3. ศูนย์กลางของสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • เป็นสงครามใหญ่ที่เกิดขึ้นเฉพาะในทวีปยุโรปเป็น สาคัญเท่านั้น ระหว่าง ค.ศ. 1914 ถึง 1918 มี ศูนย์กลางอยู่ในทวีปยุโรป • เป็นความขัดแย้งทางทหารในระดับโลกตั้งแต่ ค.ศ. 1939 ถึง 1945 เป็นสงครามที่ลุกลามไปทั่วโลก อย่างแท้จริง โดยครอบคลุมอาณาบริเวณทั้งในยุโรป แอฟริกา เหนือ เอเชียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก • สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นการระดมคนจานวนมาก เข้ามาสู่สงครามประหัตประหารกัน ที่เรียกว่า "สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses) • สงครามโลกครั้งที่สอง ประชาชนทุกคนล้วน เกี่ยวข้องกับสงครามอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงอาจกล่าว ได้ว่า สงครามโลกครั้งที่สองนั้นเป็น "สงครามของ ประชาชนทุกคน“
  • 4. คู่สงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) ฝ่ายมหาอานาจกลาง หรือไตรพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่ ไตรพันธมิตร ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี จักรวรรดิออตโตมัน เข้าสู่สงครามใน ค.ศ. 1914 อิตาลี และบัลแกเรียใน ค.ศ. 1915 และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916 ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น กับ กับ ฝ่ายมหาอานาจไตรภาคี หรือฝ่ายสัมพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่ไตรภาคี คืออังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ค.ศ. 1918 กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายใน ค.ศ. 1917 และรัสเซียถอน ตัวจากสงครามหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย เมื่อเริ่มสงคราม สหรัฐอเมริกาวางตัวเป็นกลาง แต่ เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลซึ่งเป็นฐานทัพของ สหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิก จึงเข้าร่วมใน สงครามโลกครั้งที่ 2
  • 5. สาเหตุของสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) 1. ลัทธิชาตินิยม 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม 3. การรวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร 4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอล ข่าน 1. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น 2. ลัทธิจักรวรรดินิยม 3. ลัทธินิยมทางทหาร การสะสมอาวุธเพื่อ ประสิทธิภาพของกองทัพ 4. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ 5. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ 6. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะ สนธิสัญญาแวร์ซายส์
  • 6. ชนวนสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก - ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีปนักศึกษา ชาวบอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนียหนุ่ม เป็น ชนวนเหตุใกล้ชิดของสงคราม • กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้าแลบ เมื่อ 1 กันยายน 1939 ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่า ดานซิกและฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ ฝรั่งเศส ซึ่งมีสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์ ได้ยื่นคาขาดให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศ สงครามกับเยอรมนี • และญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรือฝั่งแปซิฟิก ของสหรัฐอเมริกา
  • 7. ประเทศไทยกับการเข้าร่วมสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • สงครามเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2457( ค.ศ. 1914 ) ในรัชสมัย รัชกาลที่ 6 • สยามตั้งตัวเป็นกลาง จนสงครามได้รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นว่าฝ่ายเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน จนกระทั่ง 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 จึงทรงตัดสินพระทัยประกาศ สงครามกับเยอรมันนีและออสเตรีย-ฮังการี และได้ส่งทหาร อาสาสมัครไปช่วยรบ • สงครามเกิดขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2482( ค.ศ. 1939 ) ในรัชสมัย ของรัชกาลที่ 8 (ขณะนั้นเสด็จประทับอยู่ในประเทศ สวิตเซอร์แลนด์) หลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป.พิบูล สงคราม) เป็นนายกรัฐมนตรี • เมื่อเริ่มสงครามนั้นไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่เพราะ ไทยมีกาลังน้อย เมื่อญี่ปุ่นบุกจึงไม่สามารถต่อต้านได้ และ เพื่อป้องกันมิให้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญี่ปุ่นในด้านเศรษฐกิจ และการเมือง รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน
