SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง History of 20 th“
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20 ”
วิชาประวัติศาสตร์สากล
เสนอ...
คุณครู ธีรเทพ ซูข่า
จัดทำโดย...
นาย ปฏิพัทธ์ เสริมทา เลขที่ 15
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/13
วิกฤตการณ์ บอสเนีย วิกฤตการณ์ บอลข่านวิกฤตการณ์ โมรอกโค
ครูที่ปรึกษา
คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ครูที่ปรึกษาร่วม
ครู ธีรเทพ ซูข่า
โครงงาน History of 20th
• เกี่ยวกับโครงงาน
• ที่มาและความสาคัญ
• วัตถุประสงค์
• ขอบเขตโครงงาน
• หลักการและทฤษฏี
• วิธีการดาเนินงาน
• ผลที่คาดว่าจะได้รับ
• แหล่งอ้างอิง
โครงงานนี้นอกจากจะได้รับความรู้จากการสนใจที่จะศึกษา
ข้อมูลเพิ่มเติมฝนวิชาประวัติศาสตร์สากลเกี่ยวกับความเป็นมาของ
วิกฤตการณ์ต่างๆในศตวรรษที่ 20 แล้วยังถือเป็นการส่งเสริมการใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาซึ่งปัจจุบันวัยรุ่นมักหมด
เวลาไปเปล่าประโยชน์กับการใช้อินเทอร์เน็ตแต่มิได้ความรู้ใน
การศึกษาแต่อย่างใด ดังนั้นการจัดทาโครงงานนี้จึงถือเป็นการรู้จัก
ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์และรู้จักใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นสื่อ
เพื่อการศึกษาอย่างถูกต้องและเผยแพร่ความรู้ได้อย่างเสรี
ที่มาและความสาคัญ
• 1. จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วน
หนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์
ง 33202 และวิชา
ประวัติศาสตร์สากล
วัตถุประสงค์
2.เพื่อศึกษาวิชา
ประวัติศาสตร์สากลให้
เข้าใจมากยิ่งขึ้นในเรื่องที่
สนใจ
วัตถุประสงค์
3. ก่อให้เกิดการบูรณาการด้าน
การคิด การจัดทาสื่อเพื่อ
การศึกษาจากกระบวนการ
สืบค้นของผู้จัดทา
วัตถุประสงค์
4. ส่งเสริมให้รู้จักการบูรณา
การทางวิชาการในวิชา
คอมพิวเตอร์และวิชา
ประวัติศาสตร์
วัตถุประสงค์
• โครงงานนี้มีขอบเขตเพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ของโลกเพื่อที่จะ
นามาต่อยอดเป็นโครงงานเพื่อการศึกษาและสามารถใช้ได้จริงใน
ชีวิตประจาวัน
• รวมถึงทราบความเป็นมาของการเกิดสงครามโลกโลกครั้งที่ 1และ2
จากการเรียนวิชาประวัติศาสตร์สากลในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ขอบเขตโครงงาน
• วิกฤตการณ์ทางการเมืองและสงครามก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1
กล่าวได้ว่านับเป็นเวลา 10 ปี ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่1 นั้นใน ยุโรปได้เกิดวิกฤตการณ์ต่างๆอันเป็น
ปัจจัยและล้วนแต่เป็นส่วนหนึ่งจองการสั่งสมและกลายเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1 แทบ
ทั้งสิ้น นับแต่ปี 1904-1913 ภายใต้การพัฒนาทางการทหารลัทธิชาตินิยมและจักรวรรดินิยม ที่ครอบงา
ไปทั่วทั้งยุโรป ทาให้ยุโรปต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ต่างๆระหว่างชาติที่ติดตามกันมาเรื่องแล้วเรื่องเล่า
แต่กระนั้นคู่กรณีก็สามารถก้าวพ้นการเสื่อมเสียมาได้แทบทุกครั้งแต่กระนั้นด้วยแนวคิดชาตินิยมและ
การปลูกฝังที่มีอย่างต่อเนื่องสู่รุ่นลูกรุ่นหลานก็ทาให้สั่งสมความเกลียดชังและขัดแย้งมาอย่างต่อเนื่อง
ในจานวนวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นมาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่น่าสนใจและมีผลโดยตรงต่อความ
ขัดแย้งมีดังนี้
หลักการและทฤษฏี
• วิกฤตการณ์โมร็อกโก ค.ศ. 1905 และ ค.ศ. 1906
• วิกฤตการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นมาจากความขัดใจและขัดแย้งกันในเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่
มีโมร็อกโกเป็นตัวกลาง และเป็นผู้ที่ต้องรับปัญหาโดยตรง
• กล่าวคือ ในตอนต้นศตวรรษที่ 20 โมร็อกโกมีสถานะเป็นประเทศเอกราชโดยมีสุลต่าน
ปกครอง ข้อดีของโมร็อกโกคือความอุดมสมบูรณ์ในแร่ธาตุและมีผลิตผลทางการเกษตรที่ดีกว่า
หลายประเทศในแอฟริกาตอนเหนือ ด้วยข้อดีเช่นนี้เองจึงทาให้โมร็อกโกเข้าไปเป็นที่พึง
ปรารถนาของยักษ์ใหญ่แห่งยุโรปในเวลานั้น
• สิ่งสาคัญที่โมร็อกโกมีและเป็นที่หมายปองอย่างมากของยุโรปในเวลานั้นคือ โมร็อกโกมีบ่อ
แร่เหล็กและแมงกานิส และโอกาสด้านการค้าต่างๆ อีกสองมหาอานาจแห่งยุโรปเวลานั้นคือ
เยอรมนีและฝรั่งเศสประกาศตัวชัดเจนที่จะเข้าไปหาผลประโยชน์ที่โมร็อกโก เมื่อทั้งสองชาติมา
ชิงดีชิงเด่นกันเช่นนั้นผลที่ออกมาก็คือไม่มีใครได้เปรียบและเสียเปรียบ
หลักการและทฤษฏี
แต่เมื่อถึงปี 1904 เมื่ออังกฤษได้ตกลงทาสนธิสัญญาฉันทไมตรีไตรมิตร
อังกฤษ ฝรั่งเศสขึ้นมา ซึ่งในสนธิสัญญานี้มีข้อความตอนหนึ่งกาหนดเอาไว้ว่าให้
ฝรั่งเศสปฏิบัติกับโมร็อกโกได้ตามแต่ฝรั่งเศสจะปรารถนาซึ่งส่งผลกระทบกระเทือน
ทางการฑูตต่อเยอรมนีโดยตรง ทั้งนี้เพราะเยอรมนีต้องการให้ชาติของตนเองมีส่วน
ร่วมในการเจรจาด้วยหากมีการพูดคุยกันในเรื่องของปัญหาโมร็อกโก
• ปลายปี 1904 นั่นเองฝรั่งเศสก็ได้ขอให้สุลต่านโมร็อกโกยอมให้ฝรั่งเศสเข้าไป
ปรับปรุงด้านการทหารและการคลังซึ่งหากองค์สุลต่านยินยอมก็จะทาให้ฝรั่งเศสมี
อานาจในโมร็อกโกเท่ากับที่เวลานั้นอังกฤษมีอานาจเหนืออียิปต์อยู่ก่อนแล้ว
หลักการและทฤษฏี
• รัฐบาลเยอรมนีวางเฉยในระยะแรก แต่อีกสองหรือสามเดือนต่อมาไกเซอร์
วิลเฮล์มที่ 2 ของเยอรมนี เสด็จเยือนเมืองแทนเจียร์ของโมร็อกโกอย่างเป็นทางการใน
เดือนมีนาคม 1905 อีกทั้งไกเซอร์ยังได้กล่าวสุนทรพจน์ยอมรับในเอกราชและ
อธิปไตยของโมร็อกโก อีกทั้งในเวลานั้นกระทรวงการต่างประเทศของเยอรมนีก็ได้
เข้าขอร้องว่าหากจะมีการตกลงเกี่ยวกับอนาคตของโมร็อกโกแล้วก็ขอให้มีการเปิด
การประชุมระหว่างชาติขึ้น
หลักการและทฤษฏี
• ผลที่เกิดขึ้นมานี้ทาให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ
ฝรั่งเศสในเวลานั้นโกรธอย่างมากึงกับยืนยันที่จะทาให้เกิดสงครามขึ้นกับ
เยอรมนีให้ได้แต่เมื่อเจรจากับพันธมิตรของตนเองอย่างรุสเซีย ซึ่งเวลานั้น
ยังไม่พร้อมจะไปออกรบกับใครได้เพราะกาลังติดพันในสงครามกับญี่ปุ่น
อยู่ และเพิ่งจะพ่ายแพ้ญี่ปุ่นมา อีกทั้งเหตุการณ์ภายในประเทศของตนเองก็
ไม่น่าไว้วางใจนักขณะอังกฤษนั้นแม้ด้านการฑูตจะแสดงออกถึงการ
สนับสนุนฝรั่งเศสอย่างเดิมทีแต่ก็ละเว้นการแสดงออกอย่างตรงไปตรงมาว่า
จะเข้ามาช่วยเหลือฝรั่งเศสหรือไม่หากเกิดสงครามขึ้นมา
• Theophile Delcasse
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศส ณ เวลานั้น
หลักการและทฤษฏี
สุดท้ายฝรั่งเศสจึงจาต้องยอมจานนต่อการกระทาของเยอรมนี ถึงขั้นที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศสต้องลาออกจากตาแหน่งและถือ
ว่าเป็นความพ่ายแพ้ทางการฑูตที่หน้าอายของฝรั่งเศส แต่กระนั้นก็ใช่ว่าเยอรมนีจะ
ได้รับชัยชนะ ทั้งนี้เพราะในการประชุมนานาชาติที่เยอรมนียืนยันให้จัดขึ้นที่เมืองอัล
จาซีรา ในการลงคะแนนเสียงเยอรมนีพ่ายแพ้เกมการทูต โดยอิตาลีเข้าข้างฝรั่งเศส
อย่างเต็มที่ทุกกรณี ส่งผลให้เยอรมนีสามารถทาได้ก็เพียงแค่ยืนยันให้โมร็อกโกเป็น
เอกราชแต่เพียงในนามเท่านั้น
อธิปไตยของสุลต่านหมดไป โมร็อกโกต้องเปิดประเทศให้ชาติต่างๆ เข้ามาค้าขายได้
โดยมีสิทธิเท่าเทียมกัน แต่ตามความเป็นจริงแล้ว ส่วนใหญ่จะมีเพียงฝรั่งเศสกับสเปน
ที่ได้มีอานาจเข้ามาตรวจดูแลรักษาโมร็อกโกและการประชุมในครั้งนี้เองที่ทาให้
เยอรมนีเริ่มสงสัยและไม่ไว้วางใจอิตาลีรวมถึงประเทศในค่ายฉันทไมตรีไตรมิตร
(Triple entente) และเป็นจุดเพิ่มพูนความกินแหนงแคลงใจ---
หลักการและทฤษฏี
• ปรึกษากับสมาชิกเพื่อกาหนดหัวข้อในการทาโครงงาน
• กาหนดขอบเขตเรื่องที่ต้องการศึกษาในการทาโครงงาน
• ศึกษาค้นคว้าตามทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับภาษาอาเซียน
• จัดทาโครงงาน
• จัดทาเอกสารรายงาน
• ตรวจสอบโครงงานผ่านครูที่ปรึกษาโครงงานและนาไปปรับปรุงส่วน
ที่ต้องแก้ไข
• นาเสนอโครงงาน ผ่านโปรแกรม Microsoft Power Point
วิธีการดาเนินงาน
• เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
• คอมพิวเตอร์
• อินเทอร์เน็ต
• โปรแกรม Microsoft word 2010
• โปรแกรม Microsoft Power Point 2010
วิธีการดาเนินงาน
วิธีการดาเนินงาน
ลำดับ
ที่ ขั้นตอน
สัปดำห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงำน / / ปฏิพัทธ์
2 ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูล / / / / ปฏิพัทธ์
3 จัดทำโครงร่ำงงำน / / ปฏิพัทธ์
4 ปฏิบัติกำรสร้ำงโครงงำน / ปฏิพัทธ์
5 ปรับปรุงทดสอบ / / ปฏิพัทธ์
6 กำรทำเอกสำรรำยงำน / / ปฏิพัทธ์
7 ประเมินผลงำน / / ปฏิพัทธ์
8 นำเสนอโครงงำน / / ปฏิพัทธ์
สถานที่ดาเนินการ
- โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย อ. เมือง จ. เชียงใหม่
• กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
• กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
