SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
War World II
รายชื่อสมาชิก
1. น.ส.กนกวรรณ สุตะวงค์ ม.5.5 เลขที่ 3
2. นาย ภาณุพงศ์ บุญธิมา ม.5.5 เลขที่ 16
3. นายพีรพัฒน์ จันต๊ะนาเขตร ม.5.5 เลขที่ 18
ครูที่ปรึกษา
ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
เป็นความขัดแย้งทางทหารระดับโลก
ตั้งแต่ ค.ศ. 1939 ถึง 1945 ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับประเทศส่วนใหญ่ในโลก
รวมทั้งรัฐมหาอานาจทั้งหมด
ประเทศผู้ร่วมสงครามรวมตัวกันเป็น
พันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย
คือ ฝ่ ายสัมพันธมิตรและฝ่ ายอักษะ
สงครามโลก
ครั้งที่ 2
ต้นเหตุของสงครามโลกครั้งที่2
ต้นเหตุของสงคราม คือ ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวซายส์
อีกทั้งยังมีความขัดแย้งอย่างรุนแรงทางระบบการเมือง ระหว่าง
ประชาธิปไตย กับ เผด็จการ
ชนวนสงครามคือ การที่เยอรมันบุกโจมตีโปแลนด์ และญี่ปุ่นโจมตี
อ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรือฝั่งแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่2
1. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม ข้อบกพร่องของสนธิสัญญาสันติภาพ
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีสาเหตุมาจากประเทศชนะสงครามและประเทศที่แพ้
สงครามต่างก็ไม่พอใจในข้อตกลงเพราะสูญเสียผลประโยชน์โดยเฉพาะสนธิสัญญาแวร์-ซายส์ที่เยอรมัน
ไม่พอใจในสภาพที่ตนต้องถูกผูกมัดด้วยสัญญา
2. ลัทธิชาตินิยม ความไม่ยุติธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ทาให้ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
(Adolf Hitler) ผู้นาเยอรมนีหันไปใช้ลัทธินาซี เพื่อสร้างประเทศให้ยิ่งใหญ่เช่นเดียวกับ เบนีโต
มุสโสลีนี (BenitoMussolini)ผู้นาอิตาลีหันไปใช้ลัทธิฟาสซิสต์ส่วนญี่ปุ่นต้องการสร้างวงศ์
ไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเชียบูรพาเพื่อเป็นผู้นาในเอเชีย นอกจากนี้ยังเกิดทฤษฎีชาตินิยมในเยอรมนีว่า
ด้วยความเหนือกว่าในทางเผ่าพันธุ์ ที่ทาให้ฮิตเลอร์ใช้นโยบายกวาดล้างชาวยิวในดินแดนยึดครองต่าง ๆ
3. ลัทธินิยมทางทหาร ได้แก่ การสะสมอาวุธเพื่อประสิทธิภาพของกองทัพ ทาให้
เกิดความตึงเครียดระหว่างประเทศมากขึ้นและเกิดความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่2 (ต่อ)
4. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษการใช้นโยบายออมชอมของ
อังกฤษเมื่อเยอรมนีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซายส์ โดยการเพิ่มกาลังทหารและการ
รุกรานดินแดนต่าง ๆ
5. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับ
ระบอบเผด็จการ ปัญหาทางการเมือง และเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้หลายประเทศ
หันไปใช้ระบอบเผด็จการเพื่อแก้ปัญหาภายใน เช่น เยอรมนีและอิตาลี นาไปสู่การแบ่งกลุ่ม
ประเทศ
6. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ เนื่องจากไม่มีกองทัพขององค์การ ทาให้ขาดอานาจ
ในการปฏิบัติการและการที่อเมริกาไม่ได้เป็นสมาชิกจึงทาให้
องค์การสันนิบาตชาติเป็นเครื่องมือของประเทศที่ชนะใช้ลงโทษประเทศที่แพ้สงคราม
เหตุการณ์ที่นาไปสู่สงครามโลกครั้งที่2
1.ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรีย แล้วตั้งเป็นรัฐแมนจูกัว เพื่อเป็นแหล่งอุตสาหกรรมและ แหล่งทาทุน
ใหม่สาหรับตลาดการค้าของญี่ปุ่น
2.การเพิ่มกาลังอาวุธของเยอรมัน และฉีกสนธิสัญญาแวร์ซายส์
3.กรณีพิพาทระหว่างอิตาลีกับอังกฤษ ในกรณีที่อิตาลีบุกเอธิโอเปีย
4.เยอรมันผนวกออสเตรีย ทาให้เกิดสนธิสัญญา แกนเบอร์ลิน –โรม (เยอรมัน & อิตาลี)
ต่อมา
ประเทศญี่ปุ่น เข้ามาทาสนธิสัญญาด้วย กลายเป็นสนธิสัญญา แกนเบอร์ลิน –โรม –โตเกียว
เอ็กซิส
5.สงครามกลางเมืองในสเปน
6.เยอรมันเข้ายึดครองเชคโกสโลวเกีย
7.การแบ่งกลุ่มประเทศในยุโรป
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 2
เกิดจากเยอรมนีโจมตีโปแลนด์ และเรียกร้องขอดินแดนฉนวน ดานซิก คืนทา
ให้อังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งสนับสนุนโปแลนด์ ประกาศสงครามกับเยอรมนีทันที
ต่อมาเมื่อการรบขยายตัว ทาให้นานาประเทศที่เกี่ยวข้องถูกดึงเข้าร่วมสงคราม
เพิ่มขึ้น ( 1 กันยายน ค.ศ.1339)
ญี่ปุ่นซึ่งเป็นพันธมิตรของเยอรมนี เปิดฉากสงครามโดยโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพของ
สหรัฐอเมริกา ในหมู่เกาะฮาวายเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ.1941 ทาให้สหรัฐอเมริกา
ประกาศเข้าร่วมสงครามฝ่ายเดียวกับชาติพันธมิตรอย่างเป็น ทางการ
ประเทศคู่สงครามในสงครามโลก
ครั้งที่2
แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้
กลุ่มประเทศฝ่ ายพันธมิตร
ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส
สหรัฐอเมริกา และสหภาพเวียต รวมทั้ง
ยังมีประเทศในภูมิภาคต่างๆเข้าร่วม
สมทบด้วยอีกจานวนมาก
กลุ่มประเทศฝ่ ายอักษะ ชาติผู้นาที่สาคัญ
ได้แก่ เยอรมนี ญี่ปุ่น และอิตาลี
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
1.มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ(UN : United Nations)
เพื่อดาเนินงานแทนองค์การสันนิบาตชาติ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรักษา
สันติภาพของโลกและให้กลุ่มสมาชิกร่วมมือช่วยเหลือกัน และสนับสนุน
สันติภาพของโลก รวมทั้งการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ซึ่งนับว่ามีความ
เข้มแข็งกว่าเดิม เพราะสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งและมีกอง
ทหารของสหประชาชาติ
2.ทาให้เกิดสงครามเย็น (Cold War)