  • 8. ประเทศไทยกับการเข้าร่วมสงคราม (ต่อ) สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ประเทศไทยได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียง ประเทศเดียวในทวีปเอเชียและแปซิฟิกไม่นับรวม ญี่ปุ่น ที่เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะ สาเหตุการเข้าร่วม เนื่องมาจากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกใน สมัยรัชกาลที่ 5 ทุกประเทศในฝั่งทะเลแปซิฟิกและ ทะเลอันดามัน ถูกเป็นเมืองขึ้นกันหมดเหลือแต่ไทย และญี่ปุ่นเท่านั้น
  • 9. ยุทธวิธีและอาวุธทางทหารที่ใช้ในสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ปืนกลยิงรัว ยังเป็นแบบติดฐานบังเกอร์ • ใช้ Assault Rifle หรือ Sub Machine Gun ให้ทหารพกพา • ทหารม้ายังขี่ม้าออกรบ โดยรถถังยังไม่มีบทบาท • รถถังถูกใช้กันแพร่หลาย และทหารม้าเปลี่ยนจากขี่ม้ามาขับ รถถังออกรบแทน • เครื่องบินรบยังเน้นใช้ยิงกันบนฟ้าเป็นหลักและบินได้ไม่ไกล • เครื่องบินถูกใช้ทั้งยิงกันบนฟ้า ทิ้งระเบิด และบินได้ไกลข้าม ทวีป • รูปแบบการรบภาคพื้นดินเป็นแนวรบอยู่กับที่ • รูปแบบการรบภาคพื้นดินมีรูปแบบการรบที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
  • 10. ยุทธวิธีและอาวุธทางทหารที่ใช้ในสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ระเบิดก๊าซพิษแตกต่างกันราว 30 ชนิดถูก นามาใช้ ทาให้ผู้ได้รับแก๊สพิษเสียชีวิตอย่างช้า ๆ และทรมาน ซึ่งหลังสงครามครั้งที่ 1 หลาย ประเทศได้มีการลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วย การห้ามใช้ก๊าซพิษเหล่านี้อีก • เทคโนโลยีในสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบบ เรดาร์ จรวดพิสัยไกล เรือดาน้า รถถัง ปืน ไรเฟิลประจากายทหารที่ยิงรัวต่อเนื่องได้ เครื่องบินไอพ่น ระเบิดนิวเคลียร์ • ไม่มีการนาก๊าซพิษมาใช้อีก
  • 11. ผลของสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม • ส่วนรัฐจักรวรรดิใหญ่ 4 รัฐ อันได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียและออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทาง การเมือง และทางทหาร จนได้สิ้นสภาพไป เยอรมนีและ รัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีก 2 รัฐที่เหลือนั้นล่ม สลายลงอย่างสิ้นเชิง • แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็ก เกิดใหม่หลายประเทศ • ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม • เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือสหรัฐอเมริกา และสหภาพ โซเวียต จนนาไปสู่เกิดสงครามเย็น ที่ดาเนินต่อมาอีก 45 ปี • การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ
  • 13. ผลของสงคราม (ต่อ) สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ทหารที่เข้าร่วมสงครามทั้งฝ่ายมหาอานาจกลางและฝ่าย สัมพันธมิตร ประมาณ 70 ล้านคน เสียชีวิต 8 ล้านคน บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน พิการตลอดชีวิตประมาณ 7 ล้านคน • ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลก ครั้งที่ 1 โดยมีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 68 ล้านคน จากการ นาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้ • สันนิบาตชาติถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะป้องกันความ ขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต • สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งใน อนาคต
  • 14. ระยะเวลาของสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงเมื่อเยอรมนี เซ็นสัญญาสงบศึก ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 1918 กินเวลานาน 4 ปี 5 เดือน จึงยุติลงอย่าง เป็นรูปธรรม ตามด้วยการลงนามในสนธิสัญญา แวร์ซายส์ ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1919 • เป็นสงครามที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลก ครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี มีระยะเวลายาวนาน ถึง 6 ปี จึงยุติสงคราม
  • 16. ศูนย์กลางของสงครามจะอยู่ที่ใด สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • สงครามใหญ่ • เฉพาะในทวีปยุโรป • พื้นที่สงครามอยู่ในทวีปยุโรป • สงครามลุกลามไปทั่วโลกทั้งใน ยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชีย ตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก • สงครามกระจายไปทั่วแต่ละ ประเทศในทุกทวีป ทั้งอเมริกา แอฟริกา เอเชียแปซิฟิค ยุโรป และมหาสมุทรแปซิฟิคฯลฯ •"สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses) •"สงครามของประชาชนทุก คน“ •สงครามไร้ตัวตน(นิรนาม)
