SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918)
(World War I หรือ First World War)
สงครามโลกครั้งที่ 1
(World War I หรือ First World War)
• เรียกได้ว่าเป็นครั้งแรกของความขัดแย้งระดับโลก หรือเป็นที่รู้จักกันว่า
“สงครามครั้งยิ่งใหญ่” (Great War)
• สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1914 (พ.ศ. 2457) ถึงปี 1918 (พ.ศ. 2461) ซึ่ง
กินระยะเวลา 4 ปี 5 เดือน
• คาพูดของวูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) ประธานาธิบดีคนที่ 28
ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งดารงตาแหน่งตลอดช่วงที่เกิดสงครามโลก
ครั้งที่ 1 เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ปี ค.ศ. 1919 ที่กล่าวไว้
อย่างมีความหวังว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 คือ “สงครามเพื่อยุติสงคราม
ทั้งมวล” (War to End All Wars)
คุณคิดว่าอุดมคตินี้มันจะเป็นไปได้ไหม ?
สงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
• เป็นความขัดแย้งระหว่างมหาอานาจ 2 ฝ่าย คือ
1) ฝ่ายมหาอานาจกลาง หรือไตรพันธมิตร (Triple Alliance) ประกอบด้วย ออสเตรีย –
ฮังการี จักรวรรดิเยอรมนี จักรวรรดิออตโตมัน ราชอาณาจักรบัลแกเรีย
2) ฝ่ายมหาอานาจไตรภาคี (พันธมิตร) (Triple Entente) ประกอบด้วย บริเตนใหญ่
(อังกฤษ) ราชอาณาจักรอิตาลี สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส จักรวรรดิรัสเซีย และพันธมิตร
• ในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีทหารเข้าร่วมรบในสมรภูมิถึง 65 ล้านคน มีทหารเสียชีวิตราว
9 ล้านคน โดยทหารเยอรมันเสียชีวิต 1,950,000 คน รัสเซีย 1,700,000 คน และทหาร
ฝรั่งเศส 1,900,000 คน ส่วนพลเรือนนั้นเสียชีวิตหลายสิบล้านคน
สงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
• การรบเริ่มขึ้นหลังการลอบสังหารมกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย – ฮังการี และสิ้นสุดลง
ด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลาง หรือ Triple Alliance
• มีการทาสนธิสัญญาแวร์ซายส์ บังคับให้เยอรมนีและพันธมิตรเสียค่าปฏิกรรมสงคราม
ชดใช้จานวนมหาศาลและเสียดินแดนที่เป็นอาณานิคมให้แก่ฝ่าย Triple Entente
กฎการทาสงครามแบบดั้งเดิมของประเทศในยุโรป
1. แต่ละประเทศต้องประกาศสงครามก่อนที่จะโจมตีประเทศอื่น
2. แต่ละด้านจะต้องสวมเครื่องแบบหรือพิสูจน์ตัวเองกับแต่ละอื่น ๆ
ก่อนที่จะโจมตี ทหารสวมเครื่องแบบศัตรูจะถูกยิงในฐานะที่เป็น
สายลับ
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1
1. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism) เป็นความรู้สึกรักและภูมิใจในชาติของตนอย่างรุ่นแรง
2. ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) ชาติมหาอานาจในยุโรปได้ขยายอานาจและ
อิทธิพลออกไปสู่ดินแดนนอกทวีป
3. การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป (Alliance System) ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่
สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอานาจยุโรปถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย
4. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธ ทั้งบางบกและทางทะเล
(Militarism) การเจริญเติบโตของลัทธิชาตินิยมและลัทธิจักรวรรดินิยมนาไปสู่
การใช้กองกาลังทหารและสะสมอาวุธทางทหารที่เพิ่มขึ้น
ผลของการปฏิวัติอุสาหกรรมของโลกตะวันตก
ที่เกิดขึ้นทาให้
1. การเพิ่มของจานวนประชากร
2. การขยายตัวของสังคมเมือง
3. การแสวงหาอาณานิคมและลัทธิจักรวรรดินิยม
4. ความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรม
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1
1. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism)
• การเกิดลัทธิชาตินิยมจากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ทาให้เกิดระบบรวมรัฐชาติ
สร้างระบบรวมอานาจเข้าสู่ส่วนกลาง รัฐชาติในประเทศยุโรปต่างแสวงหาความเป็น
มหาอานาจ ทั้งทางทหารและเศรษฐกิจ
• รัฐชาติหมายถึง รัฐหรือประเทศที่ประชาชนมีความรู้สึกผูกพันกัน มีความสามัคคี
ภาคภูมิใจในความเป็นชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ความรักชาติที่รุนแรงจน
เป็นลัทธิชาตินิยม ทาให้เชื่อว่าชาติตนเหนือกว่าชาติอื่น ประเทศของตนเองมีความ
ยิ่งใหญ่และประเทศอื่นอ่อนด้อยกว่าตน ผลักดันชาติของตนได้เปรียบชาติอื่นไม่ว่า
ด้านเศรษฐกิจ หรือการทหาร นาไปสู่การแข่งขันอานาจกัน จนกลายเป็นสงคราม
เช่น สงครามการรวมอิตาลี การรวมเยอรมนี จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 1
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
2. ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism)
• ลัทธิจักรวรรดินิยม เป็นแนวความคิดของชาติมหาอานาจในยุโรปที่จะขยาย
อานาจ และอิทธิพลของตนเข้าครอบครองดินแดนที่ล้าหลังและด้อย
ความเจริญในทวีปต่างๆ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางการเมืองและ
เศรษฐกิจ เช่น แหล่งวัตถุดิบ และตลาดระบายสินค้า ชาวยุโรปเข้าครอง
ดินแดนของชนชาติต่างๆ ในรูปของการล่าอาณานิคม (Colonization)
• ลัทธิจักรวรรดินิยมเริ่มจากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ทาให้
ต้องการแหล่งวัตถุดิบและตลาดสาหรับระบายสินค้าที่ผลิต
• มหาอานาจยุโรป เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ปรัสเซีย (เยอรมนี) เนเธอร์แลนด์ ต่างแข่งขันกัน
ขยายอานาจ เพื่อสร้างอาณาจักร โดยการครอบครองดินแดนในทวีปเอเชีย อเมริกากลาง และ
อัฟริกา ครอบงาทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิต เพื่อเป็นแหล่งเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ให้เมืองแม่
ได้เปรียบในการแข็งขันมากขึ้น
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
ลัทธิจักรวรรดินิยม มีผลกระทบต่อการเมืองการปกครองของประเทศต่างๆ ดังนี้
1. ทาให้ชาติมหาอานาจขัดแย้งในผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน ส่งผลให้บรรยากาศ
ทางการเมืองของโลกเข้าสู่ภาวะตึงเครียด และนาไปสู่ส่งครามในที่สุด
2. ทาให้ชาติตะวันตกมีข้ออ้างอันชอบธรรมในการยึดครองดินแดนต่างๆ เป็น
อาณานิคมของตน เพราะถือเป็นภาระหน้าที่ของคนผิวขาวที่จะนาอารยธรรมความ
เจริญไปเผยแพร่ยังดินแดนที่ล้าหลังและห่างไกลความเจริญ ส่งผลให้ประชากรใน
ดินแดนอาณานิคมเกิดการซึมซับในวัฒนธรรม วิถีการดาเนินชีวิต ความคิด และ
ค่านิยมแบบตะวันตก
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
3. การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป (Alliance System)
• ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอานาจยุโรป
ถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย
• ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ได้ทาสนธิสัญญา
พันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliance) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไปและอิตาลีเข้ามา
กลุ่มนี้จึงประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี
• อีกฝ่ายหนึ่งฝรั่งเศสกับรัสเซีย ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมา
อังกฤษได้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรจึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี
(Triple Entente)
กลุ่มพันธมิตร
จักรวรรดิอังกฤษ
ฝรั่งเศส
รัสเซีย
เยอรมัน
อิตาลี
ออสเตรีย-ฮังการี
มหาอานาจทั้ง 2 กลุ่ม พยายามที่จะโน้มน้าวให้ประเทศอื่นๆ เข้ามาร่วม
เป็นพันธมิตรของตน ต่างฝ่ายต่างก็ไม่ยินยอมกันแข่งกันสะสมกาลังอาวุธ
เมื่อเกิดข้อขัดแย้งที่รุนแรง จึงหาทางออกด้วยการทาสงคราม
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
4. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธทั้งบางบกและทางทะเล
(Militarism)
• โดยต่างประเทศต้องการพยายามสร้างอาวุธให้ทัดเทียมชาติศตรู
อันเนื่องมาจากความระแวง สงสัย หวาดกลัวซึ่งกันและกัน เช่น เยอรมนี
แข่งขันกันด้านอาวุธทางทะเล เยอรมนีแข่งขันกันขยายกาลังพลทางบกกับ
ฝรั่งเศส
จักรวรรดิสาคัญในยุโรปก่อนสงครามใหญ่จะปะทุ :
จักรวรรดิอังกฤษหรือจักรวรรดิบริเทน
• ในศตวรรษที่ 19 จักวรรดิอังกฤษนับเป็นมหาอานาจที่น่าเกรงขามมาก
ที่สุด โดยเป็นทั้งมหาอานาจทางทะเล มีอาณานิคมโพ้นทะเลมากที่สุด
จนได้ชื่อว่า “ดินแดนพระอาทิตย์ไม่ตกดิน (The sun never set in the
British Empire)” เป็นประเทศอุตสาหกรรมชั้นนาและมั่งคั่งที่สุดด้วย
พื้นที่ต่าง ๆ ของโลกซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิบริติช
ปัจจุบันดินแดนโพ้นทะเลอังกฤษถูกขีดเส้นใต้สีแดง
(อ้างอิงจาก วิกิพีเดีย)
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1
• การลอบปลงพระชนม์เจ้าชายฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ องค์รัชทายาทของจักรวรรดิ
ออสเตรีย- ฮังการี โดยฝีมือของกัฟริโล ปรินซิปชาวบอสเนีย ออสเตรีย-ฮังการี
ขณะเสด็จประพาสนครหลวงแคว้นบอสเนีย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 จึง
ประกาศสงครามกับเซอร์เบีย โดยมีรัสเซียเข้ามาช่วยเซอร์เบีย เยอรมนีจึงประกาศ
สงครามกับรัสเซีย ฝรั่งเศส และอังกฤษเข้าร่วมมือกับรัสเซีย
หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1
1. สร้างข้อตกลงแห่งสันติภาพที่ไม่ปิดบัง ตรงไปตรงมา ซึ่งจะทาให้ปราศจากความ
เข้าใจส่วนตัวนานาชาติ แต่ควรจะเป็นการทูตที่เปิดเผยและอยู่ในสายตาของ
สาธารณชน
2. เปิดเสรีในการเดินทางทางทะเล ซึ่งเป็นเขตน่านน้าสากล ทั้งในยามสงบและยาม
สงคราม ยกเว้นแต่ว่าจะถูกปิดกั้นจากการกระทาของนานาชาติเพื่อการดารงไว้ซึ่ง
ข้อตกลง นานาชาติ
3. การยกเลิกการกีดกันทางการค้า และการสร้างความเท่าเทียมกันทางการค้า
ระหว่างประเทศซึ่งได้ยินยอมในสันติภาพ และมีส่วนร่วมในการดารงรักษามัน
ไว้
หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1
(ต่อ)
4. ให้ความมั่นใจว่าจะมีการอาวุธยุทธภัณฑ์ของกองทัพนานาชาติลงจนถึงจุดที่ มีความปลอดภัย
ต่ากว่าความเสี่ยงของสงคราม และสามารถป้องกันประเทศของตนเองเท่านั้น
5. ให้ความยุติธรรมอย่างทั่วถึงในการจัดการกับอาณานิคมโพ้นทะเลของทุก ประเทศ รวมไปถึง
ให้โอกาสและความสาคัญแก่การประกาศเอกราชของชนพื้นเมืองภายใน อาณานิคม ให้มี
น้าหนักเท่ากับประเทศแม่
6. การถอนเอาอาณาเขตปรัสเซียออกไป และรวมไปถึงรกรากของสหภาพโซเวียตนั้นเป็นการ
ปลอดภัยและเสรีในความร่วมมือของ นานาชาติที่จะเสนอโอกาสซึ่งไม่ขัดขวางและไม่อยู่ใน
ฐานะที่อับอายในการที่มีสิทธิ์เต็มที่ในการใช้อานาจปกครองตัวเอง เพื่อการพัฒนาทางการเมือง
และนโยบายแห่งชาติของตัวเอง รวมไปถึงการให้ความรับรองแก่สหภาพโซเวียตที่จะเข้าสู่เวที
นานาชาติภายใต้ สถาบันที่ได้จัดตั้งขึ้นมาเอง และนอกจากนั้น ให้ความช่วยเหลือแก่สหภาพโซ
เวียตในทุกวิถีทาง การปฏิบัติต่อสหภาพโซเวียตโดยประเทศอื่นๆ ในช่วงเวลาต่อมานั้นก็7เป็น
การทดสอบสาหรับจุดประสงค์ของแต่ละประเทศ และเปิดโอกาสให้สหภาพโซเวียตมีความ
สนใจของตน ด้วยความใจกว้างและด้วยปัญญา
หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1
(ต่อ)
7. เบลเยี่ยมควรจะถูกกาหนดให้ได้รับการฟื้นฟูจากนานาชาติ โดยปราศจากความพยายามที่จะ
จากัดเอกราชให้เท่าเทียมกับประเทศเสรีอื่นๆ โดยการกระทาดังกล่าวนั้นจะเป็นการฟื้นฟูความ
ไว้วางใจระหว่างประเทศในกฎหมาย ซึ่งพวกเขาได้จัดตั้งเองและตั้งใจแน่วแน่ที่จะสร้าง
ความสัมพันธ์กับชาติ อื่นๆ ผลจากการกระทาดังกล่าวจะเป็นการรักษาความมั่นคงของ
กฎหมายนานาชาติอีกด้วย
8. ดินแดนของฝรั่งเศสทั้งหมดควรจะได้รับอิสระและฟื้นฟูส่วนที่เสียหายจาก สงคราม และ
ความผิดของปรัสเซียต่อฝรั่งเศสในปี 1871 เกี่ยวกับมณฑลแอลซาซ-ลอเรน ซึ่งไม่ได้ชาระ
สะสางสันติภาพของโลกมาเป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษ ควรจะถูกทาให้ถูกต้อง เพื่อให้สันติภาพ
ได้รับการดูแลรักษาอย่างมั่นคง
9. ควรจะมีการปรับแนวเขตแดนของประเทศอิตาลีควรจะตั้งอยู่บนแนวเขตแดนของชาติที่
สามารถจาได้
หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1
(ต่อ)
10. ประชาชนของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเดิม ควรจะได้รับการป้องกันและช่วยเหลือ รวมไป
ถึงได้รับโอกาสอย่างเสรีที่จะพัฒนาตนเอง
11. โรมาเนีย เซอร์เบียและมอนเตเนโกรควรจะได้รับการฟื้นฟูจากความเสียหายของสงคราม
เซอร์เบียมีอาณาเขตทางออกสู่ทะเล และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบอลข่าลต่อกันนั้นตั้งอยู่บน
คาแนะนาของชาติ พันธมิตรตามประวัติศาสตร์บนเส้นของความจงรักภักดีและความรักชาติ
และนานาชาติสมควรที่จะรับรองความเป็นอิสระทางการเมืองและทางเศรษฐกิจรวมไป ถึง
ความมั่นคงในดินแดนของตน
12. ส่วนแบ่งของตุรกีจากจักรวรรดิออตโตมานเดิมควรจะได้รับความช่วยเหลือให้ มีเอกราช แต่
เชื้อชาติอื่นๆ ซึ่งตอนนี้อยู่ภายใต้การปกครองของตุรกีควรจะได้รับการรับรองถึงความ
ปลอดภัย ในชีวิต และโอกาสอย่างเสรีที่จะได้รับการพัฒนาตนเอง และช่องแคบดาร์ดาแนลส์
ควรจะถูกเปิดเป็นเส้นทางเดินเรือเสรีแก่ทุกประเทศ
หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1
(ต่อ)
13. รัฐอิสระของโปแลนด์ควรจะถูกสถาปนาขึ้นซึ่งรวมไปถึงดินแดนที่ประชาชน โปแลนด์อาศัย
อยู่ ซึ่งควรจะถูกรับรองทางออกสู่ทะเลเป็นของตัวเอง รวมไปถึงความเป็นอิสระทางการเมือง
และเศรษฐกิจ และความมั่นคงในดินแดนของตนตามข้อตกลงของนานาชาติ
14. การรวมตัวกันของประชาชาติควรจะถูกก่อตั้งขึ้นภายใต้พันธะที่แน่นอนเพื่อจุด ประสงค์ที่
สามารถให้ความช่วยเหลือกันได้กับทุกฝ่าย และให้การรับรองแก่รัฐที่มีขนาดเล็กกว่าเทียบเท่า
กับตนเอง โดยการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึ้นมา