3.ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะมีการนาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้ทา
ให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
4.การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆประเทศที่เคยตกเป็นอาณานิคมของ
ชาติตะวันตกต่างประกาศเอกราชของตนเอง ทั่วโลก โดยเฉพาะใน
เอเชีย และ แอฟริกา และบางประเทศถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน เช่น
เยอรมนี เกาหลี เวียดนาม
5.สภาพเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก
6.ความสูญเสียทางด้านสังคมและทางจิตวิทยา
7.เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซ
เวียต
ประเทศไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2
เหตุผลที่ไทยต้องเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2
• ไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่ในวันที่
8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ญี่ปุ่นนาเรือรบ
บุกขึ้นชายทะเลภาคใต้ของไทยโดย
ไม่ทันรู้ตัว รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่น
ผ่าน ทาพิธีเคารพเอกราชกันและกัน
ผลของการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2ของ
ประเทศไทย
• ไทยต้องส่งทหารไปช่วยญี่ปุ่นรบ
• เกิดขบวนการเสรีไทย ซึ่งให้พ้นจาก
การยึดครอง
• ไทยได้ดินแดนเชียงตุง และสี่จังหวัด
ภาคใต้ที่ต้องเสียแก่อังกฤษกลับมา แต่
ต้องคืนให้เจ้าของเมื่อสงครามสงบลง
• ไทยได้รับเกียรติเป็นสมาชิกองค์การ
สหประชาชาติ
• อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ภาพบุคคลสาคัญในช่วงสงครามโลกครั้งที่2
• แฟรงคลิน รูสเวลท์
• เบนิโต มุสโสลินี • แฮร์รี เอส ทรูแมน
ภาพบุคคลสาคัญในช่วงสงครามโลกครั้งที่2
อาวุธที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่2
เครื่องบินรบในสงครามโลกครั้งที่2
• Messerschmitt Me 262
• Me 262 ของนาซี เป็นเครื่องบิน Jet ที่
ใช้รบจริง เจ็บจริง รุ่นแรกๆของโลก ซึ่งมัน
ทาความเร็วได้อย่างน่าฉงนถึง 900 กม/ชม.
เครื่องบินรบในสงครามโลกครั้งที่2
• Mitsubishi A6M Zero
• Mitsubishi Navy Type 0
Carrier Fighter หรือ Zero เป็น
เครื่องบินขับไล่ระยะไกลของกองทัพเรือ
ญี่ปุ่น
• Panzer II
• Panzer II เป็นรถถังขนาดเล็ก ติดอาวุธเพียงปืนใหญ่ขนาด 20 มม. ความตั้งใจในการ
ออกแบบครั้งแรก เพียงเพื่อเป็นรถถังสาหรับฝึกพลประจารถถัง (training tank) แต่
เนื่องจากความล่าช้าในสายการผลิตของ Panzer III และ Panzer IV ทาให้รถถังรุ่นนี้
ต้องออกปฏิบัติงานในแนวหน้าอยู่ตลอดเวลา Panzer II เริ่มเข้าประจาการในกองทัพ
เยอรมันในปี 1936 หรือ 4 ปีก่อน
อาวุธที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่2
• ปืนกลในสงครามโลกครั้งที่2
• ปืนกล MG 34
อาวุธที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่2
• ปืนไรเฟิลในสงครามโลกครั้งที่2
• ปืนไรเฟิลจู่โจม STG 44
ตาแหน่งที่ระเบิดนิวเคลียร์ ลงที่ประเทศญี่ปุ่ น สงครามโลกครั้งที่2
• ในวันที่ 10 – 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 ได้มีการคัดเลือกเป้าหมายที่ Los Alamos นาโดยเจ
โรเบิร์ต นักฟิสิกส์ ใน “โครงการแมนฮัตทัน” ได้แนะนา เป้าหมายสาหรับระเบิดลูกแรก คือ
เมืองเกียวโต , ฮิโระชิมะ ,โยโกฮามา โดยใช้เงื่อนไขที่ว่า
• เป้าหมายต้องมีพื้นที่ขนาดใหญ่เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 ไมล์และเป็นเขตชุมชุนที่สาคัญขนาด
ใหญ่ ระเบิดต้องสามารถทาลายล้างและสร้างความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมายมี
ยุทโธปกรณ์และที่ตั้งของทหารต้องได้รับการระบุที่ตั้งแน่นอน เพื่อป้องกันหากการทิ้งระเบิดเกิด
ข้อผิดพลาด
ภาพระเบิดนิวเคลียร์ที่ญี่ปุ่ น
• ระเบิดนิวเคลียร์ Little Boy ที่เมืองฮิ
โรชิมาญี่ปุ่น วันที่ 6 สิงหาคม 1945
• ระเบิดนิวเคลียร์ FAT MAN ที่เมือง
นางาซากิ ญี่ปุ่น วันที่ 9 สิงหาคม 1945
ภาพจากชาวญี่ปุ่นที่ได้รับผลกระทบจากสารกัมมันตภาพรังสี
• ผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์ระเบิดในครั้งนั้น เรียกจุดที่ระเบิดถูกทิ้งลงใส่ ฮิโระชิมะ ว่า “ฮิบะกุชะ”
ในภาษาญี่ปุ่นหรือแปลเป็นภาษาไทยว่า “จุดระเบิดที่มีผลกระทบต่อชาวญี่ปุ่น” ด้วยเหตุนี้
ญี่ปุ่น จึงมีนโยบายต่อต้านการใช้ระเบิดปรมณู ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และประกาศเจตนาให้โลกรู้
ว่า ญี่ปุ่นมีนโยบายจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร์, ในวันที่ 31 เดือนมีนาคม 2551 “ฮิบะกุชะ”
มีรายชื่อผู้เสียชีวิตจากทั้งสองเมืองของญี่ปุ่น ที่ถูกจารึกไว้ประมาณ 243,692 คน และในเดือน
สิงหาคมของปีเดียวกัน มีรายชื่อผู้เสียชีวิตที่ถูกจารึกไว้เพิ่มขึ้นมากกว่า 400,000 คน โดยแบ่ง
ออกเป็น เมืองฮิโระชิมะ 258,310 คน และเมืองนะงะซะกิ 145,984 คน
บรรณานุกรม / อ้างอิง
•https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B
8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%
B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0
%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0
%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87
•https://suphannigablog.wordpress.com/%E0%B8%AB%E0%B8
%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B
8%B5%E0%B9%88-
4/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8
%B2%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B
8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%
B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-2/
•http://www.sb.ac.th/www_war/war2_1.htm

