SlideShare a Scribd company logo
สงครำมโลกครั้งที่ 2 
จัดทำโดย 
1. นางสาวสุทธิดา มานิตย์โชติพิสิฐ ม.6.1 เลขที่ 35 
2. นางสาวสุพิชญา ชุติมาวงศ์ ม.6.1 เลขที่ 37 
เสนอ 
อาจารย์ปรางสุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
รายวิชา ส33102 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
สำเหตุของสงครำม 
1. ลัทธิจักรวรรดินิยม หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มหาอำนาจก็ 
ยังเเข่งขันเเสวงหาอาณานิคมหรือขยายดินเเดนด้วยการรุกราน 
2. ลัทธิชำตินิยม ความไม่ยุติธรรมในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ทำให้ 
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำเยอรมนี พัฒนาเยอรมนีจนแข็งแกร่ง และมี 
นโยบายบุกรุกดินแดน (นโยบายสร้างชาติภายใต้ระบอบเผด็จการ 
นาซี ระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ในอิตาลี และเผด็จการทหารใน 
ญี่ปุ่น) 
I’m Adolf Hitler
3. ลัทธินิยมทำงทหำร มีผู้นำหลายประเทศได้สร้างความเข้มแข็ง 
ทางทหารและสะสมอาวุธร้ายแรงต่างๆ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลีและ 
ญี่ปุ่น ทำให้มหาอำนาจต่างไม่ไว้ใจซึ่งกันเเละกัน 
4. มหำอำ นำจเเบ่งออกเป็น 2 ฝ่ำย คือฝ่ายอักษะ ประกอบด้วย 
เยอรมนี อิตาลี เเละญี่ปุ่น ซึ่งดำเนินนโยบายไปในทางด้านการ 
รุกรานเเละขยายอำนาจ กับฝ่ายพันธมิตร ได้เเก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส 
เเละสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นฝ่ายประชาธิปไตยตะวันตก 
VS 
เยอรมนี 
อิตาลี 
ญี่ปุ่น 
ฝ่ำยอักษะ 
อังกฤษ 
ฝรั่งเศส 
อเมริกา 
ฝ่ำยพันธมิตร
5. ควำมอ่อนเเอขององค์กำรสันนิบำตชำติ ไม่สามารถหยุดยั้งการ 
รุกรานของมหาอำนาจ เพราะสันนิบาตไม่มีกองทหารและไม่มี 
อำนาจยับยั้งข้อพิพาทระหว่างประเทศได้ อีกทั้งสหรัฐอเมริกา 
ไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกจึงทำให้สันนิบาตชาติอ่อนแอ
สถำนกำรณ์ของสงครำม 
1. วิกฤตกำรณ์ก่อนเกิดสงครำมโลก 
เยอรมณีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย ใน ค.ศ. 1935 และเริ่ม 
รุกรานประเทศต่างๆ และยังร่วมกับอิตาลีสนับสนุนฝ่าย 
ชาตินิยมของนายพลฟรังโกในสงครามกลางเมืองของสเปน 
อังกฤษและฝรั่งเศสตระหนักว่าเยอรมนีและอิตาลีต้องการทำ 
สงครามแน่แล้วจึงเรียกระดมพล
2. กองทัพเยอรมันบุกโปแลนด์ทำให้เกิดสงครำมโลก เนื่องจาก 
เยอรมนีเรียกร้องขอฉนวนดานซิกคืนจากโปแลนด์และบุก 
โปแลนด์ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 อังกฤษเรียกร้องให้เยรมนี 
ถอนทหารแต่ไม่เป็นผล อังกฤษกับฝรั่งเศสจึงประกาศสงครามกับ 
เยอรมนีเกิดเป็นสงครามโลกครั้งที่ 2
3. สงครำมในทวีปยุโรป 
ในขณะที่กองทัพเยอรมันบุกเข้าไปในโปแลนด์จนถึง 
วอร์ซอ สหภาพโซเวียตก็บุกเข้าไปในโปแลนด์ทางด้าน 
ตะวันออก รัฐบาลโปแลนด์ต้องยอมแพ้เมื่อ 27 กันยายน 
ค.ศ. 1939 และถูกแบ่งประเทศเป็น 2 ส่วน คือ สหภาพโซ 
เวียตได้ดินแดนทางตะวันออก และส่วนที่เหลือเป็นของ 
เยอรมัน
เยอรมันสามารถยึดครองประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์ ต่อจากนั้น 
จึงบุกเข้ายึดเนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส และยึดปารีสได้ใน 
วันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1940 ในศึกนี้อิตาลีได้ส่งกองทัพโจมตี 
ฝรั่งเศสทางด้านเทือกเขาแอลป์ หลังจากนั้นจึงมีการเซ็นสัญญาสงบ 
ศึกระหว่างฝรั่งเศสกับเยอรมัน และอิตาลีตามลำดับ ฝรั่งเศสตกอยู่ 
ภายใต้การยึดครองของเยอรมนี
4. สงครำมระหว่ำงเยอรมนีกับอังกฤษ เยอรมนีส่งกองทัพอากาศ 
เข้าโจมตีอังกฤษระหว่างเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1940 ถึงเดือน 
พฤษภาคม ค.ศ. 1941 แต่อังกฤษสามารถต้านทัพเยอรมันได้ 
กองทัพเยอรมันจึงเปลี่ยนเป้าหมายไปโจมตีสหภาพโซเวียต 
5. สงครำมในคำบสมุทรบอลข่ำน เยอรมนีต้องการจะตัดเส้นทาง 
ของอังกฤษด้านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจึงบุกลงมาในคาบสมุทรบอล 
ข่าน ฮังการีและโรมาเนียเข้าเป็นพันธมิตรกับเยอรมนีในเดือน 
มีนาคม ค.ศ. 1941 ต่อมากองทัพเยอรมันเข้าสมทบกับกองทัพ 
อิตาลี และเข้ายึดครองประเทศกรีซได้
6. สงครำมระหว่ำงเยอรมนีกับโซเวียต ถึงแม้ทั้งสองประเทศจะตก 
ลงทำสัญญาการค้าและสัญญาไม่รุกรานกันใน ค.ศ. 1939 แต่เมื่อเกิด 
สงครามแล้วโซเวียตส่งกองทัพเข้าไปยึดครองและตั้งฐานทัพใน 
โปแลนด์แถบทะเลบอลติก ทหารเยอรมันจึงเข้ารุกรานโซเวียตเมื่อ 
วันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ยึดโปแลนด์ส่วนที่สหภาพโซเวียต 
ครอบครองไว้ได้ และยังตีได้แคว้นยูเครน เมืองเคียฟ และรัสเซีย 
ภาคใต้ รุกต่อไปยังเมืองเลนินกราด และกรุงมอสโก แต่กองทัพ 
สหภาพโซเวียตสามารถต้านทานไว้ได้
7. สงครำมในทวีปแอฟริกำ เป็นการรบระหว่างอังกฤษกับอิตาลี 
เมื่ออิตาลีแพ้เยอรมนีจึงส่งกองทหารมาช่วย อังกฤษก็ได้ทัพหนุน 
เช่นกัน กองทัพพันธมิตรโจมตีจนเยอรมันต้องยอมแพ้ทตีู่นีเซีย ใน 
เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1943 
8. พันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อิตำลี หลังจากได้ชัยชนะที่ตูนีเซียแล้ว 
พันธมิตรก็ยกทัพขึ้นบกที่อิตาลียึดเกาะซิซิลี รุกข้ามไปยังคาบสมุทร 
อิตาลีและบังคับให้มุสโสลินีลาออก แม้เยอรมนีช่วยสนับสนุนให้ 
มุสโสลินีจัดตั้งรัฐบาลขึ้นอีก แต่ในที่สุดมุสโสลินีก็ถูกประชาชนจับ 
ประหารชีวิตในวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1945 กองทัพพันธมิตรเข้า 
ยึดครอง มิลาน ตูริน ตริเอสเต เป็นการสิ้นสุดสงครามในอิตาลี
9. กองทัพพันธมิตรบุกยุโรปตะวันตก ในวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 
1944 กองทัพพันธมิตรในบังคับบัญชาของนายพล ดไวต์ ดี. ไอ 
เซนฮาวร์ (General Dwight D. Eisenhower) ได้ยกพลขึ้นที่หาด 
นอร์มองดีใฝรั่งเศสและสามารถรุกข้ามแม่น้ำไรน์เข้าสู่ดินแดน 
เยอรมัน ขณะเดียวกันกองทัพสหภาพโซเวียตก็บุกผ่านโปแลนด์เข้า 
มาบรรจบในดินแดนเยอรมันพร้อมกัน เยอรมนีจึงยอมแพ้อย่างไม่ 
มีเงื่อนไขในวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
10. สงครำมด้ำนเอเชีย-แปซิฟิก เมื่อฝรั่งเศสประกาศยอมแพ้ 
เยอรมนีใน ค.ศ. 1940 ญี่ปุ่นก็ส่งทหารเข้ายึดอินโดจีนของฝรั่งเศส 
อันประกอบด้วย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม 
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ และจีนต่อต้านญี่ปุ่น 