  • 17. คู่สงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) ฝ่ายไตรพันธมิตร เยอรมนี ออสเตรีย- ฮังการีและอิตาลี ออตโตมัน อิตาลี บัลแกเรียและโรมาเนียเข้ามาภายหลัง ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น กลุ่มประเทศสังคมนิยมเก่า กลุ่มประเทศมุสลิม กับ กับ ฝ่ายสัมพันธมิตร อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมภายหลังรัสเซียล่ม สลาย ฝ่ายสัมพันธมิตร อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย เริ่มสงครามสหรัฐอเมริกาเป็นกลาง เมื่อ ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลจึงเข้าร่วมในสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตร สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเต เลีย และกลุ่มประเทศ NATO
  • 18. สาเหตุของสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) ลัทธิชาตินิยม แข่งขันกัน แสวงหาอาณานิคม การ รวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร ความไม่มั่นคงทางการเมือใน คาบสมุทรบอลข่าน ลัทธิชาตินิยม ลัทธิจักรวรรดิ นิยม ลัทธินิยมทางทหาร การสะสมอาวุธ อุดมการณ์ ทางการเมือง ความอ่อนแอ ขององค์การสันนิบาตชาติ สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็น ธรรม ลัทธิชาตินิยม องค์การ สหประชาชาติที่ไม่เป็นธรรม สังคม วัฒนธรรม เชื้อชาติ เผ่าพันธ์ ศาสนาที่แตกต่างกัน (Crash Civilization, Megatrend Asia, Americanization, Islamization )
  • 19. Muslim • ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7 กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป • หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO) • ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน • มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้ง ประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) • มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
  • 20. ประเทศมุสลิม • ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ • ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่ • ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย • ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ • ประเทศมุสลิมสายเคร่ง • ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
  • 21. ประเทศมุสลิม • ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย) • ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี) • ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน) • ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ) • ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐) • ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่ เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
  • 22. ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก • ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน • ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ “ฮิซโบเลาะห์ • มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก • ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครองโลกแบบครบวงจรของ สหรัฐอเมริกา • อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียน” เป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตันเรียกว่า“The Clash of Civilizations” ) • ผู้นามีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี • “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การกาหนดมาตรฐานระหว่าง ประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
  • 24. ชนวนสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • ลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก- ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่ง ออสเตรีย โดยนักศึกษาชาว บอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนีย หนุ่ม • เยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้า แลบ ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยก เมืองท่าดานซิกและฉนวน โปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ ฝรั่งเศส ยื่นคาขาดให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิต เลอร์ปฏิเสธ และญี่ปุ่นโจมตีอ่าว เพิร์ล ของสหรัฐอเมริกา • สงครามการโจมตีกลุ่ม ISIS ใน อิรักและซีเรีย • การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/ สเเปรตลีย์ การท้าทายของอิหร่าน และเกาหลีเหนือต่อสหรัฐอเมริกา • พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS) and China
  • 25.