(คอมพิวเตอร์)
• กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
วิธีการดาเนินงาน
• ได้รับความรู้และความเข้าใจในเรื่องของวิกฤตการณ์ทางการเมือง
และความเข้าใจด้านประวัติศาสตร์ของโลกและรู้จักบูรณาการผ่าน
นามาใช้ในบางกรณี
• สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการทาโครงงาน ผ่านโปรแกรม
Microsoft Power Point เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ
รวมถึงการใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้น
•
•
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
วิกฤตกำรณ์ต่ำงๆดังต่อไปนี้
• วิกฤตการณ์ทางการเมืองและสงครามก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1
• กล่าวได้ว่านับเป็นเวลา 10 ปี ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 นั้นใน ยุโรปได้เกิด
วิกฤตการณ์ต่างๆ อันเป็นปัจจัยและล้วนแต่เป็นส่วนหนึ่งจองการสั่งสมและกลายเป็น
จุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1 แทบทั้งสิ้น
• นับแต่ปี 1904-1913 ภายใต้การพัฒนาทางการทหาร ลัทธิชาตินิยมและจักรวรรดิ
นิยม ที่ครอบงาไปทั่วทั้งยุโรป ทาให้ยุโรปต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ต่างๆ ระหว่างชาติ
ที่ติดตามกันมาเรื่องแล้วเรื่องเล่า แต่กระนั้นคู่กรณีก็สามารถก้าวพ้นการเสื่อมเสียมาได้
แทบทุกครั้ง แต่กระนั้นด้วยแนวคิดชาตินิยมและการปลูกฝังที่มีอย่างต่อเนื่องสู่รุ่นลูก
รุ่นหลานก็ทาให้สั่งสมความเกลียดชังและขัดแย้งมาอย่างต่อเนื่อง
• ในจานวนวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นมาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่น่าสนใจและมีผล
โดยตรงต่อความขัดแย้งมีดังนี้
วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่1)
• วิกฤตการณ์ โมร็อกโค คือ
วิกฤติการณ์ที่คุกคามสันติภาพ มี
ความเกี่ยวข้องกับเยอรมนีและ
ฝรั่งเศส เกิดขึ้น ทั้งหมด 2 ครั้ง
• 1. เกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1905
และ 1906
• 2. เกิดขึ้นครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1911
• ***ครั้งที่สองจะเกิดหลังวิกฤตการณ์
บอสเนีย ค.ศ. 1908-1909 ***
วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่1)
• วิกฤตการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นมาจากความขัดใจและขัดแย้งกันในเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่
มีโมร็อกโกเป็นตัวกลางและเป็นผู้ที่ต้องรับปัญหาโดยตรง
• กล่าวคือ ในตอนต้นศตวรรษที่ 20 โมร็อกโกมีสถานะเป็นประเทศเอกราชโดยมีสุลต่าน
ปกครอง ข้อดีของโมร็อกโกคือความอุดมสมบูรณ์ในแร่ธาตุและมีผลิตผลทางการเกษตรที่
ดีกว่าหลายประเทศในแอฟริกาตอนเหนือด้วยข้อดีเช่นนี้เองจึงทาให้โมร็อกโกเข้าไปเป็นที่พึง
ปรารถนาของยักษ์ใหญ่แห่งยุโรปในเวลานั้น
• สิ่งสาคัญที่โมร็อกโกมีและเป็นที่หมายปองอย่างมากของยุโรปในเวลานั้นคือ โมร็อกโกมี
บ่อแร่เหล็กและแมงกานิสและโอกาสด้านการค้าต่างๆ อีกสองมหาอานาจแห่งยุโรปเวลานั้น
คือเยอรมนีและฝรั่งเศสประกาศตัวชัดเจนที่จะเข้าไปหาผลประโยชน์ที่โมร็อกโกเมื่อทั้งสอง
ชาติมาชิงดีชิงเด่นกันเช่นนั้นผลที่ออกมาก็คือไม่มีใครได้เปรียบและเสียเปรียบ
วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่1)
แต่เมื่อถึงปี 1904 เมื่ออังกฤษได้ตกลงทาสนธิสัญญาฉันทไมตรี
ไตรมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศสขึ้นมา ซึ่งในสนธิสัญญานี้มีข้อความตอนหนึ่ง
กาหนดเอาไว้ว่าให้ฝรั่งเศสปฏิบัติกับโมร็อกโกได้ตามแต่ฝรั่งเศสจะ
ปรารถนาซึ่งส่งผลกระทบกระเทือนทางการทูตต่อเยอรมนีโดยตรง
ทั้งนี้เพราะเยอรมนีต้องการให้ชาติของตนเองมีส่วนร่วมในการเจรจา
ด้วยหากมีการพูดคุยกันในเรื่องของปัญหาโมร็อกโก
• ปลายปี 1904 นั่นเองฝรั่งเศสก็ได้ขอให้สุลต่านโมร็อกโกยอมให้
ฝรั่งเศสเข้าไปปรับปรุงด้านการทหารและการคลังซึ่งหากองค์สุลต่าน
ยินยอมก็จะทาให้ฝรั่งเศสมีอานาจในโมร็อกโกเท่ากับที่เวลานั้นอังกฤษ
มีอานาจเหนืออียิปต์อยู่ก่อนแล้ว
• รัฐบาลเยอรมนีวางเฉยในระยะแรก แต่
อีกสองหรือสามเดือนต่อมาไกเซอร์
วิลเฮล์มที่ 2 ของเยอรมนี เสด็จเยือนเมือง
แทนเจียร์ของโมร็อกโกอย่างเป็นทางการ
ในเดือนมีนาคม 1905 อีกทั้งไกเซอร์ยังได้
กล่าวสุนทรพจน์ยอมรับในเอกราชและ
อธิปไตยของโมร็อกโก อีกทั้งในเวลานั้น
กระทรวงการต่างประเทศของเยอรมนีก็
ได้เข้าขอร้องว่าหากจะมีการตกลงเกี่ยวกับ
อนาคตของโมร็อกโกแล้วก็ขอให้มีการ
เปิดการประชุมระหว่างชาติขึ้น
ในเวลาต่อมาได้มีการประชุมนานาชาติที่เมืองอัลเจซิรัส
ประเทศสเปนเพื่อแก้ปัญหาในโมร็อกโกโดยฝรั่งเศสมีอังกฤษ
ให้การสนับสนุนและเยอรมนีได้รับการสนับสนุนจาก
ออสเตรีย-ฮังการี ผลการประชุมดูเหมือนเยอรมนีจะเป็นฝ่าย
ได้รับชัยชนะแต่ผลประโยชน์กลับตกอยู่กับฝรั่งเศส กล่าวคือ
ที่ประชุมยอมรับว่าโมร็อกโกเป็นประเทศเอกราช แต่ต้องเปิด
ประเทศติดต่อค้าคาย และให้สเปนกับฝรั่งเศสควบคุมตารวจใน
โมร็อกโก โมร็อกโกจะต้องสร้างธนาคารแห่งชาติขึ้นอยู่ให้อยู่
ภายใต้การควบคุมดูแลของฝรั่งเศส อังกฤษ เยอรมนีและสเปน
ผลที่ตามมาจากการประชุมคือความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
ฝรั่งเศสและอังกฤษ
อังกฤษสามารถตกลงทาความเข้าใจกับรัสเซียได้ส่งผล
ให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ชาวเติร์กเพราะการทาข้อตกลง
ดังกล่าวมีผลต่อความอยู่รอดของตุรกี ในอดีตตุรกีสามารถรักษา
อานาจไว้ได้เพราะความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างอังกฤษและ
รัสเซีย ดังนั้นเมืองประเทศทั้งสองตกลงกันได้กลุ่มยังเติร์ก จึง
ก่อการปฏิวัติ
• กลุ่มยังเติร์ก Young Turksเป็นขบวนการเสรีนิยมที่เคยถูกเนรเทศไปอยู่
ต่างประเทศมีจุดมุ่งหมายล้มการปกครองของสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 โดยวิการ
ปฏิรูปและส่งเสริมการใช้รัฐธรรมนูญ กลุ่มยังเติร์กทาการติดต่อประสานงานกับ
บรรดาชนกลุ่มน้อยชาตินิยมที่อาศัยอยุ่ในอาณาจักรตุรกีโดยเฉพาะที่มาซิโดเนีย
และอาร์เมเนียให้มีโอกาศปกครองตนเอง
• ความแตกแยกในกลุ่ม ยังเติร์ก 24 กรกฎาคม ค.ศ.1908 สุลต่านอับดุล ฮามิดที่
2 ทรงยอมมอบอานาจให้แก่กลุ่มนายทหารและพระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ชาว
เติร์ก รัฐสภาเปิดประชุมในปีเดียวกันแต่เกิดความขัดแย้งในรัฐสภาระหว่างกลุ่ม
เติร์กหนุ่มเสรีนิยมดั้งเดิมที่เคยถูกเนรเทศและกลุ่มเติร์กนายทหารซึ่งมีนโยบาย
ชาตินิยมรุนแรงซึ่งไม่ต้องการเห็นอาณาจักรตุรกีเกิดการแตกแยก
• ทาให้เกิดการต่อต้านขบวนการชาตินิยมและต่อต้านการปกครองตนเองของพวก
ชนกลุ่มน้อย หลังสงครามบอลข่านกลุ่มเติร์กนายทหารมีอานาจมากขึ้นเกิดมี
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างตุรกีกับเยอรมนี ถึงแม้กลุ่มเสรีนิยมจะนิยมอังกฤษกับ
ฝรั่งเศส แต่ผู้นาฝ่ายทหารนิยมเยอมนี
วิกฤตการณ์ โมร็อกโก (ครั้งที่1)ผลที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นมานี้ทาให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การต่างประเทศของฝรั่งเศสในเวลานั้นโกรธอย่างมากึง
กับยืนยันที่จะทาให้เกิดสงครามขึ้นกับเยอรมนีให้ได้
แต่เมื่อเจรจากับพันธมิตรของตนเองอย่างรุสเซีย ซึ่ง
เวลานั้นยังไม่พร้อมจะไปออกรบกับใครได้เพราะกาลัง
ติดพันในสงครามกับญี่ปุ่นอยู่และเพิ่งจะพ่ายแพ้ญี่ปุ่น
มา อีกทั้งเหตุการณ์ภายในประเทศของตนเองก็ไม่น่า
ไว้วางใจนักขณะอังกฤษนั้นแม้ด้านการทูตจะ
แสดงออกถึงการสนับสนุนฝรั่งเศสอย่างเดิมทีแต่ก็ละ
เว้นการแสดงออกอย่างตรงไปตรงมาว่าจะเข้ามา
ช่วยเหลือฝรั่งเศสหรือไม่หากเกิดสงครามขึ้นมา
• Theophile Delcasse
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศส
ณ เวลานั้น
สุดท้ายฝรั่งเศสจึงจาต้องยอมจานนต่อการกระทาของเยอรมนี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศสต้องลาออกจากตาแหน่งและ
ถือว่าเป็นความพ่ายแพ้ทางการทูตของฝรั่งเศส แต่ถึงอย่างไรก็ใช่ว่าเยอรมนีจะ
ได้รับชัยชนะ
• เพราะในการประชุมนานาชาติที่เยอรมนียืนยันให้จัดขึ้นที่เมือง อัลจาซีรา ในการ
ลงคะแนนเสียงเยอรมนีพ่ายแพ้เกมการทูต โดยอิตาลีเข้าข้างฝรั่งเศสอย่างเต็มที่ทุก
กรณี ส่งผลให้เยอรมนีสามารถทาได้ก็เพียงแค่ยืนยันให้โมร็อกโกเป็นเอกราชแต่
เพียงในนามเท่านั้น
• อธิปไตยของสุลต่านหมดไป โมร็อกโกต้องเปิดประเทศให้ชาติต่างๆ เข้ามา
ค้าขายได้โดยมีสิทธิเท่าเทียมกัน แต่ตามความเป็นจริงแล้ว ส่วนใหญ่จะมีเพียง
ฝรั่งเศสกับสเปนที่ได้มีอานาจเข้ามาตรวจดูแลรักษาโมร็อกโกและการประชุมใน
ครั้งนี้เองที่ทาให้เยอรมนีเริ่มสงสัยและไม่ไว้วางใจอิตาลีรวมถึงประเทศในค่าย
ฉันทไมตรีไตรมิตร(Triple entente)
• หากจะกล่าวถึงดินแดนที่น่าจะเป็นปัญหามาก
ที่สุดในช่วงเวลาก่อนสงครามโลกครั้ง
ที่ 1 แล้วคาบสมุทรบอลข่านน่าจะเป็น
ดินแดนส่วนที่ว่านี้ ด้วยว่าที่ตั้งที่อยู่ระหว่าง