โดยวิธีทางเศรษฐกิจ คือ งดจำหน่ายสินค้าที่เป็นประโยชน์ต่อ 
สงครามให้ญี่ปุ่น 
วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ญี่ปุ่นยกพลโจมตีฐานทัพเรือของ 
สหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล (Pearl Harbour) ในฮาวาย รวมทั้งเกาะ 
ฮ่องกงของอังกฤษ หมู่เกาะฟิลิปปินส์ของสหรัฐอเมริกา และเมือง 
โกตาบารูในแหลมมลายู
หลังจากนั้นญี่ปุ่นก็เคลื่อนทัพบุกยึดประเทศต่างๆ ในเอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งไทยด้วย เพื่อใช้เป็นทางผ่านไปพม่าและ 
คาบสมุทรมลายูกับสิงคโปร์ 
หลังจากญี่ปุ่นยึดสิงคโปร์ได้แล้ว ก็ใช้เป็นฐานทัพส่งกองเรือ 
รบและเรือดำน้ำไปทำสงครามกับอังกฤษในมหาสมุทรอินเดีย
ต่อมาในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1942 สหรัฐอเมริกาเริ่มส่ง 
กำลังรบมาทางด้านตะวันออก และสามารถเอาชนะญี่ปุ่นได้ใน 
ค.ศ. 1945 เมื่ออเมริกาชนะศึกกับญี่ปุ่นที่อิโวจิมาและโอกินาวา 
และเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนน แต่ญี่ปุ่นไม่ปฏิบัติตาม 
สหรัฐอเมริกาจึงทิ้งระเบิดปรมณูลูกแรกที่เมืองฮิโรชิมะ (ลิตเติล 
บอย) ในวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 และในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 
1945 ที่เมืองนะงะซะกิ (แฟตแมน) ญี่ปุ่นจึงยอมจำนน ในวันที่ 14 
สิงหาคม ค.ศ. 1945 และลงนามในสัญญาสงบศึกเมื่อวันที่ 2 
กันยายน ค.ศ. 1945 สงครามโลกด้านแปซิฟิกก็ได้สิ้นสุดลง
1. ด้ำนสังคม สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้มีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 
68 ล้านคน นอกจากนี้ยังมีผู้ประสบเคราะห์กรรมจากภัยสงคราม 
อื่น ๆ เช่น บาดเจ็บ ทุพพลภาพ เป็นโรคจิต โรคระบาด ขาด 
อาหาร หายสาบสูญ เป็นต้น
2. ด้ำนกำรเมือง ประเทศผู้แพ้สงครามต้องเสียเกียรติภูมิต้องจ่ายค่า 
ปฏิกรรม สงครามต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม และต้องยัง 
ยินยอมปฏิบัติตามสนธิสัญญาต่าง ๆ ที่ฝ่ายชนะสงครามวางเงื่อนไข 
ให้ปฏิบัติ อำนาจของยุโรปเสื่อมลงจึงต้องผนึกกำลังเป็นสหภาพ 
ยุโรป (European Union) ส่วนดินเเดนอาณานิคมที่ชนะ ซึ่ง 
สหรัฐอเมริกาได้ช่วยกอบกู้สถานการณ์สงครามและนำชัยชนะ 
ให้กับฝ่ายพันธมิตรได้ขึ้นมาเป็นผู้นำโลก
3. ด้ำนเศรษฐกิจ ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะ 
ประเทศผู้ริเริ่มสงครามและประเทศมหาอำนาจ ต้องเสียค่าใช้จ่าย 
ไปเป็นจำนวนมาก ประเทศส่วนใหญ่ต้องเผชิญปัญหเศรษฐกิจนาน 
นับ 10 ปีจึงฟื้นตัวได้ ทำให้มีการก่อตั้งองค์การทางการเงินระหว่าง 
ประเทศเพื่อช่วยบูรณะฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เช่น 
ธนาคารโลก และ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ 
(International MonetaryFund = IMF)
อ้ำงอิง 
รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล และคณะ. หนังสือเรียน รำยวิชำ 
พื้นฐำน ประวัติศำสตร์ ม.4-6 เล่ม 2. กรุงเทพ: 
วัฒนาพานิช, (ม.ป.ป.), หน้า 189-196. 
http://thehistory.exteen.com/page/5 
www.sb.ac.th 
www.bannjomyut.com
สงครามโลกครั้งที่ 2