  • 27. www.kpi.ac.th การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย Military Power Politics Power Economics Power Sociological Power Religion , Culture Media Power : Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone, TVonline, Radio online, Cyber War National Power
  • 28. GLOBAL CONFLICT •Globalisation & Localisation •Hard Power & Soft Power •Americanization & Islamization •Capitalism & Socialism •High Technology & Low Technology •Tangible & Intangible •Physical & Mental or Spiritual •National Resource
  • 30. Hard Power fight Soft Power change to Smart Power • Soft Power กาลังอานาจที่จับต้องไม่ได้คือความสามารถเปลี่ยนแปลงผู้อื่น โดยใช้วิธีการ กาหนดกรอบ กาหนดเป้าหมายร่วมกัน ใช้การโน้มน้าวและสร้างให้เกิดความต้องการสิ่งเหล่านั้น เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้อานาจ • ทรัพายากรของ กาลังอานาจแบบ Soft Power เช่น ขนบธรรมเนียม ความคิด คุณค่า วัฒนธรรม และความเข้าใจในนโยบายอย่างถูกต้อง • กาลังอานาจ Smart Power คือ การผสมผสานระหว่าง กาลังอานาจแบบ Hard Power และ กาลังอานาจแบบ Soft Power ลงไปในยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดผลตามที่ ต้องการ
  • 31. การใช้กาลังอานาจทางทหารแบบ Smart Military Power • มีลักษณะ 4 ประการได้แก่ 1. การต่อสู้และการทาลายล้าง 2. การสนับสนุนด้วยวิธีทางการทูต 3. ให้ความคุ้มครองรักษาสันติภาพ 4. ให้ความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ • การใช้อานาจทางทหาร สามารถทาให้เกิดได้ทั้ง อานาจแบบ Hard Power และ อานาจแบบ Soft Power ได้ • ยุทธศาสตร์ที่ผสมผสานทั้ง อานาจแบบ Hard Power และอานาจแบบ Soft Power อย่างมีประสิทธิภาพ จะ นาไปสู่ อานาจทางทหารอย่าง Smart Military Power ในที่สุด
  • 32. กาลังอานาจแบบ Soft Power •กาลังอานาจแบบ Soft Power เกิดจากปัจจัยพื้นฐาน 3 ประการคือ 1. วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อที่น่าสนใจ และดึงดูดผู้อื่น 2. คุณค่าในทางการเมือง คือ ระบบบริหารที่มีความรับผิดชอบและตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน 3. นโยบายระหว่างประเทศ ที่ผู้อื่นเห็นถึงความสาคัญ และความถูกต้อง
  • 33. พฤติกรรมกับกาลังอานาจแบบ Soft Power 1. กาหนดหลักการ สร้างความดึงดูดใจ และโน้มน้าว • ยกตัวอย่าง การรณรงค์งดสูบบุหรี่ การใช้อานาจแบบ Hard Power : จับและปรับผู้ที่สูบบุหรี่ถ้าใช้ อานาจแบบ Soft Power : จะใช้การรณรงค์ พูดคุย เพื่อโน้มน้าวให้ผู้ที่สูบ เปลี่ยนแปลงความคิด เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ • อานาจแบบ Hard Power : ยกเลิกการขายบุหรี่ อานาจแบบ Soft Power : ใช้การโฆษณา เพื่อให้ผู้ที่ สูบเห็นถึง พิษภัยของการสูบบุหรี่ และเป็นที่น่ารังเกียจของสังคม 2. การทางานของ อานาจแบบ Soft Power : ความตั้งใจโดยตรงผู้นา อาจได้รับรับจูงใจจาก ผู้นาอื่นๆ และ นาไปสู่นโยบายที่ดีที่สุด ส่วนความตั้งใจทางอ้อม ผู้นา ได้รับแรงจูงใจจาก จากความต้องการของสังคมที่ชอบหรือ มีแรงจูงใจในเรื่องเดียวกัน อันนาไปสู่ นโยบายที่ดีที่สุด
  • 34. SEA POWER 21 A Publication by www.knowtheprophet.com 34
  • 35. ประสบการณ์ของสหรัฐฯจากการรบ •สงครามในอัฟกานิสถาน ต้องการใช้พื้นที่ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง รัฐบาล ปากีสถานอนุญาตให้สิทธิแค่การบินผ่าน •สงครามอิรัก ขอใช้พื้นที่ประเทศตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ได้รับการปฏิเสธจากสภาฯ •การใช้พื้นที่ประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการใช้ งป.มหาศาล และเกิดความสูญ เปล่าในอนาคต •การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์ ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า •ต้องหันกลับมาใช้อาณานิคมของตนเอง คือเกาะกวมเป็นศูนย์กลางของกองกาลังสหรัฐฯ ในเขต ภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
  • 36. การตั้งฐานทัพในเกาะกวม • พัฒนาฐานทัพอากาศ และฐานทัพเรือ • ใช้งบประมาณ ๑,๐๔๘ ล้านยูเอสดอลล่าร์ • มีประชากร ๑๗๐,๐๐๐ คน • มีโรงกลั่นน้ามัน และอู่ซ่อมเรือ • ห่างจากฟิลิปปินส์ ไปทางตะวันออก ๒๒๔๐ กม. • มีพื้นที่ ๕๔๑ ตร.กม. (บทความนิติภูมิ ไทยรัฐ หน้า ๒ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒)
  • 37. กวม (Guam) •กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา •มีเมืองหลวงคือ อากาญา •ชื่อ“ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam)” เป็นเกาะหนึ่งใน มหาสมุทรแปซิฟิก •เป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา •ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว •รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยวโดยเฉพาะจากญี่ปุ่น
  • 38. ยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐ • Strategic Defense Mobile Forces • Bases Places • Hard Power Soft Power Smart Power
  • 39.