มหาอานาจและความเคลื่อนไหวไปจนถึงการ
เคลื่อนไหวของกลุ่มชนที่หลากหลาย ทาให้
เกิดเป็นแผ่นดินส่วนที่สร้างปัญหาต่อเนื่อง
• ตามข้อตกลงในที่ประชุมคองเกรสแห่ง
เบอร์ลิน ค.ศ. 1878 บอสเนียและ
เฮอร์เซโกวินา ต้องอยู่ภายใต้การตรวจตรา
ดูแลรักษาของออสเตรีย-ฮังการี ทั้งที่แท้จริง
แล้วทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่างยอมรับว่าดินแดน
ทั้งสองรัฐนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิ
ออโตมัน แต่ก็เป็นเพียงในนามเท่านั้น
วิกฤตการณ์ บอสเนีย
วิกฤตการณ์ บอสเนีย ตอนบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา
• วิกฤตการณ์บอสเนีย ปี ค.ศ. 1908-1909
จากข้อตกลงสนธิสัญญาเบอร์ลินในปี78 บอสเนียและเฮอร์เซกวินาได้กลายเป็นดินแดนที่
อยู่ภายใต้การปกครองของออสเตรีย-ฮังการีแต่ก็ยังคงมีสถานภาพเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของ
อาณาจักรตุรกี ออสเตรีย-ฮังการีพยายามที่จะกาจัดอิทธิพลของตุรกีออกจากดินแดนส่วนนี้
• เมื่อตุรกีตกอยู่ภายใต้การปกครองของกลุ่มนายทหารซึ่งมีนโยบายชาตินิยมรุนแรงออสเตรีย-
ฮังการีเกรงว่าจะเกิดผลต่อการปกครองภายในบอสเนียจึงเตรียมแผนการผนวกดินแดนทั้งสอง
เข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรออสเตรีย-อังการี
• ซึ่งในขณะเดียวกันรัสเซียซึ่งเกรงว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครองในตุรกีจะส่งผลมาถึงรัสเซีย
จึงหาทางหาทางทาความตกลงกับออสเตรีย-ฮังการีโดยรัสเซียจะให้การสนับสนุนในการ
ผนวกบอสเนียโดยทางออสเตรีย-ฮังการีจะให้การสนับสนุนรัสเซีย
วิกฤตการณ์ บอสเนีย
ในวันที่ 5 ตุลาคม 1908 บัลแกเรียได้ประกาศเอกราชแยกตัวออกจากตุรกี ในวันที่ 7 เดือน
เดียวกันออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศผนวกบอสเนียและเฮอร์ซโวนาเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร
จึงเท่ากับเป็นการละเมิดสนธิสัญญาเบอร์ลินผลให้อังกฤษเกิดความไม่พอใจจึงให้การสนับสนุน
รัสเซียแต่รัสเซียกลับขอให้อังกฤษเปิดช่องแคบให้เรื่อรบรัสเซียผ่านจึงทาให้อังกฤษไม่พอใจ
ในขณะที่ฝรั่งเศสก็ไม่พอใจรัสเซียเช่นกัน ซึ่งเป็นพันธมิตรแต่กลับทาสัญญากับออสเตรีย-ฮังการี
โดยที่ทางฝรั่งเศสไม่รู้ ซึ่งในที่สุดก็สามารสผนวกบอสเนียได้สาเร็จในขณะที่รัสเซียไม่ได้อะไรเป็น
การตอบแทน
เยอรมนีขานรับการรวบบอสเนียเข้ากับออสเตรีย-บัลแกเรียและขู่รัสเซียในสนับสนุนและพร้อม
จะทาสงครามกับรัสเซียหากไม่สนับสนุน รัสเซียจึงต้องยอมรับรองการกระทาของออสเตรีย-ฮังการี
ผลจากวิกฤตครั้งนี้ ถือเป็นชัยชนะของกลุ่มไตรภาคีที่มีต่อไตรพันธมิตร หลังจากที่เคยพ่ายแพ้
จากวิกฤตโมร็อกโก จึงไม่มีฝ่ายใดได้เปรียบเสียเปรียบกัน แต่การแข่งขันที่เกิดได้ก่อให้เกิดความ
ตรึงเครียดในการเมืองระหว่างประเทศในยุโรป
• การที่ออสเตรียเข้าควบรวมสองมณฑลนั้นทาให้เซอร์เบียโกรธแค้นอย่างมาก
ทั้งนี้เพราะเซอร์เบียนั้นต้องการรวมชาติสลาฟและประชากรส่วนใหญ่ใน
มณฑลทั้งสองนี้ก็เป็นชาวสลาฟ เซอร์เบียหวังเอาไว้ว่าหากสามารถรวม
ประเทศได้แล้วก็จะส่งผลให้เซอร์เบียกลายเป็นประเทศที่ยิ่งใหญ่กว่าเดิม
• ผลของความโกรธในครั้งนี้ทาให้ออสเตรีย-ฮังการี กับเซอร์เบียต้องตั้ง
ประจันหน้ากันเกือบเกิดการปะทะกันเป็นเวลาหลายเดือน แต่หลังจากติดต่อ
และเจรจาพันธมิตรกันแล้วสุดท้ายเซอร์เบียก็จาต้องผ่อนท่าทีลง ทั้งนี้เพราะ
รุสเซียสนับสนุนนโยบายรวมชาติสลาฟ
• แต่ปรากฏว่าด้วยปัญหาของรุสเซียที่มีอยู่ทาให้นอกจากไม่พร้อมที่จะทา
สงครามแล้ว รัสเซียยังเชื่อว่าเยอรมนีก็จะต้องเข้าข้างออสเตรีย-ฮังการีอย่าง
แน่นอน ดังนั้นรัสเซียจึงจาต้องขอยอมจานนก่อน สุดท้ายผลของวิกฤตการณ์
ที่เกิดขึ้นนี้ทาให้ออสเตรีย-ฮังการี และเยอรมนีได้รับชัยชนะทางการทูต
• แม้ปัญหาโมร็อกโกจะถูกแก้ไขไปบ้างแล้วก่อนหน้านั้น(วิกฤตการณ์
โมร็อกโกครั้งที่ 1 1905-1906) แต่ก็ดูเหมือนว่าความลงเอยยังไม่สิ้นสุด
ฝรั่งเศสยังมีความพยายามที่จะผนวกดินแดนโมร็อกโกให้ได้ใน
ปี 1911 บังเอิญเกิดเรื่องภายในโมร็อกโก เมื่อชาวพื้นเมืองได้ลุกขึ้นมาก
ก่อการกบฏต่อฝรั่งเศสที่เวลานั้นมีอานาจอยู่ในนครเฟซทาให้ฝรั่งเศสใช้
กาลังเข้ายึดนครเฟซเอาไว้ได้ในปลายปีนั้นเอง ด้วยการยกข้ออ้างว่าที่
ตัวเองเข้าไปนั้นเพื่อคุ้มครององค์สุลต่านรักษาความสงบ และพิทักษ์
รักษาความปลอดภัยให้กับชาวต่างชาติ
วิกฤตกำรณ์โมร็อกโก (ครั้งที่ 2)
วิกฤตกำรณ์โมร็อกโก (ครั้งที่ 2)
ปีค.ศ. 1908 สุลต่านอับเดล อาชิสที่ 4 ถูกโค่นอานาจอับเดล ฮาฟิช ผู้เป็น
อนุชา สุลต่านองค์ใหม่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชนจึงเกิดความวุ่นวายเรื่อยมา
สุลต่านจึงขอความช่วยเหลือไปยังฝรั่งเศส ฝรั่งเศสจึงส่งเรือรบไปยังเมืองเฟซ เมือง
หลวงโมร็อกโก เยอรมนีตอบโต้ฝรั่งเศสโดยการกล่าวหาฝรั่งเศสละเมิดข้อตกลง
อัลเจซิรส
ต่อมาเยอรมนีส่งเรือของตนเข้าไปยังเมือท่าอากาเดียร์ ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่ง
มหาสมุทรแอตแลนติกโมร็อกโกโดยอ้างว่าเพื่อพิทักษ์ผลประโยชน์ของชาวเยอรมนี
ในโมร็อกโก ส่งผลให้อังกฤษไม่พอกับการกระทาของเยอรมนี อังกฤษคิดว่า
เยอรมนีมีจุดประสงค์จะตั้งฐานทัพเรือบนชายฝั่งของโมร็อกโก อังกฤษกล่าวว่าทาง
ฝ่ายอังกฤษจะต้องรับทราบก่อนที่จะมีการตัดสินใจทาสิ่งใดลงไปในโมร็อกโก
ความสัมพันธ์ของอังกฤษกับเยอรมันกาลังอยู่ในภาวะตึงเครียด
วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่2)
• เมื่อเยอรมันเห็นท่าทีอันแข็งกร้าวของอังกฤษจึงหัน
มาเจรจากับฝรั่งเศส
• ในขณะที่เกิดวิกฤตฯการนั้นอิตาลีถือโอกาสเข้า
รุกรานทริโปลี(ลิเบีย)ซึ่งเป็นดินแดนในอาณัติของตุรกี
โดยอิตาลีได้รับการยินยอมจากฝรั่งเศสซึ่งเป็นผลจาก
อังกฤษและอิตาลียอมรับการเข้าไปแสวงหา
ผลประโยชน์ของฝรั่งเศสในโมร็อกโกในขณะที่ก่อน
หน้านี้อังกฤษได้รับการยอมรับจากฝรั่งเศสในการเข้า
ไปแสวงหาประโยชน์ในอียิปต์
การที่ฝรั่งเศสสามารถสร้างข้อผูกมัดกับทั้งอังกฤษ
และอิตาลีจึงทาให้ฝรั่งเศสสามารถดาเนินนโยบาย
ต่างประเทศให้เป็นประโยชน์ต่อฝรั่งเศสเอง
• ตุรกีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และยอมยกทริโปลีให้อิตาลี ตาม
สนธิสัญญาโลซานน์
ในขณะเดียวกันรัสเซียไดแสดงท่าทีที่จะผนวกเตหะราน อังกฤษเกิด
ความไม่พอใจ ฝ่ายฝรั่งเศสเกรงว่าท่าทีของรัสเซียจะเป็นการทาลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับอังกฤษจึงเข้าแทรกแซงจนทาให้รัสเซีย
ต้องเลิกล้มแผนการนี้ไป แต่หันไปเรียกร้องขอเดินทางเข้าออกบริเวณ
ช่องแคบได้อย่างเสรีจากตุรกี ซึ่งตุรกีได้รับการยืนยันจากทั้งอังกฤษและ
ฝรั่งเศสว่าไมได้ให้การสนับสนุนในเรื่องดังกล่าว ตุรกีจึงปฏิเสธ ผลจาก
เหตุการณ์นี้จึงทาให้ตุรกีต้องหันเข้าหาเยอรมนีมากยิ่งขึ้นโดยหวังว่าจะ
ได้เยอรมนีมาเป็นพันธมิตรในกรณีที่ตุรกีถูกคุกคามจากมหาอานาจ
วิกฤตกำรณ์โมร็อกโก (ครั้งที่ 2)
วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่2)
เหตุการณ์ครั้งนี้ก่อความหวั่นไหวไปทั่วทุกชาติ
ทั่วในยุโรป ทั้งนี้เพราะทุกชาติต่างรู้ดีว่าฝรั่งเศสนั้น
หวังที่ยึดครองโมร็อกโก โดยหวังเปลี่ยนให้
โมร็อกโกกลายเป็นประเทศในอารักขาของตนเองอยู่
แล้ว เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่อจากนี้จึงเริ่มกลับมาซ้า
รอยเดิม กล่าวคือเยอรมนีลุกขึ้นมาขัดขวางเป็นราย
แรก โดยการจัดส่งเรือปืนชื่อแพนเธอร์ เข้าไป
ทอดสมออยู่ที่อ่าวหน้าเมืองอาร์กาดีร์ทางฝั่ง
ตะวันตกของโมร็อกโก กลายเป็นการตั้งประจันหน้า
กัน สร้างความหวั่นไหวไปทั่วว่าสงครามจะต้อง
เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
เรือแพนเธอร์ที่เยอรมนีส่ง
มำให้มำประจันหน้ำกับ
ฝรั่งเศส 1911 ที่โมร็อกโก
วิกฤตกำรณ์ โมรอกโค (ครั้งที่2)
• ครั้งนี้ฝรั่งเศสมั่นใจว่าอังกฤษจะต้องเข้าร่วม
ช่วยเหลืออย่างแน่นอน ซึ่งเห็นได้อย่างชัดเจนที่
อังกฤษยื่นเรื่องให้เยอรมนีถอนเรือปืนออกไปและ
แสดงท่าทีชัดเจนว่าอยู่ข้างฝรั่งเศส
• ปรากฏว่าสุดท้ายเยอรมนีไม่อยากสู้รบกับ
อังกฤษและฝรั่งเศส จาต้องยอมตกลงให้ฝรั่งเศสเข้า
ไปเป็นอารัฐอารักชาโมร็อกโก โดยให้มีเงื่อนไขว่า
ฝรั่งเศสต้องยอมดาเนินนโยบาย “เปิดประตู
การค้า” ที่โมร็อกโกเพื่อชดใช้ และฝรั่งเศสต้อง
ยอมยกดินแดนป่าเขาในคองโกของฝรั่งเศสซึ่งมี
เนื้อที่100,000 ตารางไมล์ให้แก่เยอรมนี
ภำพ:ปืนใหญ่ฝรั่งเศสที่
ประจันหน้ำกับเรือ
แพนเธอร์ของเยอรมนี
วิกฤตการณ์ โมร็อกโก (ครั้งที่2)
• แม้สงครามจะไม่เกิดขึ้นและวิกฤตการณ์ผ่านพ้นไปได้แต่กระนั้นเหตุการณ์
ครั้งนี้ก็กลายเป็นสิ่งที่ค้างใจทั้งเยอรมนีและฝรั่งเศสทั้งสองเกิดความรู้สึกเป็น
ปฏิปักษ์รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ค่ายฉันทไมตรีไตรมิตรและค่ายพันไมตรีไตรมิตร
เริ่มแข่งขันกันรุนแรงมากยิ่งขึ้น จนทุกคนในโลกในเวลานั้นเริ่มตั้งคาถาม