อาวุธใหม่ๆ ที่ถูกนามาใช้ในการทาสงครามโลกครั้งที่ 1
• ปืนกล
• ปืนใหญ่
• ทุ่นระเบิด
• ก๊าซพิษ
• เรือดาน้า
• เครื่องบินรบ
• รถถัง
ทั้งมนุษย์และสัตว์มีความไวต่อผลกระทบของก๊าซพิษ สุนัขได้ถูกนามาใช้ในช่วง
สงครามโลกครั้งที่ 1 เพื่อเป็นเวรยาม สุนัขลากเลื่อน และผู้ส่งสาร
หน้ากากป้องกันแก๊สต่างๆ ที่ถูกใช้ในแนวรบด้านตะวันตกในช่วงสงคราม
เรือรบถูกตระเตรียมโดยประเทศในยุโรป ญี่ปุ่นและอเมริกา
ในช่วงปลายปี 19 และต้นศตวรรษที่ 20
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1918 โดยฝ่ายเยอรมนีพ่ายแพ้ยอมยุติสงคราม
เพื่อขอเจรจาทาสนธิสัญญาสงบศึกกับฝ่ายพันธมิตร ผลของสงครามได้สร้างความ
เสียหายอย่างใหญ่หลวงให้แก่ 2 ฝ่าย คือ
1. ด้านสังคม สงครามโลกครั้งที่ 1 มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บ ทุพพลภาพ และสูญหาย
รวมกันไม่ต่ากว่า 40 ล้านคน หลายคนเป็นโรคจิตที่เกิดจากการกลัวภัยสงคราม
อีกทั้งเกิดปัญหาชนพลัดถิ่น
ประเทศที่เกี่ยวข้องในสงครามได้รับผลกระทบที่น่าตกใจ
จากการสูญเสียชีวิตของประชาชนหลายล้านคน
ผลของการทาสงครามที่คนของฝรั่งเศสและเบลเยียมได้รับผลกระทบ
Photos of the Great War - www.gwpda.org/photos
ชีวิตของผู้หญิงที่อยู่ในประเทศเหล่านั้นได้เปลี่ยนแปลงไปเมื่ออยู่ในภาวะสงคราม
ภาพของสตรีในโรงงานอาวุธยุทโธปกรณ์
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
วิถีชีวิตของผู้ที่กลับมาจากสงครามได้เปลี่ยนแปลงไป
จากการบาดเจ็บหรืออาการเจ็บป่วยที่ได้รับ
ลองคิดดูว่าทหารคนที่มีแขนขาด้วนหรือผู้ที่ได้รับความทุกข์ทรมานแค่ไหนจากโรคที่
เกิดจากความตกใจที่ได้รับในสนามรบ ?
Photos of The Great War -
www.gwpda.org/photos/greatwar.htm
ทหารอังกฤษที่ตาบอดและเป็นโรคเกี่ยวกับปอดจากการถูกแก๊สน้าตา
จะใช้ชีวิตต่อไปอย่างไร ?
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
2. ด้านการเมือง ประเทศมหาอานาจเดิม ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี และตุรกี
เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ต้องทาสนธิสัญญาสันติภาพที่ประเทศผู้ชนะร่างขึ้น 5 ฉบับ คือ
1) สนธิสัญญาแวร์ซายส์ทากับเยอรมนี
2) สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมงทากับออสเตรีย
3) สนธิสัญญาเนยยี ทากับบัลแกเรีย
4) สนธิสัญญาตริอานองทากับฮังการี และ
5) สนธิสัญญาแซฟส์ทากับตุรกี (ต่อมาเกิดการปฏิวัติในตุรกีจึงมีการทาสนธิสัญญา
ใหม่เรียกว่า “สนธิสัญญาโลซานน์”) และยุโรปโดยรวมอ่อนแอลง
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ)
3. ด้านเศรษฐกิจ สงครามครั้งนี้มีค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการผลิตอาวุธใหม่ ๆ ที่มี
อานาจทาลายล้างสูงกว่าการทาสงครามในอดีต เช่น รถถัง เรือดาน้า แก๊สพิษ
ระเบิด เป็นต้น เพื่อหวังชัยชนะหลังสงครามสิ้นสุดฝ่ายแพ้ต้องจ่ายค่าปฏิกรรม
สงคราม ส่วนฝ่ายชนะรับผิดชอบเลี้ยงดูผู้ประสบภัยและบูรณะประเทศจนทาให้
เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก ระบบการเงินทั่วโลกกระทบกระเทือน
ผลกระทบของสงคราม
1. มีการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ (League Of Nations) เพื่อ
แก้ปัญหาระหว่างประเทศด้วยสันติวิธี และเพื่อป้องกันการเกิด
สงครามในอนาคต
2. เกิดประเทศเอกราชใหม่ ๆ เช่น ยูโกสลาเวีย เชคโกสโลวาเกีย
โปแลนด์ ลัทเวีย ลิทัวเนีย เอสโทเนีย
3. แยกฮังการี ออกจาก ออสเตรีย
4. ประเทศเยอรมนี ออสเตรีย และตูรกี เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่
ระบบสาธารณรัฐ
ผลกระทบของสงคราม
5. มีการจัดทาสนธิสัญญาสงบศึกเพื่อเป็นการลงโทษแก่ประเทศผู้แพ้
สงคราม โดยข้อกล่าวหาว่าเป็นฝ่ายผู้ก่อสงคราม ผลของสัญญาเช่น ผู้แพ้
ต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม เสียอานาจการปกครองตนเอง เสียอานาจ
ทางการค้า และต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล ซึ่งกลายมา
เป็นสาเหตุและชนวนที่จะนาไปสู่การเกิดของสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน
ค.ศ.1939-1945
องค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
• องค์การสันนิบาตชาติเป็นองค์การกลางระหว่างประเทศ ที่ตั้งขึ้นตาม
สนธิสัญญาแวร์ซาย และสนธิสัญญาอื่น ๆ ที่ทาขึ้นตอนเสร็จสิ้น
สงครามโลกครั้งที่ 1 โดยประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน แห่ง
สหรัฐอเมริกา เพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
• โดยได้สถาปนาเป็นองค์การระหว่างประเทศเมื่อวันที่ 10 มกราคม
ค.ศ. 1920 สานักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
หน้าที่ขององค์การสันนิบาตชาติ
องค์การสันนิบาตชาติมีหน้าที่สาคัญสองประการ คือ
1. ดูแลให้มีการปฏิบัติเป็นไปตามสนธิสัญญา
2. ให้โลกมีสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
การดาเนินงาน
มีองค์กรต่างๆทาหน้าที่และรับผิดชอบ ดังนี้
- สมัชชา (General Assembly) เป็นที่ประชุมใหญ่ประกอบด้วยผู้แทนจาก
ประเทศสมาชิกต่างๆ มีสิทธิออกเสียงได้ประเทศละ 1 เสียง
- คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยสมาชิกประเภทถาวร คืออังกฤษ
ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น เยอรมณี รัสเซียสาหรับสหรัฐอเมริกาไม่ได้เข้าเป็น
สมาชิกเพราะมีนโยบายไม่เข้าไปแทรกแซงกิจการของประเทศยุโรป
- สานักเลขาธิการ (Secretariat) ทาหน้าที่ธุรการทั่วไป
- ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ( The International court of Justice)
ทาหน้าที่พิจารณากรณีพิพาทระหว่างประเทศสมาชิก มีสานักงานตั้งอยู่
กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์
- องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization)
มีฐานะเป็นองค์กรอิสระ แต่ขึ้นตรงต่อองค์การสันนิบาตชาติโดยตรง
ข้อเสียขององค์การสันนิบาตชาติ
ได้แก่
1. ไม่ได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากสหรัฐอเมริกา
2. ไม่มีกองกาลังทหารเป็นของตนเอง
3. ประเทศสมาชิกคานึงถึงประโยชน์ของตนมากกว่าการรักษาสันติภาพ
ของโลก
ข้อสังเกต
• ในการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ได้เข้าเป็น
สมาชิกเพราะต้องปฏิบัติตามลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งมี
นโยบายไม่ยุ่งเกี่ยวหรือผูกพันทางการเมืองกับประเทศทางยุโรป นับเป็น
ความบกพร่องที่สาคัญที่สุดขององค์การสันนิบาตชาติ
อุปสรรคขององค์การ
• อุปสรรคสาคัญที่สุดอันหนึ่ง คือ ไม่มีสหรัฐอเมริการ่วมเป็นสมาชิกของ
องค์การด้วย สันนิบาตชาติประชุมกันเป็นสมัยประชุมครั้งสุดท้ายเมื่อ
วันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1939 และหมดสภาพเป็นองค์การระหว่าง
ประเทศลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 ทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งหมดได้