  • 40. ยุทธศาสตร์ Sea Power21 •ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและ สถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก •กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กห.สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
  • 41. ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑ สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
  • 44.
  • 45. การพัฒนากองทัพสหรัฐฯ •ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถในการทาการรบในทุก ภูมิภาคทั่วโลก •ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force) •มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการติดตั้งขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
  • 46. แนวคิด Sea Basing •สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็วลดการพึ่งพาชาติอื่น •วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก •วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหารประจาการใน เกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน •ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน •ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัย คุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
  • 47.
  • 48. กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21 •Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ •Sea Strike การโจมตีจากทะเล •Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ •Sea Trial คือจะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติ การ •Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ •Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 49.
  • 50.
  • 51. Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Sea base
  • 52. องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ (International Maritime Organization-IMO) • เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545 • มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความปลอดภัยการเดินเรือ เพื่อป้องกันการก่อการร้าย • กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System ภายใน 31 ธันวาคม 2547 • กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย • กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่ • เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
  • 53. National Security Strategy and Economic Strategy •Raw Material •Product & Container •Money •Man
  • 54. Alfred Thayer Mahan นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๙๑๔ บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ (Naval Strategy)
  • 55.
  • 58. • ประชากรไอร์แลนด์ มีการอพยพจานวนสูง ไปยังเฉพาะสหรัฐอเมริกา สองในห้าของชาวไอร์แลนด์ที่เกิดมี ถิ่นฐานอยู่ในต่างประเทศในศตวรรษที่ 21 มีราว 80 ล้านคนจากทั่วโลกที่อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากชาว ไอริช ในจานวนนี้เป็นชาวอเมริกัน 45 ล้านคนอ้างว่าเชื้อสายไอริช • วอชิงตัน โพสต์ อ้างข้อมูลสามะโนประชากรสหรัฐว่า มีชาวอเมริกันอย่างน้อย 34.5 ล้านคนที่ระบุว่า ตัวเองมีเชื้อสายไอริช ซึ่งมากกว่าตัวเลขประชากรในไอร์แลนด์ 4.68 ล้านคน ราว 7 เท่า คนไอริชอยู่ใน สหรัฐมากที่สุดเป็นอันดับสองรองจากคนเยอรมัน นิวยอร์กเป็นมลรัฐที่มีคนเชื้อสายไอริชหนาแน่นที่สุด คือ 12.9% เทียบกับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศที่ 11.1% แต่ถ้าเจาะลึกเป็นเมือง ๆ จะพบว่าบอสตัน ซึ่งเป็นเมือง หลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ มีประชากรเชื้อสายไอริชสูงถึง 20.4% • ประเทศสหรัฐอเมริกาประชากรมีบรรพบุรุษเป็นชาวอังกฤษ แต่น้อยกว่าเยอรมัน ปี ค.