More Related Content

What's hot

หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศthnaporn999
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21jinjuthabam
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2namfon17
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นBeau Pitchaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1fsarawanee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1whanpree
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 

What's hot (20)

ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ

68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfสงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfKunnai- เบ้
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1Jiratchaya Phisailert
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Napis Inkham
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)noeiinoii
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2New Nan
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1baifernbaify
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ (17)

68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfสงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
Truman
TrumanTruman
Truman
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
World War I
World War IWorld War I
World War I
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
 

สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ

Editor's Notes

  1. 1.ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซายส์และสัญญาสันติภาพฉบับอื่นๆ ซึ่งทำภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมันและชาติผู้แพ้สงคราม ถูกบังคับให้ลงนามในสัญญาที่ตนเสียเปรียบ 2.การเติบโตของลัทธิทางทหาร หรือระบบเผด็จการ มีผู้นำหลายประเทศสร้างความเข้มแข็งทางทหาร และสะสมอาวุธร้ายแรงต่างๆ 3.ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ การทำหน้าที่รักษาสันติภาพไม่ประสบผลสำเร็จ 4.ความขัดแย้งในอุดมการณ์ทางการเมือง แนวความคิดของผู้นำประเทศที่นิยมลัทธิทางทหาร ได้แก่ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซีของเยอรมนี และเบนนิโต มุสโสลินี ผู้นำลัทธิฟาสซีสม์ ของอิตาลี ทั้งสองต่อต้านแนวความคิดเสรีนิยม และระบบการเมืองแบบรัฐสภาของชาติยุโรป แต่ให้ความสำคัญกับพลังของลัทธิชาตินิยม ความเข้มแข็งทางทหาร และอำนาจผู้นำมากกว่า