โอนไปให้แก่องค์การสหประชาชาติ
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles)
• เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทาขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย
ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน
ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1
• ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอานาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วย
สนธิสัญญาฉบับอื่น
• ผลจากสนธิสัญญาฯ ได้กาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงคราม
แต่เพียงผู้เดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใต้ข้อตกลงข้อ 231 (ในภายหลังรู้จักกันว่า "อนุประโยค
ความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") และในข้อ 232-248 เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจากัดอาณา
เขตดินแดน รวมไปถึงต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจานวน
มหาศาล (ราว 31,400 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือ 6,600 ล้านปอนด์)
กราฟนี้แสดงการเปรียบเทียบจานวนทหารที่เสียชีวิตจากสงครามหลักๆ บางส่วนใน 238 ปีที่ผ่านมา
โดยแสดงให้เห็นการเสียชีวิตของทหารโดยรวมของแต่ละสงคราม ซึ่งสังเกตเห็นว่า 5 สงครามล่าสุด
ยกเว้นสงครามอ่าวที่ได้ก่อให้เกิดการเสียชีวิตจานวนมากกว่าสงครามก่อนหน้านี้
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) (ต่อ)
• สนธิสัญญาดังกล่าวได้ถูกบ่อนทาลายด้วยเหตุการณ์หลายอย่างที่เกิดขึ้นภายหลัง
ปี ค.ศ. 1932 จนกระทั่งร้ายแรงขึ้นเมื่อคริสต์ทศวรรษ 1930 การแก่งแย่งและ
เป้าหมายที่ขัดแย้งกันเองของฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามทา ให้ไม่มีฝ่ายใด
พอใจผลการประนีประนอมที่ได้มาเลย
• การที่ฝ่ายสัมพันธมิตรไม่รื้อฟื้นความสัมพันธ์หรือทาให้เยอรมนีอ่อนแออย่าง
ถาวร ทาให้สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นปัจจัยหลักซึ่งนาไปสู่ความขัดแย้งในภายหลัง
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สงครามโลกครั้งที่ 2
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles):
มาตรการที่มีต่อเยอรมนี
การจากัดทางกฎหมาย
• ข้อ 227 แจ้งข้อหาแก่จักรพรรดิแห่งเยอรมนี จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ในฐานะ
ก่ออาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ นอกจากนี้ยังถูกพิจารณาว่ามีความผิดฐาน
อาชญากรรมสงคราม
• ข้อ 228-230 ระบุถึงอาชญากรสงครามชาวเยอรมันที่เกี่ยวข้อง
• ข้อ 231 ("อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") ได้ถือว่าเยอรมนีเป็น
ฝ่ายเริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสียหายที่ส่งผล
ประทบต่อพลเรือนของกลุ่มประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles):
มาตรการที่มีต่อเยอรมนี
การกาหนดกาลังทหาร
ตามที่ได้ระบุไว้ในส่วนที่ 5 ของสนธิสัญญาแวร์ซายว่า "ในความพยายาม ที่จะเริ่มต้นการจากัด
อาวุธของนานาประเทศนั้น เยอรมนีจาเป็นต้องยอมรับและปฏิบัติตามอย่างเข้มงวด ซึ่งปริมาณของ
กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศจะต้องเป็นไปตามที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้“
• แคว้นไรน์แลนด์เป็นเขตปลอดทหาร ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองร่วมกันระหว่าง
สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส
• กองทัพเยอรมันถูกจากัดทหารเหลือเพียง 100,000 นาย การประกาศระดมพลถูกล้มเลิก
• ตาแหน่งทหารชั้นประทวนจะได้ต้องยกเลิกไปเป็นเวลา 12 ปี และตาแหน่งนายทหาร
ชั้นสัญญาบัตรจะต้องได้รับการยกเลิกไปเป็นเวลา 25 ปี
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles):
มาตรการที่มีต่อเยอรมนี
การกาหนดกาลังทหาร
• ห้ามทาการผลิตอาวุธในเยอรมนี และห้ามทาการครอบครองรถถัง ยานยนต์หุ้มเกราะ
เครื่องบินรบและปืนใหญ่ทั้งสิ้น
• ห้ามเยอรมนีนาเข้าและส่งออกอาวุธ รวมไปถึงการผลิตและการครอบครองแก๊สพิษ
• กาลังพลกองทัพเรือถูกจากัดลงเหลือ 15,000 นาย เรือรบ 6 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 10,000
เมตริกตัน) เรือลาดตระเวน 6 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 6,000 เมตริกตัน) เรือพิฆาตตอร์ปิโด 12 ลา
(น้าหนักเรือไม่เกิน 800 เมตริกตัน) และเรือยิงตอร์ปิโด 12 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 200 เมตริกตัน)
เยอรมนีห้ามมีเรือดาน้าในครอบรอง
• การปิดล้อมทางทะเลต่อเรือถูกสั่งห้าม
สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles):
มาตรการที่มีต่อเยอรมนี
การกาหนดพรมแดน
• จากสนธิสัญญาแวร์ซาย ได้กาหนดให้เยอรมนีสูญเสียอาณานิคมทั้งหมด รวมไปถึงดินแดน
บางส่วนของแผ่นดินแม่ โดยดินแดนที่สาคัญ ได้แก่ ดินแดนปรัสเซียตะวันตก ซึ่งต่อมาได้
กลายเป็นสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง และยังต้องสูญเสียฉนวนโปแลนด์และทางออกสู่ทะเลบอล
ติก นับตั้งแต่ผลของการแบ่งโปแลนด์ และทาให้แคว้นปรัสเซียตะวันออกถูกกีดกันออกไปจาก
แผ่นดินเยอรมนีเป็นดินแดนแทรก
• ยกดินแดนฮุลทชิน ของอัปเปอร์ซิลีเซีย ให้แก่เชโกสโลวาเกีย (คิดเป็นดินแดน 333 ตาราง
กิโลเมตร ประชากรประมาณ 49,000 คน) โดยปราศจากการลงประชามติ
• ยกทางตะวันออกของแคว้นอัปเปอร์ซิลีเซียให้แก่โปแลนด์ (คิดเป็นดินแดน 3,214 ตาราง
กิโลเมตร ประชากรประมาณ 965,000 คน) โดย 2 ใน 3 รวมเข้ากับเยอรมนี และอีก 1 ใน 3
รวมเข้ากับโปแลนด์ตามผลของการลงประชามติ

More Related Content

What's hot

โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือsuchinmam
 

What's hot (20)

ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่ 1

สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1baifernbaify
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่ 1 (20)

สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
World War I
World War IWorld War I
World War I
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

สงครามโลกครั้งที่ 1

  • 2. สงครามโลกครั้งที่ 1 (World War I หรือ First World War) • เรียกได้ว่าเป็นครั้งแรกของความขัดแย้งระดับโลก หรือเป็นที่รู้จักกันว่า “สงครามครั้งยิ่งใหญ่” (Great War) • สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1914 (พ.ศ. 2457) ถึงปี 1918 (พ.ศ. 2461) ซึ่ง กินระยะเวลา 4 ปี 5 เดือน • คาพูดของวูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) ประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งดารงตาแหน่งตลอดช่วงที่เกิดสงครามโลก ครั้งที่ 1 เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ปี ค.ศ. 1919 ที่กล่าวไว้ อย่างมีความหวังว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 คือ “สงครามเพื่อยุติสงคราม ทั้งมวล” (War to End All Wars) คุณคิดว่าอุดมคตินี้มันจะเป็นไปได้ไหม ?