และพูดคุยกันแล้วว่าสงครามใหญ่จะต้องเกิดขึ้นมาแน่ แต่ไม่รู้ว่าเมื่อไรและ
เริ่มขึ้นที่ไหนก่อนเท่านั้นเอง
สงครามบอลข่าน
• สงครามบอลข่าน ค.ศ.1912 – 1913
• **สงครามบอลข่าน (วิกฤตบอลข่าน) มีทั้งหมดสองครั้ง ครั้งที่แรกค.ศ.1908**
ย้อนกลับไปยังสงครามบอลข่านครั้งที่ผ่านมาก่อนผลของสงครามครั้งนั้นทาให้เซอร์เบียกับ
ออสเตรียบาดหมางกันอย่างมาก ทั้งยังเป็นผลกระตุ้นให้อิตาลีหันไปทาสัญญากับรัสเซียเพื่อ
ต่อต้านออสเตรีย– ฮังการี ทั้งนี้ก็เพื่อกันไม่ให้ออสเตรีย – ฮังการี ขยายอิทธิพลเข้าไปบอลข่าน
อีก ซึ่งการลงนามสัญญานี้เกิดขึ้นในปี1909 ก่อนที่อิตาลีทาสงครามกับตุรกี
• ค.ศ. 1911 อิตาลีทาสงครามกับตุรกีกรณียึดทริโปลี พร้อมกันนั้นรุสเซียก็ได้เข้าไปเกลี่ยวกล่อม
บัลแกเรียประเทศซึ่งถือเป็นศัตรูโดยตรงของเซอร์เบียให้หันมาจับมือร่วมกันกับเซอร์เบียจนก่อ
เกิดสัญญาลับขึ้นมาเพื่อร่วมกันโจมตีตุรกีในปี 1912 ซึ่งมีข้อตกลงในสัญญาลับนั้นว่า หากทา
สงครามกับตุรกีจนได้รับชัยชนะแล้วบัลแกเรียจะได้ดินแดนส่วนใหญ่ของมาซิโดเนียซึ่งขณะนั้น
เป็นของตุรกีอยู่ฝ่ายเซอร์เบียก็จะได้ดินแดนมาซิโดเนียส่วนที่เหลือจากบัลแกเรียรวมถึง
ได้อัลเบเนียตอนที่ติดกับฝั่งทะเลอาเดรียติก
สงครามบอลข่าน
• ผลของการรวมกลุ่มกันครั้งนี้ยังทาให้กรีซและมอนเตเนโกรกระโดดมาเข้าร่วม
จับมือด้วย กลายเป็นกลุ่มประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่าน เรียกกันว่ากลุ่มสันนิบาตบอล
ข่าน โดยชาวประเทศกลุ่มนี้มีเป้าหมายคือปลดปล่อยชาวสลาฟซึ่งถือว่าเป็นพวกเดียวกัน
กับตนเองให้หลุดพ้นจากอานาจการปกครองของมุสลิมของตุรกี
• ตุรกีกาลังเดือดร้อนกับการทาสงครามกับอิตาลีอยู่ก็โดนโจมตีซ้าอีกจากการปล่อยข่าว
กล่าวหาว่า ตุรกีได้บีบคั้นชาวคริสต์ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของตุรกีแถบมาซิโดเนียแล้ว
วันที่ 21 ตุลาคม 1912 กลุ่มสันนิบาตบอลติกก็ประกาศสงครามกับตุรกี ทาให้ตุรกีต้องรีบ
ปิดฉากปัญหาของตนเองในแอฟริกากับอิตาลีแล้วเร่งกลับมาตั้งรับทัพสันนิบาตบอลข่าน
• กรีซส่งกองกาลังเข้ามารุกมาซิโดเนียและเทรซ ขณะที่บัลแกเรียก็ส่งกาลังเข้าล้อม
เมืองปราการสาคัญคือเอเดรียโนเปิลซ้ายังรุกไล่กองทหารของตุรกีไปจนเกือบถึงกรุง
คอนสแตนติโนเปิล ด้านเซอร์เบียก็กาลังเข้าตียึดบริเวณลุ่มแม่น้าวาดาร์ได้ได้รับชัยชนะ
เรื่อยไปจนได้อัลเบเนียตอนเหนือ
สงครามบอลข่าน
• กล่าวได้ว่าเวลานั้นสันนิบาตบอลข่านสามารถเข้ายึดดินแดนของตุรกีในส่วนที่
อยู่ในทวีปยุโรปไว้ได้เกือบหมด
• สงครามครั้งนี้ไม่เพียงแค่ทาให้ตุรกีลาบากเท่านั้น ในยุโรปก็เกิดปัญหาตามมา
โดยมีจุดปัญหามาจากความเป็นศัตรูของออสเตรีย – ฮังการีกับเซอร์เบีย ซึ่งการที่
เซอร์เบียเข้าทาสงครามในครั้งนี้ก็เพื่อให้ได้อัลเบียเพื่อไว้ใช้เป็นทางออกทะเล แต่เดิม
นั้นเซอร์เบียหวังจะยกไปยึดเอาบอสเนียแต่ปรากฏว่าถูกออสเตรีย – ฮังการี กันท่า
และยึดได้ก่อนในปี1908 และครั้งนี้ก็เช่นกัน ออสเตรีย – อังการี ก็พยายามกันท่า
ไม่ให้เซอร์เบียได้อัลเบเนีย ขณะที่อิตาลีซึ่งเวลานั้นก็คิดเช่นกันว่าไม่อยากให้
เซอร์เบียยิ่งใหญ่จนสามารถมาแข่งขันกับตนเองแถบทะเลเอเดรียติก ดังนั้นในเวลา
ต่อมาจึงมีการสถาปนาอัลเบเนียของตุรกีเดิมขึ้นเป็นประเทศเอกราชมีกษัตริย์
ปกครอง
สงครามบอลข่าน
• ค.ศ.1913 เมื่อเซอร์เบียบถูกออสเตรีย – ฮังการี และอิตาลีกันท่าในอัลเบเนียแล้ว
ดังนั้นเซอร์เบียจึงหันไปขอส่วนแบ่งในมาซิโดเนียจากบัลแกเรียเพิ่ม บัลแกเรียก็รีบ
ออกมาปฏิเสธ
มอนเตเนโกร โรมาเนีย และตุรกี ร่วมรบกับฝ่ายของเซอร์เบียกับกรีซ การที่ตุรกี
เข้ามาร่วมด้วยก็เพราะตุรกีหวังว่าหากเป็นไปได้ตนเองอาจจะได้รับดินแดนทางแคว้น
เทรซซึ่งก่อนหน้านี้บัลแกเรียแย่งไป
• สงครามครั้งนี้การสู้รบกันอย่างหนัก จนสุดท้ายบัลแกเรียสู้ไม่ไหว ต้องยอมแพ้
และยอมรับเงื่อนไขในสนธิสัญญาบูคาเรสต์ เมื่อเดือนสิงหาคม 1913 โดนเนื้อหาตาม
สนธิสัญญานี้มีว่า บัลแกเรียจะได้รับส่วนแบ่งในดินแดนมาซิโดเนียน้อยลงกว่าที่ได้ตก
ลงไว้เดิมมาก และเซอร์เบียก็จะได้ดินแดนทางมาซิโดเนียมากกว่าบัลแกเรียซึ่งก็ทาให้
เซอร์เบียใหญ่โตขึ้นกว่าเดิม
สงครามบอลข่าน
• สงครามที่เกิดขึ้น เป็นตัวจุดประกายของสงครามใหญ่ แม้วิกฤตการณ์จะผ่านพ้นไป
แล้วแต่ว่าหลังสิ้นสงครามบอลข่านภัยแห่งสงครามได้แผ่เข้าครอบงาทวีปยุโรปเป็นวง
กว้างมากยิ่งขึ้น แม้สงครามการต่อสู้บนคาบสมุทรบอลข่านจะยุติลงแล้ว
• บัลแกเรียต้องการแก้แค้นเซอร์เบีย ส่วนเซอร์เบียเมื่อได้ดินแดนมาเพิ่มจนประเทศ
ตนเองใหญ่โตขึ้นเป็นสองเท่าก็จะสร้าง “มหาอาณาจักรเซอร์เบีย” โดยมองรวมเอา
ดินแดนซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของชาวสลาฟจากจักรวรรดิออสเตรีย – ฮังการี มาไว้เป็นของ
ตน โดยรัสเซียก็สนับสนุนอย่างเต็มที่ ซึ่งแผนการนี้รัสเซียก็ไปขัดแย้งกับแผนของ
เยอรมนีที่ต้องการสร้างทางรถไฟจากเบอร์ลินไปยังแบกแดดและต่อออกไปจนถึงอ่าว
เปอร์เซีย ตุรกีนั้นอนุญาตให้เยอรมนีสร้างได้แต่ส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ก็ยังต้องผ่าน
เซอร์เบียอยู่ดี ดังนั้นเยอรมนีจึงต้องยืนยันแข็งขันไม่ให้ชาวสลาฟรวมตัว
สงครามบอลข่าน
• เยอรมนีและฝรั่งเศสเพิ่มกาลังทหารบกของตนเอง
ส่วนอังกฤษรัฐสภาก็ออกเสียงเพิ่มงบประมาณ
มหาศาลแก่กองทัพเรือของตนเอง เยอรมนีและตุรกีตก
ลงให้นายเยอรมนีเข้าฝึกวิชาทหารให้แก่กองทัพตุรกี มี
ข้อตกลงอีกว่าเมื่อฝึกเสร็จแล้วก็จะให้ทหารเหล่านั้น
อยู่ใต้การบังคับบัญชาการของนายทหารเยอรมนี
แม้แต่เบลเยียมก็นาเอาวิธีการเกณฑ์พลเมืองเข้ามาเป็น
ทหารแบบเยอรมนีมาใช้
สรุปเหตุ
การณ์
ที่เกิด
ขึ้น
ใน
ศตวรรษ
ที่ 20
วิกฤติการณ์ เกี่ยวข้องกับ ผล
วิกฤติการณ์ด้านโมร็อกโก
ครั้งแรก 1905
เยอรมนีกับ
ฝรั่งเศส
เยอรมนีคุกคามจะครอบครองโมร็อกโก ซึ่งฝรั่งเศสมีอานาจอยู่
Algeciras Conference ในการประชุม อังกฤษ
สนับสนุนฝรั่งเศสทาให้ฝรั่งเศสมีชัย
วิกฤติการด้านบอนข่านครั้ง
แรก 1908
(วิกฤตการณ์บอสเนีย)
รัสเซีย กับ
ออสเตรีย
ถือโอกาสที่เกิดการปฏิวัติออสเตรียได้รวมบอสเนีย
เฮอร์เซโกวินา เข้ากับตนทั้ง ๆที่ถูกขัดขวางจากเซอร์เบีย รัสเซีย
สนับสนุนเซอร์เบีย ส่วนเยอรมนีสนับสนุนออสเตรีย ส่วน
รัสเซียจึงต้องยอมเงียบ นับว่าเป็นชัยชนะของ Triple
วิกฤติการณ์ด้าน
โมร็อกโกครั้งที่ 2
1911
เยอรมนี กับ
ฝรั่งเศส
เมื่อฝรั่งเศสส่งกองทัพเข้าในโมร็อกโกเพื่อสมทบกาลังให้
เข้มแข็ง เยอรมนีส่งเรือรบไปยิงกาดีร์ การคุกคามนี้ทาให้อังกฤษ
สนับสนุนฝรั่งเศสเยอรมนีได้ดินแดนบางส่วนในแอฟริกายาก
ฝรั่งเศสตอบแทนการยอมรับอานาจของฝรั่งเศสเหนือโมร็อกโก
นับว่าเป็นชัยชนะของ Triple Entente
วิกฤติการณ์บอลข่าน
ครั้งที่ 2 1912 –
1913 (สงครามบอลข่าน)
รัสเซีย ออสเตรีย
กับ ประเทศในกลุ่ม
บอลข่าน
ประเทศในคาบสมุทรบอลข่าน ทาสงครามกับตุรกีเรื่องสิทธิ
พรมแดน ในการประชุมระหว่างชาติเพื่อตกลงปัญหานี้ การบีบ
บังคับของออสเตรีย ทาให้เกิดประเทศใหม่ คือ อัลบาเนีย ซึ่ง
ขวางกั้นเซอร์เบียไม่ให้ออกทะเลได้เซอร์เบียกับรัสเซีย
สนับสนุนกันมากขึ้นตุรกีกับบัลแกเรียเข้าร่วมในสัญญา
Triple ถือว่า Triple มีชัยชนะเหนือ Triple
Entente ในกรณีบอลข่าน
บรรณำนุกรม
ระพิน ทองระอา และคณะ(ผู้แปล) .สารานุกรมประวัติศาสตร์โลก เล่มที่ 10 โลกยุคใหม่ ค.ศ.1950-2000. กรุงเทพมหานคร:
บริษัทฟาร์อีสต์พับลิเกชั่นจากัด, 2545.
ราชบัณฑิตสถาน. สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: ยุโรป เล่ม 1 อักษร A-B.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
ราชบัณฑิตยสถาน,2542.
ทองหล่อ วงษ์ธรรมา.เหตุการร์โลกปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร:โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์,2550.
นันทนา กปิลกาญจน์. ประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลกสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: โอเดียสโตร์,2546.
วิกฤตในศตวรรษที่20. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://pi-nu.blogspot.com/2013/03/triple-entente-
triple-alliance.htm ( 24/04/59)
สรุปผลสงครำมโลก.(ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : https://www.gotoknow.org (24/04/59)
วิกฤตโมร็อกโค2.(ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : http://historysaranaru.blogspot.com (24/04/59)
สงครำมบอลข่ำน1.(ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : http://historysaranaru.blogspot.com (24/04/59)
สงครำมบอลข่ำน2. (ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : http://historysaranaru.blogspot.com/ (24/04/59)
วิกฤตกำรณ์บอสเนีย. (ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : http://www.myfirstbrain.com/student (24/04/59)
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20