ศ.1840 ก่อนสงครามโลกมีการอพยพอย่างมาก จนกลายเป็นขบวนการโยกย้ายประชากรระดับชาติ
  • 59. • รัสเซีย จีน กลุ่ม BRIC China + Russia มีการค้าขายกันอย่างมาก และร่วมปฏิบัติในตะวันออกกลาง โจมตีกลุ่ม ISIS • North Korea, Iran, Germany • Russia ค้ากับ Germany อันดับ 10 มี 6000 โรงงาน แรงงาน 300,000 คน • Russia เป็น Strategic Partner กับ Germany ส่งน้ามันให้ Germany 36% • UK ถอนตัวจาก EU และ NATO ไม่ร่วม EU Dollars • Germany France ตั้ง EU • คนอังกฤษอพยพ IRISH, ISRAEL, UK เข้าไปใน Canada, USA • China ค้ากับ USA อย่างมาก ความสัมพันธ์ระหวางประเทศ ชะลอการเกิดสงครามด้วยอาวุธ
  • 60. • อานาจกาลังรบที่มีตัวตน เช่น กาลังพล ยานพาหนะ ยุทธภัณฑ์ อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ ทันสมัยต่างๆ ฯลฯ • อานาจกาลังรบที่ไม่มีตัวตน ( Intangible ) เช่น ขวัญ กาลังใจ ความกล้าหาญ ความเสียสละ ความรักชาติ รักแผ่นดิน ความฮึกเหิม ความมุมานะอดทน รวมถึงการฝึกซ้อมต่างๆ ฯลฯ ไซเบอร์ : หนึ่งในพลังอานาจกาลังรบที่ไม่มีตัวตน ( The Cyber : one of Intangible Power )
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64. ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติรูปธรรม  ภูมิศาสตร์  ภาวะประชากร  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  รัฐบาล  วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี  การพลังงาน  การศึกษา  การเศรษฐกิจ  กาลังทหาร  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
  • 65. ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาตินามธรรม  ลักษณะและเอกลักษณ์ประจาชาติ  อุดมการณ์ของชาติ  แบบแผนของชาติ  ภาวะผู้นา  ความเชื่อ  ศาสนา จริยธรรม  ความจงรักภักดี
  • 66. 1. ขยายสมาชิกของสหภาพยุโรปไปยังยุโรปตะวันออกเพื่อรวมยุโรปเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันใหญ่ใหญ่ขึ้น 2. เดินหน้าสร้างอิสราเอลที่ใหญ่ขึ้น (Greater Israel) ผ่านการก่อสงคราม กับอิรัก ซีเรีย ลิเบีย เลบานอน ซูดาน โซมาเลียและอิหร่าน สงครามในตะวันออกกลางเป็นการลดประชากรและจะทาให้ประเทศในภูมิภาคนั้น รวมทั้งแอฟริกาเหนืออ่อนแอ กลายเป็นรัฐบริวารของอิสราเอลในที่สุด แบ่งแยกและปกครองเป็นนโยบายที่ใช้มา ตลอด 3. ปิดล้อมรัสเซียผ่านองค์กรนาโต้ ด้วยการเพิ่มกาลังทหารในยุโรป และทาลายแผนการของรัสเซียที่จะผงาดขึ้นมาใหม่ ผ่านเขตเศรษฐกิจร่วมยูเรเซีย (Eurasian Economic Union) สร้างวิกฤติยูเครน และสร้าง ปฏิวัติสีในรัสเซียเพื่อโค่นล้มปูติน 4. ปิดท้ายด้วยการสกัดจีน เพื่อล้มคู่แข่งทางการเงิน และเศรษฐกิจในเอเซีย แองโกลอเมริกันมีเป้าหมายหลัก 4 ประการที่จะครองโลกและสยบคู่แข่ง หลังใช้สงครามเย็นเหนือสหภาพโซเวียต Anglo-America คือ ดินแดนที่อยู่ทางตอนเหนือของแม่น้้าริโอแกรนด์ ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ประชากรส่วนใหญ่เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษ
  • 67. 1. การสร้างรัฐบาลโลกเดียวผ่านยูเอ็น 2. การสร้างธนาคารกลางโลกเดียวผ่านกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือBank for International Settlements 3. การสร้างเงินสกุลโลกเดียวผ่านเงินดิจิตัล special drawing rights ของกองทุน การเงินระหว่างประเทศ 4. การสร้างศาสนาโลกเดียว โดยจะมีการรวมเอาศาสนาจูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนา อิสลามเข้าด้วยกัน 5. การสถาปนาให้เยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงของโลก สหรัฐอเมริกันต้องการเป็นผู้นาฝ่ายเดียว
  • 68. • แองโกลอเมริกันเดินหน้าสร้าง Greater Israel อย่างเร่งด่วน ด้วยการสร้าง ISIS เพื่อล้ม อิรัก ซีเรีย และอิหร่านในท้ายที่สุดในตะวันออกกลาง • พยายามยันรัสเซีย รวมทั้งจีนไม่ให้ผงาด แล้วเตรียมตัวก่อสงครามโลกครั้งที่ 3 ในอีก 3-5 ปี โดย มั่นใจว่าเวลานั้นจะสามารถสยบทุกประเทศได้ • แต่ รัสเซีย จีนละอิหร่านจับมือกันชิงก่อสงครามก่อนในซีเรีย เพื่อเปิดเผยว่าใครอยู่เบื้องหลัง ISIS เตรียมการยึดตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือและจะทาลาย Greater Israel ให้พังพินาศ • แกนของโลกอยู่ที่ตะวันออกกลางเวลานี้ เนื่องจากเป็นแหล่งพลังงาน แหล่งประวัติศาสตร์ และอารยะ ธรรมโบราณหลักของโลก ใครเป็นผู้นาในตะวันออกกลางได้ ผู้นั้นจะเป็นผู้ครองโลก Greater Israel
  • 69. บทบาทของสหรัฐอเมริกาในสงครามทั่วโลก 1. สหรัฐอเมริกาแทรกแซงทางทหารในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นับตั้งแต่ปี 1946 มีเพียงปี 1955 และ 1957 เท่านั้นที่ไม่มีหลักฐานการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกา (Uppsala Conflict Data Program, 2011: Grossman ,2012): Global Policy Forum, 2005) 2. สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก(Stockholm International Peace Research Institute, 2011) 69 สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
  • 70. ภาพที่ 2 มูลค่าการส่งออกอาวุธของสหรัฐอเมริกา ในฐานะผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก 70 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 40,000 45,000 50,000 USA World ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011) สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
  • 71. ภาพที่ 3 ส่วนแบ่งตลาดอาวุธของสหรัฐอเมริกา 71 ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011) per cent - 10 20 30 40 50 60 70 สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
  • 72. ภาพที่ 4 สัดส่วนผู้นาเข้าอาวุธ ปี 1989-2010 72 ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011) Western Europe, 13.46 Eastern Europe, 8.50 Middle East, 23.10Asia, 38.89 Africa, 4.58 North America, 4.02 Central and South America, 4.92 Others, 2.53
  • 74. การแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกาในอิรัก เริ่มต้น-สิ้นสุด การปฏิบัติการ ผลที่เกิดขึ้นหลังจากสงคราม ม.ค. 1990- ธ.ค. 2011 1. ปฏิบัติการทางทหารในสงครามอ่าวเปอร์เซีย (สงครามคูเวต) 2. ปฏิบัติการยึดครองอีรัก (สหรัฐเรียนกว่า ปฏิบัติการเสรีภาพอิรัก) 3. ล้มล้างรัฐบาลและประหารชีวิตอดีต ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน (สหรัฐอเมริกาได้รับเงินและกาลังสนับสนุนจาก 36 ประเทศ) 1. มูลค่าการค้าน้ามันระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นอย่างมีนัย 2. ยอดขายอาวุธของสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นในปี 1991- 1993 3. วัตถุโบราณของอีรักถูกโจรกรรมหลังจาก สหรัฐอเมริกาบุกเข้ายึดอิรัก 74