  • 3. สงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) • เป็นความขัดแย้งระหว่างมหาอานาจ 2 ฝ่าย คือ 1) ฝ่ายมหาอานาจกลาง หรือไตรพันธมิตร (Triple Alliance) ประกอบด้วย ออสเตรีย – ฮังการี จักรวรรดิเยอรมนี จักรวรรดิออตโตมัน ราชอาณาจักรบัลแกเรีย 2) ฝ่ายมหาอานาจไตรภาคี (พันธมิตร) (Triple Entente) ประกอบด้วย บริเตนใหญ่ (อังกฤษ) ราชอาณาจักรอิตาลี สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส จักรวรรดิรัสเซีย และพันธมิตร • ในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีทหารเข้าร่วมรบในสมรภูมิถึง 65 ล้านคน มีทหารเสียชีวิตราว 9 ล้านคน โดยทหารเยอรมันเสียชีวิต 1,950,000 คน รัสเซีย 1,700,000 คน และทหาร ฝรั่งเศส 1,900,000 คน ส่วนพลเรือนนั้นเสียชีวิตหลายสิบล้านคน
  • 4. สงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) • การรบเริ่มขึ้นหลังการลอบสังหารมกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย – ฮังการี และสิ้นสุดลง ด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลาง หรือ Triple Alliance • มีการทาสนธิสัญญาแวร์ซายส์ บังคับให้เยอรมนีและพันธมิตรเสียค่าปฏิกรรมสงคราม ชดใช้จานวนมหาศาลและเสียดินแดนที่เป็นอาณานิคมให้แก่ฝ่าย Triple Entente
  • 6. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 1. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism) เป็นความรู้สึกรักและภูมิใจในชาติของตนอย่างรุ่นแรง 2. ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) ชาติมหาอานาจในยุโรปได้ขยายอานาจและ อิทธิพลออกไปสู่ดินแดนนอกทวีป 3. การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป (Alliance System) ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่ สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอานาจยุโรปถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย 4. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธ ทั้งบางบกและทางทะเล (Militarism) การเจริญเติบโตของลัทธิชาตินิยมและลัทธิจักรวรรดินิยมนาไปสู่ การใช้กองกาลังทหารและสะสมอาวุธทางทหารที่เพิ่มขึ้น
  • 7. ผลของการปฏิวัติอุสาหกรรมของโลกตะวันตก ที่เกิดขึ้นทาให้ 1. การเพิ่มของจานวนประชากร 2. การขยายตัวของสังคมเมือง 3. การแสวงหาอาณานิคมและลัทธิจักรวรรดินิยม 4. ความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรม
  • 8. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 1. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism) • การเกิดลัทธิชาตินิยมจากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ทาให้เกิดระบบรวมรัฐชาติ สร้างระบบรวมอานาจเข้าสู่ส่วนกลาง รัฐชาติในประเทศยุโรปต่างแสวงหาความเป็น มหาอานาจ ทั้งทางทหารและเศรษฐกิจ • รัฐชาติหมายถึง รัฐหรือประเทศที่ประชาชนมีความรู้สึกผูกพันกัน มีความสามัคคี ภาคภูมิใจในความเป็นชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ความรักชาติที่รุนแรงจน เป็นลัทธิชาตินิยม ทาให้เชื่อว่าชาติตนเหนือกว่าชาติอื่น ประเทศของตนเองมีความ ยิ่งใหญ่และประเทศอื่นอ่อนด้อยกว่าตน ผลักดันชาติของตนได้เปรียบชาติอื่นไม่ว่า ด้านเศรษฐกิจ หรือการทหาร นาไปสู่การแข่งขันอานาจกัน จนกลายเป็นสงคราม เช่น สงครามการรวมอิตาลี การรวมเยอรมนี จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 9. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 2. ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) • ลัทธิจักรวรรดินิยม เป็นแนวความคิดของชาติมหาอานาจในยุโรปที่จะขยาย อานาจ และอิทธิพลของตนเข้าครอบครองดินแดนที่ล้าหลังและด้อย ความเจริญในทวีปต่างๆ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางการเมืองและ เศรษฐกิจ เช่น แหล่งวัตถุดิบ และตลาดระบายสินค้า ชาวยุโรปเข้าครอง ดินแดนของชนชาติต่างๆ ในรูปของการล่าอาณานิคม (Colonization) • ลัทธิจักรวรรดินิยมเริ่มจากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ทาให้ ต้องการแหล่งวัตถุดิบและตลาดสาหรับระบายสินค้าที่ผลิต • มหาอานาจยุโรป เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ปรัสเซีย (เยอรมนี) เนเธอร์แลนด์ ต่างแข่งขันกัน ขยายอานาจ เพื่อสร้างอาณาจักร โดยการครอบครองดินแดนในทวีปเอเชีย อเมริกากลาง และ อัฟริกา ครอบงาทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิต เพื่อเป็นแหล่งเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ให้เมืองแม่ ได้เปรียบในการแข็งขันมากขึ้น
  • 10. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) ลัทธิจักรวรรดินิยม มีผลกระทบต่อการเมืองการปกครองของประเทศต่างๆ ดังนี้ 1. ทาให้ชาติมหาอานาจขัดแย้งในผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน ส่งผลให้บรรยากาศ ทางการเมืองของโลกเข้าสู่ภาวะตึงเครียด และนาไปสู่ส่งครามในที่สุด 2. ทาให้ชาติตะวันตกมีข้ออ้างอันชอบธรรมในการยึดครองดินแดนต่างๆ เป็น อาณานิคมของตน เพราะถือเป็นภาระหน้าที่ของคนผิวขาวที่จะนาอารยธรรมความ เจริญไปเผยแพร่ยังดินแดนที่ล้าหลังและห่างไกลความเจริญ ส่งผลให้ประชากรใน ดินแดนอาณานิคมเกิดการซึมซับในวัฒนธรรม วิถีการดาเนินชีวิต ความคิด และ ค่านิยมแบบตะวันตก
  • 11. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 3. การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป (Alliance System) • ในปี ค.ศ. 1914 เป็นเวลาที่สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้น ซึ่งขณะนั้นมหาอานาจยุโรป ถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย • ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ได้ทาสนธิสัญญา พันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliance) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไปและอิตาลีเข้ามา กลุ่มนี้จึงประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี • อีกฝ่ายหนึ่งฝรั่งเศสกับรัสเซีย ได้ทาสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมา อังกฤษได้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรจึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี (Triple Entente)
  • 12. กลุ่มพันธมิตร จักรวรรดิอังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย เยอรมัน อิตาลี ออสเตรีย-ฮังการี มหาอานาจทั้ง 2 กลุ่ม พยายามที่จะโน้มน้าวให้ประเทศอื่นๆ เข้ามาร่วม เป็นพันธมิตรของตน ต่างฝ่ายต่างก็ไม่ยินยอมกันแข่งกันสะสมกาลังอาวุธ เมื่อเกิดข้อขัดแย้งที่รุนแรง จึงหาทางออกด้วยการทาสงคราม
  • 13.