More Related Content

What's hot

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ศิลปะ หรือ ศิลป์
ศิลปะ หรือ ศิลป์ศิลปะ หรือ ศิลป์
ศิลปะ หรือ ศิลป์Koonsombat Narinruk
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.rubtumproject.com
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกPikaya
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 

What's hot (20)

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ศิลปะ หรือ ศิลป์
ศิลปะ หรือ ศิลป์ศิลปะ หรือ ศิลป์
ศิลปะ หรือ ศิลป์
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 

Similar to วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20

แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Natsima Chaisuttipat
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Moomy Momay
 
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาการวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาPrachyanun Nilsook
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มMoomy Momay
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1Moo Mild
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1Moo Mild
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Lynnie1177
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวาแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวาMoomy Momay
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างcartoon656
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_nnnsb
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554macnetic
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 
Projectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอมProjectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอมsupamatinthong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557Apple Siripassorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 

Similar to วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20 (20)

แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาการวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวาแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอมProjectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์_2557
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from mintra_duangsamorn

งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์mintra_duangsamorn
 
โครงร่างวิชาคอมพิวเตอร์
โครงร่างวิชาคอมพิวเตอร์โครงร่างวิชาคอมพิวเตอร์
โครงร่างวิชาคอมพิวเตอร์mintra_duangsamorn
 
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558mintra_duangsamorn
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์mintra_duangsamorn
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน mintra_duangsamorn
 

More from mintra_duangsamorn (9)

งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
 
โครงร่างวิชาคอมพิวเตอร์
โครงร่างวิชาคอมพิวเตอร์โครงร่างวิชาคอมพิวเตอร์
โครงร่างวิชาคอมพิวเตอร์
 
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Asean project
Asean projectAsean project
Asean project
 