  • 75. ยอดขายอาวุธของบริษัทผู้ค้าอาวุธยักษ์ใหญ่ 10 อันดับแรก 75 ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute, Yearbook 2008 Ranking Name Country Arms Sales ($ million USD) 1 Boeing USA 30,690 2 Lockheed Martin USA 28,120 3 BAE Systems UK 24,060 4 Northrop Grumman USA 23,060 5 Raytheon USA 19,530 6 General Dynamics USA 18,770 7 EADS West Europe 12,600 8 L-3 Communications USA 9,980 9 Finmeccanica Italy 8,990 10 Thales France 8,240 จานวนผู้เสียชีวิตจากสงคราม ปี 2006 (คน) 17,398 จานวนผู้เสียชีวิตจากสงคราม ปี 2006-2010 (คน) 111,916
  • 76. • สงครามว่า “เป็นสิ่งที่ยากในการให้คานิยามอย่างกระจ่างชัด • คานิยามในทางกฎหมาย ถือเอาการประกาศสงครามเป็นสิ่งที่ถูกต้องและรวมถึงระยะเวลาตั้งแต่การ ประกาศสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นก่อนการเริ่มต้นสู้รบกัน • ตั้งแต่ ค.ศ.๑๙๖๔ จะไม่มีประเทศใดประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ เนื่องจากเป็นข้อห้ามของ สหประชาชาติ เช่นสงครามเวียดนาม สงครามอิรัก/อิหร่าน สงครามฟอล์กแลนด์ และสงครามอ่าว • การรับรู้ของสงคราม ในเดือนเมษายน ค.ศ.๑๙๘๒ คนอังกฤษเชื่อว่าพวกเขากาลังอยู่ในภาวะสงคราม กับอาร์เจนตินา ในขณะที่ฝ่ายอาร์เจนตินาเห็นว่าพวกเขาได้บรรลุความสาเร็จในการยึดคืนหมู่เกาะ ฟอล์กแลนด์จากอังกฤษ The Fundamentals of British Maritime Doctrine
  • 77. •ประการแรก การดิ้นรนเสาะหาความร่ารวยทรัพยากรเพื่อการผลิตของประเทศรวมทั้งการหา ตลาดการค้า เป็นต้น •ประการที่สอง มาจากสาเหตุของการขยายธรรมจักรโดยเฉพาะศาสนาคริสต์ และอิสลาม •ประการสุดท้าย คือ การรักษาสถานะเดิมของตนหรือดุลยภาพแห่งอานาจ แต่ในยุคร่วมสมัย สาเหตุของสงครามตามที่ Thucydides กล่าวไว้ในสมัยโบราณว่าเกิดจากเหตุสามประการ คือ “ความกลัว เกียรติยศ และผลประโยชน์” กลับดูจะมีน้าหนักมากขึ้นอีก โดยเฉพาะเรื่อง ผลประโยชน์ “War is the continuation of business by other means” สาเหตุของสงคราม ๓ ประการ
  • 78. ๑. สงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) หมายถึง คู่สงครามใช้ทรัพยากรทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ ชาติจะถูกคุกคามให้ยอมแพ้ โดยปราศจากเงื่อนไข ๒. สงครามทั่วไป (General War) คล้ายคลึงกับสงครามเบ็ดเสร็จ ต่างกันที่สงครามทั่วไปเน้นการใช้กาลังทหารอย่าง เบ็ดเสร็จ ส่วนมากจะหมายถึงสงครามที่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ เคมี หรือชีวะ นอกจากนั้นยังหมายถึงการทาสงครามตาม แบบอย่างไม่จากัด (Unrestricted Convention War) ๓. สงครามจากัด (Limited War) วัตถุประสงค์ของคู่สงครามจะถูกจากัด คู่สงครามจะจากัดการใช้เครื่องมือทาง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (ตรงข้ามกับสงครามเบ็ดเสร็จ) และยังจากัดการใช้กาลังทหารด้วย (ต่างจากสงคราม ทั่วไป) • ๔. สงครามตามแบบ (Conventional War) เป็นการสู้รบกันโดยปราศจากการใช้อาวุธนิวเคลียร์ เคมี และชีวะ แม้ว่า ฝ่ายที่มีอาวุธดังกล่าวจะมีอิทธิพลต่อเป้าหมายสงครามยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีของคู่ต่อสู้อย่างเห็นได้ชัด ระดับของสงคราม (Levels of War)