  • 14. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 4. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธทั้งบางบกและทางทะเล (Militarism) • โดยต่างประเทศต้องการพยายามสร้างอาวุธให้ทัดเทียมชาติศตรู อันเนื่องมาจากความระแวง สงสัย หวาดกลัวซึ่งกันและกัน เช่น เยอรมนี แข่งขันกันด้านอาวุธทางทะเล เยอรมนีแข่งขันกันขยายกาลังพลทางบกกับ ฝรั่งเศส
  • 15.
  • 16. จักรวรรดิสาคัญในยุโรปก่อนสงครามใหญ่จะปะทุ : จักรวรรดิอังกฤษหรือจักรวรรดิบริเทน • ในศตวรรษที่ 19 จักวรรดิอังกฤษนับเป็นมหาอานาจที่น่าเกรงขามมาก ที่สุด โดยเป็นทั้งมหาอานาจทางทะเล มีอาณานิคมโพ้นทะเลมากที่สุด จนได้ชื่อว่า “ดินแดนพระอาทิตย์ไม่ตกดิน (The sun never set in the British Empire)” เป็นประเทศอุตสาหกรรมชั้นนาและมั่งคั่งที่สุดด้วย
  • 18. ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1 • การลอบปลงพระชนม์เจ้าชายฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ องค์รัชทายาทของจักรวรรดิ ออสเตรีย- ฮังการี โดยฝีมือของกัฟริโล ปรินซิปชาวบอสเนีย ออสเตรีย-ฮังการี ขณะเสด็จประพาสนครหลวงแคว้นบอสเนีย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 จึง ประกาศสงครามกับเซอร์เบีย โดยมีรัสเซียเข้ามาช่วยเซอร์เบีย เยอรมนีจึงประกาศ สงครามกับรัสเซีย ฝรั่งเศส และอังกฤษเข้าร่วมมือกับรัสเซีย
  • 19. หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 1. สร้างข้อตกลงแห่งสันติภาพที่ไม่ปิดบัง ตรงไปตรงมา ซึ่งจะทาให้ปราศจากความ เข้าใจส่วนตัวนานาชาติ แต่ควรจะเป็นการทูตที่เปิดเผยและอยู่ในสายตาของ สาธารณชน 2. เปิดเสรีในการเดินทางทางทะเล ซึ่งเป็นเขตน่านน้าสากล ทั้งในยามสงบและยาม สงคราม ยกเว้นแต่ว่าจะถูกปิดกั้นจากการกระทาของนานาชาติเพื่อการดารงไว้ซึ่ง ข้อตกลง นานาชาติ 3. การยกเลิกการกีดกันทางการค้า และการสร้างความเท่าเทียมกันทางการค้า ระหว่างประเทศซึ่งได้ยินยอมในสันติภาพ และมีส่วนร่วมในการดารงรักษามัน ไว้
  • 20. หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 4. ให้ความมั่นใจว่าจะมีการอาวุธยุทธภัณฑ์ของกองทัพนานาชาติลงจนถึงจุดที่ มีความปลอดภัย ต่ากว่าความเสี่ยงของสงคราม และสามารถป้องกันประเทศของตนเองเท่านั้น 5. ให้ความยุติธรรมอย่างทั่วถึงในการจัดการกับอาณานิคมโพ้นทะเลของทุก ประเทศ รวมไปถึง ให้โอกาสและความสาคัญแก่การประกาศเอกราชของชนพื้นเมืองภายใน อาณานิคม ให้มี น้าหนักเท่ากับประเทศแม่ 6. การถอนเอาอาณาเขตปรัสเซียออกไป และรวมไปถึงรกรากของสหภาพโซเวียตนั้นเป็นการ ปลอดภัยและเสรีในความร่วมมือของ นานาชาติที่จะเสนอโอกาสซึ่งไม่ขัดขวางและไม่อยู่ใน ฐานะที่อับอายในการที่มีสิทธิ์เต็มที่ในการใช้อานาจปกครองตัวเอง เพื่อการพัฒนาทางการเมือง และนโยบายแห่งชาติของตัวเอง รวมไปถึงการให้ความรับรองแก่สหภาพโซเวียตที่จะเข้าสู่เวที นานาชาติภายใต้ สถาบันที่ได้จัดตั้งขึ้นมาเอง และนอกจากนั้น ให้ความช่วยเหลือแก่สหภาพโซ เวียตในทุกวิถีทาง การปฏิบัติต่อสหภาพโซเวียตโดยประเทศอื่นๆ ในช่วงเวลาต่อมานั้นก็7เป็น การทดสอบสาหรับจุดประสงค์ของแต่ละประเทศ และเปิดโอกาสให้สหภาพโซเวียตมีความ สนใจของตน ด้วยความใจกว้างและด้วยปัญญา
  • 21. หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 7. เบลเยี่ยมควรจะถูกกาหนดให้ได้รับการฟื้นฟูจากนานาชาติ โดยปราศจากความพยายามที่จะ จากัดเอกราชให้เท่าเทียมกับประเทศเสรีอื่นๆ โดยการกระทาดังกล่าวนั้นจะเป็นการฟื้นฟูความ ไว้วางใจระหว่างประเทศในกฎหมาย ซึ่งพวกเขาได้จัดตั้งเองและตั้งใจแน่วแน่ที่จะสร้าง ความสัมพันธ์กับชาติ อื่นๆ ผลจากการกระทาดังกล่าวจะเป็นการรักษาความมั่นคงของ กฎหมายนานาชาติอีกด้วย 8. ดินแดนของฝรั่งเศสทั้งหมดควรจะได้รับอิสระและฟื้นฟูส่วนที่เสียหายจาก สงคราม และ ความผิดของปรัสเซียต่อฝรั่งเศสในปี 1871 เกี่ยวกับมณฑลแอลซาซ-ลอเรน ซึ่งไม่ได้ชาระ สะสางสันติภาพของโลกมาเป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษ ควรจะถูกทาให้ถูกต้อง เพื่อให้สันติภาพ ได้รับการดูแลรักษาอย่างมั่นคง 9. ควรจะมีการปรับแนวเขตแดนของประเทศอิตาลีควรจะตั้งอยู่บนแนวเขตแดนของชาติที่ สามารถจาได้
  • 22. หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 10. ประชาชนของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเดิม ควรจะได้รับการป้องกันและช่วยเหลือ รวมไป ถึงได้รับโอกาสอย่างเสรีที่จะพัฒนาตนเอง 11. โรมาเนีย เซอร์เบียและมอนเตเนโกรควรจะได้รับการฟื้นฟูจากความเสียหายของสงคราม เซอร์เบียมีอาณาเขตทางออกสู่ทะเล และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบอลข่าลต่อกันนั้นตั้งอยู่บน คาแนะนาของชาติ พันธมิตรตามประวัติศาสตร์บนเส้นของความจงรักภักดีและความรักชาติ และนานาชาติสมควรที่จะรับรองความเป็นอิสระทางการเมืองและทางเศรษฐกิจรวมไป ถึง ความมั่นคงในดินแดนของตน 12. ส่วนแบ่งของตุรกีจากจักรวรรดิออตโตมานเดิมควรจะได้รับความช่วยเหลือให้ มีเอกราช แต่ เชื้อชาติอื่นๆ ซึ่งตอนนี้อยู่ภายใต้การปกครองของตุรกีควรจะได้รับการรับรองถึงความ ปลอดภัย ในชีวิต และโอกาสอย่างเสรีที่จะได้รับการพัฒนาตนเอง และช่องแคบดาร์ดาแนลส์ ควรจะถูกเปิดเป็นเส้นทางเดินเรือเสรีแก่ทุกประเทศ
  • 23. หลักการ 14 ข้อที่อเมริกาเสนอในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 13. รัฐอิสระของโปแลนด์ควรจะถูกสถาปนาขึ้นซึ่งรวมไปถึงดินแดนที่ประชาชน โปแลนด์อาศัย อยู่ ซึ่งควรจะถูกรับรองทางออกสู่ทะเลเป็นของตัวเอง รวมไปถึงความเป็นอิสระทางการเมือง และเศรษฐกิจ และความมั่นคงในดินแดนของตนตามข้อตกลงของนานาชาติ 14. การรวมตัวกันของประชาชาติควรจะถูกก่อตั้งขึ้นภายใต้พันธะที่แน่นอนเพื่อจุด ประสงค์ที่ สามารถให้ความช่วยเหลือกันได้กับทุกฝ่าย และให้การรับรองแก่รัฐที่มีขนาดเล็กกว่าเทียบเท่า กับตนเอง โดยการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึ้นมา