ิใบานที่1
ิใบานที่1 ิใบานที่1
ิใบานที่1
 
6 13 b
6 13 b6 13 b
6 13 b
 

วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20

  • 1.
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง History of 20 th“ วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20 ”
  • 3. วิชาประวัติศาสตร์สากล เสนอ... คุณครู ธีรเทพ ซูข่า จัดทำโดย... นาย ปฏิพัทธ์ เสริมทา เลขที่ 15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/13 วิกฤตการณ์ บอสเนีย วิกฤตการณ์ บอลข่านวิกฤตการณ์ โมรอกโค
  • 5. โครงงาน History of 20th • เกี่ยวกับโครงงาน • ที่มาและความสาคัญ • วัตถุประสงค์ • ขอบเขตโครงงาน • หลักการและทฤษฏี • วิธีการดาเนินงาน • ผลที่คาดว่าจะได้รับ • แหล่งอ้างอิง
  • 6. โครงงานนี้นอกจากจะได้รับความรู้จากการสนใจที่จะศึกษา ข้อมูลเพิ่มเติมฝนวิชาประวัติศาสตร์สากลเกี่ยวกับความเป็นมาของ วิกฤตการณ์ต่างๆในศตวรรษที่ 20 แล้วยังถือเป็นการส่งเสริมการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาซึ่งปัจจุบันวัยรุ่นมักหมด เวลาไปเปล่าประโยชน์กับการใช้อินเทอร์เน็ตแต่มิได้ความรู้ใน การศึกษาแต่อย่างใด ดังนั้นการจัดทาโครงงานนี้จึงถือเป็นการรู้จัก ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์และรู้จักใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นสื่อ เพื่อการศึกษาอย่างถูกต้องและเผยแพร่ความรู้ได้อย่างเสรี ที่มาและความสาคัญ
  • 7. • 1. จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วน หนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ ง 33202 และวิชา ประวัติศาสตร์สากล วัตถุประสงค์
  • 12. • วิกฤตการณ์ทางการเมืองและสงครามก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 กล่าวได้ว่านับเป็นเวลา 10 ปี ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่1 นั้นใน ยุโรปได้เกิดวิกฤตการณ์ต่างๆอันเป็น ปัจจัยและล้วนแต่เป็นส่วนหนึ่งจองการสั่งสมและกลายเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1 แทบ ทั้งสิ้น นับแต่ปี 1904-1913 ภายใต้การพัฒนาทางการทหารลัทธิชาตินิยมและจักรวรรดินิยม ที่ครอบงา ไปทั่วทั้งยุโรป ทาให้ยุโรปต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ต่างๆระหว่างชาติที่ติดตามกันมาเรื่องแล้วเรื่องเล่า แต่กระนั้นคู่กรณีก็สามารถก้าวพ้นการเสื่อมเสียมาได้แทบทุกครั้งแต่กระนั้นด้วยแนวคิดชาตินิยมและ การปลูกฝังที่มีอย่างต่อเนื่องสู่รุ่นลูกรุ่นหลานก็ทาให้สั่งสมความเกลียดชังและขัดแย้งมาอย่างต่อเนื่อง ในจานวนวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นมาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่น่าสนใจและมีผลโดยตรงต่อความ ขัดแย้งมีดังนี้ หลักการและทฤษฏี
  • 13. • วิกฤตการณ์โมร็อกโก ค.ศ. 1905 และ ค.ศ. 1906 • วิกฤตการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นมาจากความขัดใจและขัดแย้งกันในเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ มีโมร็อกโกเป็นตัวกลาง และเป็นผู้ที่ต้องรับปัญหาโดยตรง • กล่าวคือ ในตอนต้นศตวรรษที่ 20 โมร็อกโกมีสถานะเป็นประเทศเอกราชโดยมีสุลต่าน ปกครอง ข้อดีของโมร็อกโกคือความอุดมสมบูรณ์ในแร่ธาตุและมีผลิตผลทางการเกษตรที่ดีกว่า หลายประเทศในแอฟริกาตอนเหนือ ด้วยข้อดีเช่นนี้เองจึงทาให้โมร็อกโกเข้าไปเป็นที่พึง ปรารถนาของยักษ์ใหญ่แห่งยุโรปในเวลานั้น • สิ่งสาคัญที่โมร็อกโกมีและเป็นที่หมายปองอย่างมากของยุโรปในเวลานั้นคือ โมร็อกโกมีบ่อ แร่เหล็กและแมงกานิส และโอกาสด้านการค้าต่างๆ อีกสองมหาอานาจแห่งยุโรปเวลานั้นคือ เยอรมนีและฝรั่งเศสประกาศตัวชัดเจนที่จะเข้าไปหาผลประโยชน์ที่โมร็อกโก เมื่อทั้งสองชาติมา ชิงดีชิงเด่นกันเช่นนั้นผลที่ออกมาก็คือไม่มีใครได้เปรียบและเสียเปรียบ หลักการและทฤษฏี
  • 14. แต่เมื่อถึงปี 1904 เมื่ออังกฤษได้ตกลงทาสนธิสัญญาฉันทไมตรีไตรมิตร อังกฤษ ฝรั่งเศสขึ้นมา ซึ่งในสนธิสัญญานี้มีข้อความตอนหนึ่งกาหนดเอาไว้ว่าให้ ฝรั่งเศสปฏิบัติกับโมร็อกโกได้ตามแต่ฝรั่งเศสจะปรารถนาซึ่งส่งผลกระทบกระเทือน ทางการฑูตต่อเยอรมนีโดยตรง ทั้งนี้เพราะเยอรมนีต้องการให้ชาติของตนเองมีส่วน ร่วมในการเจรจาด้วยหากมีการพูดคุยกันในเรื่องของปัญหาโมร็อกโก • ปลายปี 1904 นั่นเองฝรั่งเศสก็ได้ขอให้สุลต่านโมร็อกโกยอมให้ฝรั่งเศสเข้าไป ปรับปรุงด้านการทหารและการคลังซึ่งหากองค์สุลต่านยินยอมก็จะทาให้ฝรั่งเศสมี อานาจในโมร็อกโกเท่ากับที่เวลานั้นอังกฤษมีอานาจเหนืออียิปต์อยู่ก่อนแล้ว หลักการและทฤษฏี
  • 15. • รัฐบาลเยอรมนีวางเฉยในระยะแรก แต่อีกสองหรือสามเดือนต่อมาไกเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2 ของเยอรมนี เสด็จเยือนเมืองแทนเจียร์ของโมร็อกโกอย่างเป็นทางการใน เดือนมีนาคม 1905 อีกทั้งไกเซอร์ยังได้กล่าวสุนทรพจน์ยอมรับในเอกราชและ อธิปไตยของโมร็อกโก อีกทั้งในเวลานั้นกระทรวงการต่างประเทศของเยอรมนีก็ได้ เข้าขอร้องว่าหากจะมีการตกลงเกี่ยวกับอนาคตของโมร็อกโกแล้วก็ขอให้มีการเปิด การประชุมระหว่างชาติขึ้น หลักการและทฤษฏี
  • 16. • ผลที่เกิดขึ้นมานี้ทาให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ฝรั่งเศสในเวลานั้นโกรธอย่างมากึงกับยืนยันที่จะทาให้เกิดสงครามขึ้นกับ เยอรมนีให้ได้แต่เมื่อเจรจากับพันธมิตรของตนเองอย่างรุสเซีย ซึ่งเวลานั้น ยังไม่พร้อมจะไปออกรบกับใครได้เพราะกาลังติดพันในสงครามกับญี่ปุ่น อยู่ และเพิ่งจะพ่ายแพ้ญี่ปุ่นมา อีกทั้งเหตุการณ์ภายในประเทศของตนเองก็ ไม่น่าไว้วางใจนักขณะอังกฤษนั้นแม้ด้านการฑูตจะแสดงออกถึงการ สนับสนุนฝรั่งเศสอย่างเดิมทีแต่ก็ละเว้นการแสดงออกอย่างตรงไปตรงมาว่า จะเข้ามาช่วยเหลือฝรั่งเศสหรือไม่หากเกิดสงครามขึ้นมา • Theophile Delcasse รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศส ณ เวลานั้น หลักการและทฤษฏี
  • 17. สุดท้ายฝรั่งเศสจึงจาต้องยอมจานนต่อการกระทาของเยอรมนี ถึงขั้นที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศสต้องลาออกจากตาแหน่งและถือ ว่าเป็นความพ่ายแพ้ทางการฑูตที่หน้าอายของฝรั่งเศส แต่กระนั้นก็ใช่ว่าเยอรมนีจะ ได้รับชัยชนะ ทั้งนี้เพราะในการประชุมนานาชาติที่เยอรมนียืนยันให้จัดขึ้นที่เมืองอัล จาซีรา ในการลงคะแนนเสียงเยอรมนีพ่ายแพ้เกมการทูต โดยอิตาลีเข้าข้างฝรั่งเศส อย่างเต็มที่ทุกกรณี ส่งผลให้เยอรมนีสามารถทาได้ก็เพียงแค่ยืนยันให้โมร็อกโกเป็น เอกราชแต่เพียงในนามเท่านั้น อธิปไตยของสุลต่านหมดไป โมร็อกโกต้องเปิดประเทศให้ชาติต่างๆ เข้ามาค้าขายได้ โดยมีสิทธิเท่าเทียมกัน แต่ตามความเป็นจริงแล้ว ส่วนใหญ่จะมีเพียงฝรั่งเศสกับสเปน ที่ได้มีอานาจเข้ามาตรวจดูแลรักษาโมร็อกโกและการประชุมในครั้งนี้เองที่ทาให้ เยอรมนีเริ่มสงสัยและไม่ไว้วางใจอิตาลีรวมถึงประเทศในค่ายฉันทไมตรีไตรมิตร (Triple entente) และเป็นจุดเพิ่มพูนความกินแหนงแคลงใจ--- หลักการและทฤษฏี
  • 18. • ปรึกษากับสมาชิกเพื่อกาหนดหัวข้อในการทาโครงงาน • กาหนดขอบเขตเรื่องที่ต้องการศึกษาในการทาโครงงาน • ศึกษาค้นคว้าตามทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับภาษาอาเซียน • จัดทาโครงงาน • จัดทาเอกสารรายงาน • ตรวจสอบโครงงานผ่านครูที่ปรึกษาโครงงานและนาไปปรับปรุงส่วน ที่ต้องแก้ไข • นาเสนอโครงงาน ผ่านโปรแกรม Microsoft Power Point วิธีการดาเนินงาน
  • 19. • เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ • คอมพิวเตอร์ • อินเทอร์เน็ต • โปรแกรม Microsoft word 2010 • โปรแกรม Microsoft Power Point 2010 วิธีการดาเนินงาน
  • 20. วิธีการดาเนินงาน ลำดับ ที่ ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงำน / / ปฏิพัทธ์ 2 ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูล / / / / ปฏิพัทธ์ 3 จัดทำโครงร่ำงงำน / / ปฏิพัทธ์ 4 ปฏิบัติกำรสร้ำงโครงงำน / ปฏิพัทธ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ / / ปฏิพัทธ์ 6 กำรทำเอกสำรรำยงำน / / ปฏิพัทธ์ 7 ประเมินผลงำน / / ปฏิพัทธ์ 8 นำเสนอโครงงำน / / ปฏิพัทธ์
  • 21. สถานที่ดาเนินการ - โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย อ. เมือง จ. เชียงใหม่ • กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง • กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) • กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม วิธีการดาเนินงาน
  • 22. • ได้รับความรู้และความเข้าใจในเรื่องของวิกฤตการณ์ทางการเมือง และความเข้าใจด้านประวัติศาสตร์ของโลกและรู้จักบูรณาการผ่าน นามาใช้ในบางกรณี • สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการทาโครงงาน ผ่านโปรแกรม Microsoft Power Point เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้น • • ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • 24. • วิกฤตการณ์ทางการเมืองและสงครามก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 • กล่าวได้ว่านับเป็นเวลา 10 ปี ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 นั้นใน ยุโรปได้เกิด วิกฤตการณ์ต่างๆ อันเป็นปัจจัยและล้วนแต่เป็นส่วนหนึ่งจองการสั่งสมและกลายเป็น จุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1 แทบทั้งสิ้น • นับแต่ปี 1904-1913 ภายใต้การพัฒนาทางการทหาร ลัทธิชาตินิยมและจักรวรรดิ นิยม ที่ครอบงาไปทั่วทั้งยุโรป ทาให้ยุโรปต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ต่างๆ ระหว่างชาติ ที่ติดตามกันมาเรื่องแล้วเรื่องเล่า แต่กระนั้นคู่กรณีก็สามารถก้าวพ้นการเสื่อมเสียมาได้ แทบทุกครั้ง แต่กระนั้นด้วยแนวคิดชาตินิยมและการปลูกฝังที่มีอย่างต่อเนื่องสู่รุ่นลูก รุ่นหลานก็ทาให้สั่งสมความเกลียดชังและขัดแย้งมาอย่างต่อเนื่อง • ในจานวนวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นมาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่น่าสนใจและมีผล โดยตรงต่อความขัดแย้งมีดังนี้
  • 25. วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่1) • วิกฤตการณ์ โมร็อกโค คือ วิกฤติการณ์ที่คุกคามสันติภาพ มี ความเกี่ยวข้องกับเยอรมนีและ ฝรั่งเศส เกิดขึ้น ทั้งหมด 2 ครั้ง • 1. เกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1905 และ 1906 • 2. เกิดขึ้นครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1911 • ***ครั้งที่สองจะเกิดหลังวิกฤตการณ์ บอสเนีย ค.ศ. 1908-1909 ***
  • 26. วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่1) • วิกฤตการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นมาจากความขัดใจและขัดแย้งกันในเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ มีโมร็อกโกเป็นตัวกลางและเป็นผู้ที่ต้องรับปัญหาโดยตรง • กล่าวคือ ในตอนต้นศตวรรษที่ 20 โมร็อกโกมีสถานะเป็นประเทศเอกราชโดยมีสุลต่าน ปกครอง ข้อดีของโมร็อกโกคือความอุดมสมบูรณ์ในแร่ธาตุและมีผลิตผลทางการเกษตรที่ ดีกว่าหลายประเทศในแอฟริกาตอนเหนือด้วยข้อดีเช่นนี้เองจึงทาให้โมร็อกโกเข้าไปเป็นที่พึง ปรารถนาของยักษ์ใหญ่แห่งยุโรปในเวลานั้น • สิ่งสาคัญที่โมร็อกโกมีและเป็นที่หมายปองอย่างมากของยุโรปในเวลานั้นคือ โมร็อกโกมี บ่อแร่เหล็กและแมงกานิสและโอกาสด้านการค้าต่างๆ อีกสองมหาอานาจแห่งยุโรปเวลานั้น คือเยอรมนีและฝรั่งเศสประกาศตัวชัดเจนที่จะเข้าไปหาผลประโยชน์ที่โมร็อกโกเมื่อทั้งสอง ชาติมาชิงดีชิงเด่นกันเช่นนั้นผลที่ออกมาก็คือไม่มีใครได้เปรียบและเสียเปรียบ