  • 24. อาวุธใหม่ๆ ที่ถูกนามาใช้ในการทาสงครามโลกครั้งที่ 1 • ปืนกล • ปืนใหญ่ • ทุ่นระเบิด • ก๊าซพิษ • เรือดาน้า • เครื่องบินรบ • รถถัง
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 31. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1918 โดยฝ่ายเยอรมนีพ่ายแพ้ยอมยุติสงคราม เพื่อขอเจรจาทาสนธิสัญญาสงบศึกกับฝ่ายพันธมิตร ผลของสงครามได้สร้างความ เสียหายอย่างใหญ่หลวงให้แก่ 2 ฝ่าย คือ 1. ด้านสังคม สงครามโลกครั้งที่ 1 มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บ ทุพพลภาพ และสูญหาย รวมกันไม่ต่ากว่า 40 ล้านคน หลายคนเป็นโรคจิตที่เกิดจากการกลัวภัยสงคราม อีกทั้งเกิดปัญหาชนพลัดถิ่น
  • 37. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 2. ด้านการเมือง ประเทศมหาอานาจเดิม ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี และตุรกี เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ต้องทาสนธิสัญญาสันติภาพที่ประเทศผู้ชนะร่างขึ้น 5 ฉบับ คือ 1) สนธิสัญญาแวร์ซายส์ทากับเยอรมนี 2) สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมงทากับออสเตรีย 3) สนธิสัญญาเนยยี ทากับบัลแกเรีย 4) สนธิสัญญาตริอานองทากับฮังการี และ 5) สนธิสัญญาแซฟส์ทากับตุรกี (ต่อมาเกิดการปฏิวัติในตุรกีจึงมีการทาสนธิสัญญา ใหม่เรียกว่า “สนธิสัญญาโลซานน์”) และยุโรปโดยรวมอ่อนแอลง
  • 38. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 (ต่อ) 3. ด้านเศรษฐกิจ สงครามครั้งนี้มีค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการผลิตอาวุธใหม่ ๆ ที่มี อานาจทาลายล้างสูงกว่าการทาสงครามในอดีต เช่น รถถัง เรือดาน้า แก๊สพิษ ระเบิด เป็นต้น เพื่อหวังชัยชนะหลังสงครามสิ้นสุดฝ่ายแพ้ต้องจ่ายค่าปฏิกรรม สงคราม ส่วนฝ่ายชนะรับผิดชอบเลี้ยงดูผู้ประสบภัยและบูรณะประเทศจนทาให้ เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก ระบบการเงินทั่วโลกกระทบกระเทือน
  • 39. ผลกระทบของสงคราม 1. มีการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ (League Of Nations) เพื่อ แก้ปัญหาระหว่างประเทศด้วยสันติวิธี และเพื่อป้องกันการเกิด สงครามในอนาคต 2. เกิดประเทศเอกราชใหม่ ๆ เช่น ยูโกสลาเวีย เชคโกสโลวาเกีย โปแลนด์ ลัทเวีย ลิทัวเนีย เอสโทเนีย 3. แยกฮังการี ออกจาก ออสเตรีย 4. ประเทศเยอรมนี ออสเตรีย และตูรกี เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ ระบบสาธารณรัฐ
  • 40. ผลกระทบของสงคราม 5. มีการจัดทาสนธิสัญญาสงบศึกเพื่อเป็นการลงโทษแก่ประเทศผู้แพ้ สงคราม โดยข้อกล่าวหาว่าเป็นฝ่ายผู้ก่อสงคราม ผลของสัญญาเช่น ผู้แพ้ ต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม เสียอานาจการปกครองตนเอง เสียอานาจ ทางการค้า และต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล ซึ่งกลายมา เป็นสาเหตุและชนวนที่จะนาไปสู่การเกิดของสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน ค.ศ.1939-1945
  • 41. องค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) • องค์การสันนิบาตชาติเป็นองค์การกลางระหว่างประเทศ ที่ตั้งขึ้นตาม สนธิสัญญาแวร์ซาย และสนธิสัญญาอื่น ๆ ที่ทาขึ้นตอนเสร็จสิ้น สงครามโลกครั้งที่ 1 โดยประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน แห่ง สหรัฐอเมริกา เพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ • โดยได้สถาปนาเป็นองค์การระหว่างประเทศเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 สานักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
  • 43. การดาเนินงาน มีองค์กรต่างๆทาหน้าที่และรับผิดชอบ ดังนี้ - สมัชชา (General Assembly) เป็นที่ประชุมใหญ่ประกอบด้วยผู้แทนจาก ประเทศสมาชิกต่างๆ มีสิทธิออกเสียงได้ประเทศละ 1 เสียง - คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยสมาชิกประเภทถาวร คืออังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น เยอรมณี รัสเซียสาหรับสหรัฐอเมริกาไม่ได้เข้าเป็น สมาชิกเพราะมีนโยบายไม่เข้าไปแทรกแซงกิจการของประเทศยุโรป
  • 44. - สานักเลขาธิการ (Secretariat) ทาหน้าที่ธุรการทั่วไป - ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ( The International court of Justice) ทาหน้าที่พิจารณากรณีพิพาทระหว่างประเทศสมาชิก มีสานักงานตั้งอยู่ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ - องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization) มีฐานะเป็นองค์กรอิสระ แต่ขึ้นตรงต่อองค์การสันนิบาตชาติโดยตรง
  • 46. ข้อสังเกต • ในการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ได้เข้าเป็น สมาชิกเพราะต้องปฏิบัติตามลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งมี นโยบายไม่ยุ่งเกี่ยวหรือผูกพันทางการเมืองกับประเทศทางยุโรป นับเป็น ความบกพร่องที่สาคัญที่สุดขององค์การสันนิบาตชาติ
  • 47. อุปสรรคขององค์การ • อุปสรรคสาคัญที่สุดอันหนึ่ง คือ ไม่มีสหรัฐอเมริการ่วมเป็นสมาชิกของ องค์การด้วย สันนิบาตชาติประชุมกันเป็นสมัยประชุมครั้งสุดท้ายเมื่อ วันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1939 และหมดสภาพเป็นองค์การระหว่าง ประเทศลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 ทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งหมดได้ โอนไปให้แก่องค์การสหประชาชาติ
  • 48. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) • เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทาขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 • ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอานาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วย สนธิสัญญาฉบับอื่น • ผลจากสนธิสัญญาฯ ได้กาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงคราม แต่เพียงผู้เดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใต้ข้อตกลงข้อ 231 (ในภายหลังรู้จักกันว่า "อนุประโยค ความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") และในข้อ 232-248 เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจากัดอาณา เขตดินแดน รวมไปถึงต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจานวน มหาศาล (ราว 31,400 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือ 6,600 ล้านปอนด์)
  • 49. กราฟนี้แสดงการเปรียบเทียบจานวนทหารที่เสียชีวิตจากสงครามหลักๆ บางส่วนใน 238 ปีที่ผ่านมา โดยแสดงให้เห็นการเสียชีวิตของทหารโดยรวมของแต่ละสงคราม ซึ่งสังเกตเห็นว่า 5 สงครามล่าสุด ยกเว้นสงครามอ่าวที่ได้ก่อให้เกิดการเสียชีวิตจานวนมากกว่าสงครามก่อนหน้านี้
  • 50. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) (ต่อ) • สนธิสัญญาดังกล่าวได้ถูกบ่อนทาลายด้วยเหตุการณ์หลายอย่างที่เกิดขึ้นภายหลัง ปี ค.ศ. 1932 จนกระทั่งร้ายแรงขึ้นเมื่อคริสต์ทศวรรษ 1930 การแก่งแย่งและ เป้าหมายที่ขัดแย้งกันเองของฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามทา ให้ไม่มีฝ่ายใด พอใจผลการประนีประนอมที่ได้มาเลย • การที่ฝ่ายสัมพันธมิตรไม่รื้อฟื้นความสัมพันธ์หรือทาให้เยอรมนีอ่อนแออย่าง ถาวร ทาให้สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นปัจจัยหลักซึ่งนาไปสู่ความขัดแย้งในภายหลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สงครามโลกครั้งที่ 2
  • 51. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles): มาตรการที่มีต่อเยอรมนี การจากัดทางกฎหมาย • ข้อ 227 แจ้งข้อหาแก่จักรพรรดิแห่งเยอรมนี จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ในฐานะ ก่ออาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ นอกจากนี้ยังถูกพิจารณาว่ามีความผิดฐาน อาชญากรรมสงคราม • ข้อ 228-230 ระบุถึงอาชญากรสงครามชาวเยอรมันที่เกี่ยวข้อง • ข้อ 231 ("อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") ได้ถือว่าเยอรมนีเป็น ฝ่ายเริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสียหายที่ส่งผล ประทบต่อพลเรือนของกลุ่มประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
  • 52. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles): มาตรการที่มีต่อเยอรมนี การกาหนดกาลังทหาร ตามที่ได้ระบุไว้ในส่วนที่ 5 ของสนธิสัญญาแวร์ซายว่า "ในความพยายาม ที่จะเริ่มต้นการจากัด อาวุธของนานาประเทศนั้น เยอรมนีจาเป็นต้องยอมรับและปฏิบัติตามอย่างเข้มงวด ซึ่งปริมาณของ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศจะต้องเป็นไปตามที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้“ • แคว้นไรน์แลนด์เป็นเขตปลอดทหาร ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองร่วมกันระหว่าง สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส • กองทัพเยอรมันถูกจากัดทหารเหลือเพียง 100,000 นาย การประกาศระดมพลถูกล้มเลิก • ตาแหน่งทหารชั้นประทวนจะได้ต้องยกเลิกไปเป็นเวลา 12 ปี และตาแหน่งนายทหาร ชั้นสัญญาบัตรจะต้องได้รับการยกเลิกไปเป็นเวลา 25 ปี
  • 53. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles): มาตรการที่มีต่อเยอรมนี การกาหนดกาลังทหาร • ห้ามทาการผลิตอาวุธในเยอรมนี และห้ามทาการครอบครองรถถัง ยานยนต์หุ้มเกราะ เครื่องบินรบและปืนใหญ่ทั้งสิ้น • ห้ามเยอรมนีนาเข้าและส่งออกอาวุธ รวมไปถึงการผลิตและการครอบครองแก๊สพิษ • กาลังพลกองทัพเรือถูกจากัดลงเหลือ 15,000 นาย เรือรบ 6 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 10,000 เมตริกตัน) เรือลาดตระเวน 6 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 6,000 เมตริกตัน) เรือพิฆาตตอร์ปิโด 12 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 800 เมตริกตัน) และเรือยิงตอร์ปิโด 12 ลา (น้าหนักเรือไม่เกิน 200 เมตริกตัน) เยอรมนีห้ามมีเรือดาน้าในครอบรอง • การปิดล้อมทางทะเลต่อเรือถูกสั่งห้าม
  • 54. สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles): มาตรการที่มีต่อเยอรมนี การกาหนดพรมแดน • จากสนธิสัญญาแวร์ซาย ได้กาหนดให้เยอรมนีสูญเสียอาณานิคมทั้งหมด รวมไปถึงดินแดน บางส่วนของแผ่นดินแม่ โดยดินแดนที่สาคัญ ได้แก่ ดินแดนปรัสเซียตะวันตก ซึ่งต่อมาได้ กลายเป็นสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง และยังต้องสูญเสียฉนวนโปแลนด์และทางออกสู่ทะเลบอล ติก นับตั้งแต่ผลของการแบ่งโปแลนด์ และทาให้แคว้นปรัสเซียตะวันออกถูกกีดกันออกไปจาก แผ่นดินเยอรมนีเป็นดินแดนแทรก • ยกดินแดนฮุลทชิน ของอัปเปอร์ซิลีเซีย ให้แก่เชโกสโลวาเกีย (คิดเป็นดินแดน 333 ตาราง กิโลเมตร ประชากรประมาณ 49,000 คน) โดยปราศจากการลงประชามติ • ยกทางตะวันออกของแคว้นอัปเปอร์ซิลีเซียให้แก่โปแลนด์ (คิดเป็นดินแดน 3,214 ตาราง กิโลเมตร ประชากรประมาณ 965,000 คน) โดย 2 ใน 3 รวมเข้ากับเยอรมนี และอีก 1 ใน 3 รวมเข้ากับโปแลนด์ตามผลของการลงประชามติ