  • 27. วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่1) แต่เมื่อถึงปี 1904 เมื่ออังกฤษได้ตกลงทาสนธิสัญญาฉันทไมตรี ไตรมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศสขึ้นมา ซึ่งในสนธิสัญญานี้มีข้อความตอนหนึ่ง กาหนดเอาไว้ว่าให้ฝรั่งเศสปฏิบัติกับโมร็อกโกได้ตามแต่ฝรั่งเศสจะ ปรารถนาซึ่งส่งผลกระทบกระเทือนทางการทูตต่อเยอรมนีโดยตรง ทั้งนี้เพราะเยอรมนีต้องการให้ชาติของตนเองมีส่วนร่วมในการเจรจา ด้วยหากมีการพูดคุยกันในเรื่องของปัญหาโมร็อกโก • ปลายปี 1904 นั่นเองฝรั่งเศสก็ได้ขอให้สุลต่านโมร็อกโกยอมให้ ฝรั่งเศสเข้าไปปรับปรุงด้านการทหารและการคลังซึ่งหากองค์สุลต่าน ยินยอมก็จะทาให้ฝรั่งเศสมีอานาจในโมร็อกโกเท่ากับที่เวลานั้นอังกฤษ มีอานาจเหนืออียิปต์อยู่ก่อนแล้ว
  • 28. • รัฐบาลเยอรมนีวางเฉยในระยะแรก แต่ อีกสองหรือสามเดือนต่อมาไกเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2 ของเยอรมนี เสด็จเยือนเมือง แทนเจียร์ของโมร็อกโกอย่างเป็นทางการ ในเดือนมีนาคม 1905 อีกทั้งไกเซอร์ยังได้ กล่าวสุนทรพจน์ยอมรับในเอกราชและ อธิปไตยของโมร็อกโก อีกทั้งในเวลานั้น กระทรวงการต่างประเทศของเยอรมนีก็ ได้เข้าขอร้องว่าหากจะมีการตกลงเกี่ยวกับ อนาคตของโมร็อกโกแล้วก็ขอให้มีการ เปิดการประชุมระหว่างชาติขึ้น
  • 29. ในเวลาต่อมาได้มีการประชุมนานาชาติที่เมืองอัลเจซิรัส ประเทศสเปนเพื่อแก้ปัญหาในโมร็อกโกโดยฝรั่งเศสมีอังกฤษ ให้การสนับสนุนและเยอรมนีได้รับการสนับสนุนจาก ออสเตรีย-ฮังการี ผลการประชุมดูเหมือนเยอรมนีจะเป็นฝ่าย ได้รับชัยชนะแต่ผลประโยชน์กลับตกอยู่กับฝรั่งเศส กล่าวคือ ที่ประชุมยอมรับว่าโมร็อกโกเป็นประเทศเอกราช แต่ต้องเปิด ประเทศติดต่อค้าคาย และให้สเปนกับฝรั่งเศสควบคุมตารวจใน โมร็อกโก โมร็อกโกจะต้องสร้างธนาคารแห่งชาติขึ้นอยู่ให้อยู่ ภายใต้การควบคุมดูแลของฝรั่งเศส อังกฤษ เยอรมนีและสเปน ผลที่ตามมาจากการประชุมคือความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ฝรั่งเศสและอังกฤษ อังกฤษสามารถตกลงทาความเข้าใจกับรัสเซียได้ส่งผล ให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ชาวเติร์กเพราะการทาข้อตกลง ดังกล่าวมีผลต่อความอยู่รอดของตุรกี ในอดีตตุรกีสามารถรักษา อานาจไว้ได้เพราะความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างอังกฤษและ รัสเซีย ดังนั้นเมืองประเทศทั้งสองตกลงกันได้กลุ่มยังเติร์ก จึง ก่อการปฏิวัติ
  • 30. • กลุ่มยังเติร์ก Young Turksเป็นขบวนการเสรีนิยมที่เคยถูกเนรเทศไปอยู่ ต่างประเทศมีจุดมุ่งหมายล้มการปกครองของสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 โดยวิการ ปฏิรูปและส่งเสริมการใช้รัฐธรรมนูญ กลุ่มยังเติร์กทาการติดต่อประสานงานกับ บรรดาชนกลุ่มน้อยชาตินิยมที่อาศัยอยุ่ในอาณาจักรตุรกีโดยเฉพาะที่มาซิโดเนีย และอาร์เมเนียให้มีโอกาศปกครองตนเอง • ความแตกแยกในกลุ่ม ยังเติร์ก 24 กรกฎาคม ค.ศ.1908 สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 ทรงยอมมอบอานาจให้แก่กลุ่มนายทหารและพระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ชาว เติร์ก รัฐสภาเปิดประชุมในปีเดียวกันแต่เกิดความขัดแย้งในรัฐสภาระหว่างกลุ่ม เติร์กหนุ่มเสรีนิยมดั้งเดิมที่เคยถูกเนรเทศและกลุ่มเติร์กนายทหารซึ่งมีนโยบาย ชาตินิยมรุนแรงซึ่งไม่ต้องการเห็นอาณาจักรตุรกีเกิดการแตกแยก • ทาให้เกิดการต่อต้านขบวนการชาตินิยมและต่อต้านการปกครองตนเองของพวก ชนกลุ่มน้อย หลังสงครามบอลข่านกลุ่มเติร์กนายทหารมีอานาจมากขึ้นเกิดมี ความสัมพันธ์อันดีระหว่างตุรกีกับเยอรมนี ถึงแม้กลุ่มเสรีนิยมจะนิยมอังกฤษกับ ฝรั่งเศส แต่ผู้นาฝ่ายทหารนิยมเยอมนี
  • 31. วิกฤตการณ์ โมร็อกโก (ครั้งที่1)ผลที่เกิดขึ้น ผลที่เกิดขึ้นมานี้ทาให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศของฝรั่งเศสในเวลานั้นโกรธอย่างมากึง กับยืนยันที่จะทาให้เกิดสงครามขึ้นกับเยอรมนีให้ได้ แต่เมื่อเจรจากับพันธมิตรของตนเองอย่างรุสเซีย ซึ่ง เวลานั้นยังไม่พร้อมจะไปออกรบกับใครได้เพราะกาลัง ติดพันในสงครามกับญี่ปุ่นอยู่และเพิ่งจะพ่ายแพ้ญี่ปุ่น มา อีกทั้งเหตุการณ์ภายในประเทศของตนเองก็ไม่น่า ไว้วางใจนักขณะอังกฤษนั้นแม้ด้านการทูตจะ แสดงออกถึงการสนับสนุนฝรั่งเศสอย่างเดิมทีแต่ก็ละ เว้นการแสดงออกอย่างตรงไปตรงมาว่าจะเข้ามา ช่วยเหลือฝรั่งเศสหรือไม่หากเกิดสงครามขึ้นมา • Theophile Delcasse รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศส ณ เวลานั้น
  • 32. สุดท้ายฝรั่งเศสจึงจาต้องยอมจานนต่อการกระทาของเยอรมนี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศสต้องลาออกจากตาแหน่งและ ถือว่าเป็นความพ่ายแพ้ทางการทูตของฝรั่งเศส แต่ถึงอย่างไรก็ใช่ว่าเยอรมนีจะ ได้รับชัยชนะ • เพราะในการประชุมนานาชาติที่เยอรมนียืนยันให้จัดขึ้นที่เมือง อัลจาซีรา ในการ ลงคะแนนเสียงเยอรมนีพ่ายแพ้เกมการทูต โดยอิตาลีเข้าข้างฝรั่งเศสอย่างเต็มที่ทุก กรณี ส่งผลให้เยอรมนีสามารถทาได้ก็เพียงแค่ยืนยันให้โมร็อกโกเป็นเอกราชแต่ เพียงในนามเท่านั้น • อธิปไตยของสุลต่านหมดไป โมร็อกโกต้องเปิดประเทศให้ชาติต่างๆ เข้ามา ค้าขายได้โดยมีสิทธิเท่าเทียมกัน แต่ตามความเป็นจริงแล้ว ส่วนใหญ่จะมีเพียง ฝรั่งเศสกับสเปนที่ได้มีอานาจเข้ามาตรวจดูแลรักษาโมร็อกโกและการประชุมใน ครั้งนี้เองที่ทาให้เยอรมนีเริ่มสงสัยและไม่ไว้วางใจอิตาลีรวมถึงประเทศในค่าย ฉันทไมตรีไตรมิตร(Triple entente)
  • 33. • หากจะกล่าวถึงดินแดนที่น่าจะเป็นปัญหามาก ที่สุดในช่วงเวลาก่อนสงครามโลกครั้ง ที่ 1 แล้วคาบสมุทรบอลข่านน่าจะเป็น ดินแดนส่วนที่ว่านี้ ด้วยว่าที่ตั้งที่อยู่ระหว่าง มหาอานาจและความเคลื่อนไหวไปจนถึงการ เคลื่อนไหวของกลุ่มชนที่หลากหลาย ทาให้ เกิดเป็นแผ่นดินส่วนที่สร้างปัญหาต่อเนื่อง • ตามข้อตกลงในที่ประชุมคองเกรสแห่ง เบอร์ลิน ค.ศ. 1878 บอสเนียและ เฮอร์เซโกวินา ต้องอยู่ภายใต้การตรวจตรา ดูแลรักษาของออสเตรีย-ฮังการี ทั้งที่แท้จริง แล้วทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่างยอมรับว่าดินแดน ทั้งสองรัฐนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิ ออโตมัน แต่ก็เป็นเพียงในนามเท่านั้น วิกฤตการณ์ บอสเนีย
  • 34. วิกฤตการณ์ บอสเนีย ตอนบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา • วิกฤตการณ์บอสเนีย ปี ค.ศ. 1908-1909 จากข้อตกลงสนธิสัญญาเบอร์ลินในปี78 บอสเนียและเฮอร์เซกวินาได้กลายเป็นดินแดนที่ อยู่ภายใต้การปกครองของออสเตรีย-ฮังการีแต่ก็ยังคงมีสถานภาพเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของ อาณาจักรตุรกี ออสเตรีย-ฮังการีพยายามที่จะกาจัดอิทธิพลของตุรกีออกจากดินแดนส่วนนี้ • เมื่อตุรกีตกอยู่ภายใต้การปกครองของกลุ่มนายทหารซึ่งมีนโยบายชาตินิยมรุนแรงออสเตรีย- ฮังการีเกรงว่าจะเกิดผลต่อการปกครองภายในบอสเนียจึงเตรียมแผนการผนวกดินแดนทั้งสอง เข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรออสเตรีย-อังการี • ซึ่งในขณะเดียวกันรัสเซียซึ่งเกรงว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครองในตุรกีจะส่งผลมาถึงรัสเซีย จึงหาทางหาทางทาความตกลงกับออสเตรีย-ฮังการีโดยรัสเซียจะให้การสนับสนุนในการ ผนวกบอสเนียโดยทางออสเตรีย-ฮังการีจะให้การสนับสนุนรัสเซีย
  • 35. วิกฤตการณ์ บอสเนีย ในวันที่ 5 ตุลาคม 1908 บัลแกเรียได้ประกาศเอกราชแยกตัวออกจากตุรกี ในวันที่ 7 เดือน เดียวกันออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศผนวกบอสเนียและเฮอร์ซโวนาเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร จึงเท่ากับเป็นการละเมิดสนธิสัญญาเบอร์ลินผลให้อังกฤษเกิดความไม่พอใจจึงให้การสนับสนุน รัสเซียแต่รัสเซียกลับขอให้อังกฤษเปิดช่องแคบให้เรื่อรบรัสเซียผ่านจึงทาให้อังกฤษไม่พอใจ ในขณะที่ฝรั่งเศสก็ไม่พอใจรัสเซียเช่นกัน ซึ่งเป็นพันธมิตรแต่กลับทาสัญญากับออสเตรีย-ฮังการี โดยที่ทางฝรั่งเศสไม่รู้ ซึ่งในที่สุดก็สามารสผนวกบอสเนียได้สาเร็จในขณะที่รัสเซียไม่ได้อะไรเป็น การตอบแทน เยอรมนีขานรับการรวบบอสเนียเข้ากับออสเตรีย-บัลแกเรียและขู่รัสเซียในสนับสนุนและพร้อม จะทาสงครามกับรัสเซียหากไม่สนับสนุน รัสเซียจึงต้องยอมรับรองการกระทาของออสเตรีย-ฮังการี ผลจากวิกฤตครั้งนี้ ถือเป็นชัยชนะของกลุ่มไตรภาคีที่มีต่อไตรพันธมิตร หลังจากที่เคยพ่ายแพ้ จากวิกฤตโมร็อกโก จึงไม่มีฝ่ายใดได้เปรียบเสียเปรียบกัน แต่การแข่งขันที่เกิดได้ก่อให้เกิดความ ตรึงเครียดในการเมืองระหว่างประเทศในยุโรป
  • 36. • การที่ออสเตรียเข้าควบรวมสองมณฑลนั้นทาให้เซอร์เบียโกรธแค้นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะเซอร์เบียนั้นต้องการรวมชาติสลาฟและประชากรส่วนใหญ่ใน มณฑลทั้งสองนี้ก็เป็นชาวสลาฟ เซอร์เบียหวังเอาไว้ว่าหากสามารถรวม ประเทศได้แล้วก็จะส่งผลให้เซอร์เบียกลายเป็นประเทศที่ยิ่งใหญ่กว่าเดิม • ผลของความโกรธในครั้งนี้ทาให้ออสเตรีย-ฮังการี กับเซอร์เบียต้องตั้ง ประจันหน้ากันเกือบเกิดการปะทะกันเป็นเวลาหลายเดือน แต่หลังจากติดต่อ และเจรจาพันธมิตรกันแล้วสุดท้ายเซอร์เบียก็จาต้องผ่อนท่าทีลง ทั้งนี้เพราะ รุสเซียสนับสนุนนโยบายรวมชาติสลาฟ • แต่ปรากฏว่าด้วยปัญหาของรุสเซียที่มีอยู่ทาให้นอกจากไม่พร้อมที่จะทา สงครามแล้ว รัสเซียยังเชื่อว่าเยอรมนีก็จะต้องเข้าข้างออสเตรีย-ฮังการีอย่าง แน่นอน ดังนั้นรัสเซียจึงจาต้องขอยอมจานนก่อน สุดท้ายผลของวิกฤตการณ์ ที่เกิดขึ้นนี้ทาให้ออสเตรีย-ฮังการี และเยอรมนีได้รับชัยชนะทางการทูต
  • 37. • แม้ปัญหาโมร็อกโกจะถูกแก้ไขไปบ้างแล้วก่อนหน้านั้น(วิกฤตการณ์ โมร็อกโกครั้งที่ 1 1905-1906) แต่ก็ดูเหมือนว่าความลงเอยยังไม่สิ้นสุด ฝรั่งเศสยังมีความพยายามที่จะผนวกดินแดนโมร็อกโกให้ได้ใน ปี 1911 บังเอิญเกิดเรื่องภายในโมร็อกโก เมื่อชาวพื้นเมืองได้ลุกขึ้นมาก ก่อการกบฏต่อฝรั่งเศสที่เวลานั้นมีอานาจอยู่ในนครเฟซทาให้ฝรั่งเศสใช้ กาลังเข้ายึดนครเฟซเอาไว้ได้ในปลายปีนั้นเอง ด้วยการยกข้ออ้างว่าที่ ตัวเองเข้าไปนั้นเพื่อคุ้มครององค์สุลต่านรักษาความสงบ และพิทักษ์ รักษาความปลอดภัยให้กับชาวต่างชาติ วิกฤตกำรณ์โมร็อกโก (ครั้งที่ 2)
  • 38. วิกฤตกำรณ์โมร็อกโก (ครั้งที่ 2) ปีค.ศ. 1908 สุลต่านอับเดล อาชิสที่ 4 ถูกโค่นอานาจอับเดล ฮาฟิช ผู้เป็น อนุชา สุลต่านองค์ใหม่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชนจึงเกิดความวุ่นวายเรื่อยมา สุลต่านจึงขอความช่วยเหลือไปยังฝรั่งเศส ฝรั่งเศสจึงส่งเรือรบไปยังเมืองเฟซ เมือง หลวงโมร็อกโก เยอรมนีตอบโต้ฝรั่งเศสโดยการกล่าวหาฝรั่งเศสละเมิดข้อตกลง อัลเจซิรส ต่อมาเยอรมนีส่งเรือของตนเข้าไปยังเมือท่าอากาเดียร์ ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่ง มหาสมุทรแอตแลนติกโมร็อกโกโดยอ้างว่าเพื่อพิทักษ์ผลประโยชน์ของชาวเยอรมนี ในโมร็อกโก ส่งผลให้อังกฤษไม่พอกับการกระทาของเยอรมนี อังกฤษคิดว่า เยอรมนีมีจุดประสงค์จะตั้งฐานทัพเรือบนชายฝั่งของโมร็อกโก อังกฤษกล่าวว่าทาง ฝ่ายอังกฤษจะต้องรับทราบก่อนที่จะมีการตัดสินใจทาสิ่งใดลงไปในโมร็อกโก ความสัมพันธ์ของอังกฤษกับเยอรมันกาลังอยู่ในภาวะตึงเครียด
  • 39. วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่2) • เมื่อเยอรมันเห็นท่าทีอันแข็งกร้าวของอังกฤษจึงหัน มาเจรจากับฝรั่งเศส • ในขณะที่เกิดวิกฤตฯการนั้นอิตาลีถือโอกาสเข้า รุกรานทริโปลี(ลิเบีย)ซึ่งเป็นดินแดนในอาณัติของตุรกี โดยอิตาลีได้รับการยินยอมจากฝรั่งเศสซึ่งเป็นผลจาก อังกฤษและอิตาลียอมรับการเข้าไปแสวงหา ผลประโยชน์ของฝรั่งเศสในโมร็อกโกในขณะที่ก่อน หน้านี้อังกฤษได้รับการยอมรับจากฝรั่งเศสในการเข้า ไปแสวงหาประโยชน์ในอียิปต์ การที่ฝรั่งเศสสามารถสร้างข้อผูกมัดกับทั้งอังกฤษ และอิตาลีจึงทาให้ฝรั่งเศสสามารถดาเนินนโยบาย ต่างประเทศให้เป็นประโยชน์ต่อฝรั่งเศสเอง
  • 40. • ตุรกีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และยอมยกทริโปลีให้อิตาลี ตาม สนธิสัญญาโลซานน์ ในขณะเดียวกันรัสเซียไดแสดงท่าทีที่จะผนวกเตหะราน อังกฤษเกิด ความไม่พอใจ ฝ่ายฝรั่งเศสเกรงว่าท่าทีของรัสเซียจะเป็นการทาลาย ความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับอังกฤษจึงเข้าแทรกแซงจนทาให้รัสเซีย ต้องเลิกล้มแผนการนี้ไป แต่หันไปเรียกร้องขอเดินทางเข้าออกบริเวณ ช่องแคบได้อย่างเสรีจากตุรกี ซึ่งตุรกีได้รับการยืนยันจากทั้งอังกฤษและ ฝรั่งเศสว่าไมได้ให้การสนับสนุนในเรื่องดังกล่าว ตุรกีจึงปฏิเสธ ผลจาก เหตุการณ์นี้จึงทาให้ตุรกีต้องหันเข้าหาเยอรมนีมากยิ่งขึ้นโดยหวังว่าจะ ได้เยอรมนีมาเป็นพันธมิตรในกรณีที่ตุรกีถูกคุกคามจากมหาอานาจ วิกฤตกำรณ์โมร็อกโก (ครั้งที่ 2)
  • 41. วิกฤตการณ์ โมร็อกโค (ครั้งที่2) เหตุการณ์ครั้งนี้ก่อความหวั่นไหวไปทั่วทุกชาติ ทั่วในยุโรป ทั้งนี้เพราะทุกชาติต่างรู้ดีว่าฝรั่งเศสนั้น หวังที่ยึดครองโมร็อกโก โดยหวังเปลี่ยนให้ โมร็อกโกกลายเป็นประเทศในอารักขาของตนเองอยู่ แล้ว เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่อจากนี้จึงเริ่มกลับมาซ้า รอยเดิม กล่าวคือเยอรมนีลุกขึ้นมาขัดขวางเป็นราย แรก โดยการจัดส่งเรือปืนชื่อแพนเธอร์ เข้าไป ทอดสมออยู่ที่อ่าวหน้าเมืองอาร์กาดีร์ทางฝั่ง ตะวันตกของโมร็อกโก กลายเป็นการตั้งประจันหน้า กัน สร้างความหวั่นไหวไปทั่วว่าสงครามจะต้อง เกิดขึ้นอย่างแน่นอน เรือแพนเธอร์ที่เยอรมนีส่ง มำให้มำประจันหน้ำกับ ฝรั่งเศส 1911 ที่โมร็อกโก
  • 42. วิกฤตกำรณ์ โมรอกโค (ครั้งที่2) • ครั้งนี้ฝรั่งเศสมั่นใจว่าอังกฤษจะต้องเข้าร่วม ช่วยเหลืออย่างแน่นอน ซึ่งเห็นได้อย่างชัดเจนที่ อังกฤษยื่นเรื่องให้เยอรมนีถอนเรือปืนออกไปและ แสดงท่าทีชัดเจนว่าอยู่ข้างฝรั่งเศส • ปรากฏว่าสุดท้ายเยอรมนีไม่อยากสู้รบกับ อังกฤษและฝรั่งเศส จาต้องยอมตกลงให้ฝรั่งเศสเข้า ไปเป็นอารัฐอารักชาโมร็อกโก โดยให้มีเงื่อนไขว่า ฝรั่งเศสต้องยอมดาเนินนโยบาย “เปิดประตู การค้า” ที่โมร็อกโกเพื่อชดใช้ และฝรั่งเศสต้อง ยอมยกดินแดนป่าเขาในคองโกของฝรั่งเศสซึ่งมี เนื้อที่100,000 ตารางไมล์ให้แก่เยอรมนี ภำพ:ปืนใหญ่ฝรั่งเศสที่ ประจันหน้ำกับเรือ แพนเธอร์ของเยอรมนี
  • 43. วิกฤตการณ์ โมร็อกโก (ครั้งที่2) • แม้สงครามจะไม่เกิดขึ้นและวิกฤตการณ์ผ่านพ้นไปได้แต่กระนั้นเหตุการณ์ ครั้งนี้ก็กลายเป็นสิ่งที่ค้างใจทั้งเยอรมนีและฝรั่งเศสทั้งสองเกิดความรู้สึกเป็น ปฏิปักษ์รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ค่ายฉันทไมตรีไตรมิตรและค่ายพันไมตรีไตรมิตร เริ่มแข่งขันกันรุนแรงมากยิ่งขึ้น จนทุกคนในโลกในเวลานั้นเริ่มตั้งคาถาม และพูดคุยกันแล้วว่าสงครามใหญ่จะต้องเกิดขึ้นมาแน่ แต่ไม่รู้ว่าเมื่อไรและ เริ่มขึ้นที่ไหนก่อนเท่านั้นเอง
  • 44. สงครามบอลข่าน • สงครามบอลข่าน ค.ศ.1912 – 1913 • **สงครามบอลข่าน (วิกฤตบอลข่าน) มีทั้งหมดสองครั้ง ครั้งที่แรกค.ศ.1908** ย้อนกลับไปยังสงครามบอลข่านครั้งที่ผ่านมาก่อนผลของสงครามครั้งนั้นทาให้เซอร์เบียกับ ออสเตรียบาดหมางกันอย่างมาก ทั้งยังเป็นผลกระตุ้นให้อิตาลีหันไปทาสัญญากับรัสเซียเพื่อ ต่อต้านออสเตรีย– ฮังการี ทั้งนี้ก็เพื่อกันไม่ให้ออสเตรีย – ฮังการี ขยายอิทธิพลเข้าไปบอลข่าน อีก ซึ่งการลงนามสัญญานี้เกิดขึ้นในปี1909 ก่อนที่อิตาลีทาสงครามกับตุรกี • ค.ศ. 1911 อิตาลีทาสงครามกับตุรกีกรณียึดทริโปลี พร้อมกันนั้นรุสเซียก็ได้เข้าไปเกลี่ยวกล่อม บัลแกเรียประเทศซึ่งถือเป็นศัตรูโดยตรงของเซอร์เบียให้หันมาจับมือร่วมกันกับเซอร์เบียจนก่อ เกิดสัญญาลับขึ้นมาเพื่อร่วมกันโจมตีตุรกีในปี 1912 ซึ่งมีข้อตกลงในสัญญาลับนั้นว่า หากทา สงครามกับตุรกีจนได้รับชัยชนะแล้วบัลแกเรียจะได้ดินแดนส่วนใหญ่ของมาซิโดเนียซึ่งขณะนั้น เป็นของตุรกีอยู่ฝ่ายเซอร์เบียก็จะได้ดินแดนมาซิโดเนียส่วนที่เหลือจากบัลแกเรียรวมถึง ได้อัลเบเนียตอนที่ติดกับฝั่งทะเลอาเดรียติก
  • 45. สงครามบอลข่าน • ผลของการรวมกลุ่มกันครั้งนี้ยังทาให้กรีซและมอนเตเนโกรกระโดดมาเข้าร่วม จับมือด้วย กลายเป็นกลุ่มประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่าน เรียกกันว่ากลุ่มสันนิบาตบอล ข่าน โดยชาวประเทศกลุ่มนี้มีเป้าหมายคือปลดปล่อยชาวสลาฟซึ่งถือว่าเป็นพวกเดียวกัน กับตนเองให้หลุดพ้นจากอานาจการปกครองของมุสลิมของตุรกี • ตุรกีกาลังเดือดร้อนกับการทาสงครามกับอิตาลีอยู่ก็โดนโจมตีซ้าอีกจากการปล่อยข่าว กล่าวหาว่า ตุรกีได้บีบคั้นชาวคริสต์ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของตุรกีแถบมาซิโดเนียแล้ว วันที่ 21 ตุลาคม 1912 กลุ่มสันนิบาตบอลติกก็ประกาศสงครามกับตุรกี ทาให้ตุรกีต้องรีบ ปิดฉากปัญหาของตนเองในแอฟริกากับอิตาลีแล้วเร่งกลับมาตั้งรับทัพสันนิบาตบอลข่าน • กรีซส่งกองกาลังเข้ามารุกมาซิโดเนียและเทรซ ขณะที่บัลแกเรียก็ส่งกาลังเข้าล้อม เมืองปราการสาคัญคือเอเดรียโนเปิลซ้ายังรุกไล่กองทหารของตุรกีไปจนเกือบถึงกรุง คอนสแตนติโนเปิล ด้านเซอร์เบียก็กาลังเข้าตียึดบริเวณลุ่มแม่น้าวาดาร์ได้ได้รับชัยชนะ เรื่อยไปจนได้อัลเบเนียตอนเหนือ
  • 46. สงครามบอลข่าน • กล่าวได้ว่าเวลานั้นสันนิบาตบอลข่านสามารถเข้ายึดดินแดนของตุรกีในส่วนที่ อยู่ในทวีปยุโรปไว้ได้เกือบหมด • สงครามครั้งนี้ไม่เพียงแค่ทาให้ตุรกีลาบากเท่านั้น ในยุโรปก็เกิดปัญหาตามมา โดยมีจุดปัญหามาจากความเป็นศัตรูของออสเตรีย – ฮังการีกับเซอร์เบีย ซึ่งการที่ เซอร์เบียเข้าทาสงครามในครั้งนี้ก็เพื่อให้ได้อัลเบียเพื่อไว้ใช้เป็นทางออกทะเล แต่เดิม นั้นเซอร์เบียหวังจะยกไปยึดเอาบอสเนียแต่ปรากฏว่าถูกออสเตรีย – ฮังการี กันท่า และยึดได้ก่อนในปี1908 และครั้งนี้ก็เช่นกัน ออสเตรีย – อังการี ก็พยายามกันท่า ไม่ให้เซอร์เบียได้อัลเบเนีย ขณะที่อิตาลีซึ่งเวลานั้นก็คิดเช่นกันว่าไม่อยากให้ เซอร์เบียยิ่งใหญ่จนสามารถมาแข่งขันกับตนเองแถบทะเลเอเดรียติก ดังนั้นในเวลา ต่อมาจึงมีการสถาปนาอัลเบเนียของตุรกีเดิมขึ้นเป็นประเทศเอกราชมีกษัตริย์ ปกครอง
  • 47. สงครามบอลข่าน • ค.ศ.1913 เมื่อเซอร์เบียบถูกออสเตรีย – ฮังการี และอิตาลีกันท่าในอัลเบเนียแล้ว ดังนั้นเซอร์เบียจึงหันไปขอส่วนแบ่งในมาซิโดเนียจากบัลแกเรียเพิ่ม บัลแกเรียก็รีบ ออกมาปฏิเสธ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และตุรกี ร่วมรบกับฝ่ายของเซอร์เบียกับกรีซ การที่ตุรกี เข้ามาร่วมด้วยก็เพราะตุรกีหวังว่าหากเป็นไปได้ตนเองอาจจะได้รับดินแดนทางแคว้น เทรซซึ่งก่อนหน้านี้บัลแกเรียแย่งไป • สงครามครั้งนี้การสู้รบกันอย่างหนัก จนสุดท้ายบัลแกเรียสู้ไม่ไหว ต้องยอมแพ้ และยอมรับเงื่อนไขในสนธิสัญญาบูคาเรสต์ เมื่อเดือนสิงหาคม 1913 โดนเนื้อหาตาม สนธิสัญญานี้มีว่า บัลแกเรียจะได้รับส่วนแบ่งในดินแดนมาซิโดเนียน้อยลงกว่าที่ได้ตก ลงไว้เดิมมาก และเซอร์เบียก็จะได้ดินแดนทางมาซิโดเนียมากกว่าบัลแกเรียซึ่งก็ทาให้ เซอร์เบียใหญ่โตขึ้นกว่าเดิม
  • 48. สงครามบอลข่าน • สงครามที่เกิดขึ้น เป็นตัวจุดประกายของสงครามใหญ่ แม้วิกฤตการณ์จะผ่านพ้นไป แล้วแต่ว่าหลังสิ้นสงครามบอลข่านภัยแห่งสงครามได้แผ่เข้าครอบงาทวีปยุโรปเป็นวง กว้างมากยิ่งขึ้น แม้สงครามการต่อสู้บนคาบสมุทรบอลข่านจะยุติลงแล้ว • บัลแกเรียต้องการแก้แค้นเซอร์เบีย ส่วนเซอร์เบียเมื่อได้ดินแดนมาเพิ่มจนประเทศ ตนเองใหญ่โตขึ้นเป็นสองเท่าก็จะสร้าง “มหาอาณาจักรเซอร์เบีย” โดยมองรวมเอา ดินแดนซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของชาวสลาฟจากจักรวรรดิออสเตรีย – ฮังการี มาไว้เป็นของ ตน โดยรัสเซียก็สนับสนุนอย่างเต็มที่ ซึ่งแผนการนี้รัสเซียก็ไปขัดแย้งกับแผนของ เยอรมนีที่ต้องการสร้างทางรถไฟจากเบอร์ลินไปยังแบกแดดและต่อออกไปจนถึงอ่าว เปอร์เซีย ตุรกีนั้นอนุญาตให้เยอรมนีสร้างได้แต่ส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ก็ยังต้องผ่าน เซอร์เบียอยู่ดี ดังนั้นเยอรมนีจึงต้องยืนยันแข็งขันไม่ให้ชาวสลาฟรวมตัว
  • 49. สงครามบอลข่าน • เยอรมนีและฝรั่งเศสเพิ่มกาลังทหารบกของตนเอง ส่วนอังกฤษรัฐสภาก็ออกเสียงเพิ่มงบประมาณ มหาศาลแก่กองทัพเรือของตนเอง เยอรมนีและตุรกีตก ลงให้นายเยอรมนีเข้าฝึกวิชาทหารให้แก่กองทัพตุรกี มี ข้อตกลงอีกว่าเมื่อฝึกเสร็จแล้วก็จะให้ทหารเหล่านั้น อยู่ใต้การบังคับบัญชาการของนายทหารเยอรมนี แม้แต่เบลเยียมก็นาเอาวิธีการเกณฑ์พลเมืองเข้ามาเป็น ทหารแบบเยอรมนีมาใช้
  • 50. สรุปเหตุ การณ์ ที่เกิด ขึ้น ใน ศตวรรษ ที่ 20 วิกฤติการณ์ เกี่ยวข้องกับ ผล วิกฤติการณ์ด้านโมร็อกโก ครั้งแรก 1905 เยอรมนีกับ ฝรั่งเศส เยอรมนีคุกคามจะครอบครองโมร็อกโก ซึ่งฝรั่งเศสมีอานาจอยู่ Algeciras Conference ในการประชุม อังกฤษ สนับสนุนฝรั่งเศสทาให้ฝรั่งเศสมีชัย วิกฤติการด้านบอนข่านครั้ง แรก 1908 (วิกฤตการณ์บอสเนีย) รัสเซีย กับ ออสเตรีย ถือโอกาสที่เกิดการปฏิวัติออสเตรียได้รวมบอสเนีย เฮอร์เซโกวินา เข้ากับตนทั้ง ๆที่ถูกขัดขวางจากเซอร์เบีย รัสเซีย สนับสนุนเซอร์เบีย ส่วนเยอรมนีสนับสนุนออสเตรีย ส่วน รัสเซียจึงต้องยอมเงียบ นับว่าเป็นชัยชนะของ Triple วิกฤติการณ์ด้าน โมร็อกโกครั้งที่ 2 1911 เยอรมนี กับ ฝรั่งเศส เมื่อฝรั่งเศสส่งกองทัพเข้าในโมร็อกโกเพื่อสมทบกาลังให้ เข้มแข็ง เยอรมนีส่งเรือรบไปยิงกาดีร์ การคุกคามนี้ทาให้อังกฤษ สนับสนุนฝรั่งเศสเยอรมนีได้ดินแดนบางส่วนในแอฟริกายาก ฝรั่งเศสตอบแทนการยอมรับอานาจของฝรั่งเศสเหนือโมร็อกโก นับว่าเป็นชัยชนะของ Triple Entente วิกฤติการณ์บอลข่าน ครั้งที่ 2 1912 – 1913 (สงครามบอลข่าน) รัสเซีย ออสเตรีย กับ ประเทศในกลุ่ม บอลข่าน ประเทศในคาบสมุทรบอลข่าน ทาสงครามกับตุรกีเรื่องสิทธิ พรมแดน ในการประชุมระหว่างชาติเพื่อตกลงปัญหานี้ การบีบ บังคับของออสเตรีย ทาให้เกิดประเทศใหม่ คือ อัลบาเนีย ซึ่ง ขวางกั้นเซอร์เบียไม่ให้ออกทะเลได้เซอร์เบียกับรัสเซีย สนับสนุนกันมากขึ้นตุรกีกับบัลแกเรียเข้าร่วมในสัญญา Triple ถือว่า Triple มีชัยชนะเหนือ Triple Entente ในกรณีบอลข่าน
  • 51. บรรณำนุกรม ระพิน ทองระอา และคณะ(ผู้แปล) .สารานุกรมประวัติศาสตร์โลก เล่มที่ 10 โลกยุคใหม่ ค.ศ.1950-2000. กรุงเทพมหานคร: บริษัทฟาร์อีสต์พับลิเกชั่นจากัด, 2545. ราชบัณฑิตสถาน. สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: ยุโรป เล่ม 1 อักษร A-B.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน,2542. ทองหล่อ วงษ์ธรรมา.เหตุการร์โลกปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร:โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์,2550. นันทนา กปิลกาญจน์. ประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลกสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: โอเดียสโตร์,2546. วิกฤตในศตวรรษที่20. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://pi-nu.blogspot.com/2013/03/triple-entente- triple-alliance.htm ( 24/04/59) สรุปผลสงครำมโลก.(ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : https://www.gotoknow.org (24/04/59) วิกฤตโมร็อกโค2.(ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : http://historysaranaru.blogspot.com (24/04/59) สงครำมบอลข่ำน1.(ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : http://historysaranaru.blogspot.com (24/04/59) สงครำมบอลข่ำน2. (ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : http://historysaranaru.blogspot.com/ (24/04/59) วิกฤตกำรณ์บอสเนีย. (ออนไลน์) เข้ำถึงได้จำก : http://www.myfirstbrain.com/student (24/04/59)