More Related Content

What's hot

สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
Taraya Srivilas
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
Female'PiAtip BoOn Paeng
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
nidthawann
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1supasit2702
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
fsarawanee
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
ssuseradaad2
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
Omm Suwannavisut
 

What's hot (20)

สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 

สงครามโลกครั้งที่ 2

  • 1. สงครำมโลกครั้งที่ 2 จัดทำโดย 1. นางสาวสุทธิดา มานิตย์โชติพิสิฐ ม.6.1 เลขที่ 35 2. นางสาวสุพิชญา ชุติมาวงศ์ ม.6.1 เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ปรางสุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล รายวิชา ส33102 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
  • 2.
  • 3. สำเหตุของสงครำม 1. ลัทธิจักรวรรดินิยม หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มหาอำนาจก็ ยังเเข่งขันเเสวงหาอาณานิคมหรือขยายดินเเดนด้วยการรุกราน 2. ลัทธิชำตินิยม ความไม่ยุติธรรมในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ทำให้ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำเยอรมนี พัฒนาเยอรมนีจนแข็งแกร่ง และมี นโยบายบุกรุกดินแดน (นโยบายสร้างชาติภายใต้ระบอบเผด็จการ นาซี ระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ในอิตาลี และเผด็จการทหารใน ญี่ปุ่น) I’m Adolf Hitler
  • 4. 3. ลัทธินิยมทำงทหำร มีผู้นำหลายประเทศได้สร้างความเข้มแข็ง ทางทหารและสะสมอาวุธร้ายแรงต่างๆ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลีและ ญี่ปุ่น ทำให้มหาอำนาจต่างไม่ไว้ใจซึ่งกันเเละกัน 4. มหำอำ นำจเเบ่งออกเป็น 2 ฝ่ำย คือฝ่ายอักษะ ประกอบด้วย เยอรมนี อิตาลี เเละญี่ปุ่น ซึ่งดำเนินนโยบายไปในทางด้านการ รุกรานเเละขยายอำนาจ กับฝ่ายพันธมิตร ได้เเก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เเละสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นฝ่ายประชาธิปไตยตะวันตก VS เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น ฝ่ำยอักษะ อังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา ฝ่ำยพันธมิตร
  • 5. 5. ควำมอ่อนเเอขององค์กำรสันนิบำตชำติ ไม่สามารถหยุดยั้งการ รุกรานของมหาอำนาจ เพราะสันนิบาตไม่มีกองทหารและไม่มี อำนาจยับยั้งข้อพิพาทระหว่างประเทศได้ อีกทั้งสหรัฐอเมริกา ไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกจึงทำให้สันนิบาตชาติอ่อนแอ
  • 6. สถำนกำรณ์ของสงครำม 1. วิกฤตกำรณ์ก่อนเกิดสงครำมโลก เยอรมณีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย ใน ค.ศ. 1935 และเริ่ม รุกรานประเทศต่างๆ และยังร่วมกับอิตาลีสนับสนุนฝ่าย ชาตินิยมของนายพลฟรังโกในสงครามกลางเมืองของสเปน อังกฤษและฝรั่งเศสตระหนักว่าเยอรมนีและอิตาลีต้องการทำ สงครามแน่แล้วจึงเรียกระดมพล
  • 7. 2. กองทัพเยอรมันบุกโปแลนด์ทำให้เกิดสงครำมโลก เนื่องจาก เยอรมนีเรียกร้องขอฉนวนดานซิกคืนจากโปแลนด์และบุก โปแลนด์ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 อังกฤษเรียกร้องให้เยรมนี ถอนทหารแต่ไม่เป็นผล อังกฤษกับฝรั่งเศสจึงประกาศสงครามกับ เยอรมนีเกิดเป็นสงครามโลกครั้งที่ 2
  • 8. 3. สงครำมในทวีปยุโรป ในขณะที่กองทัพเยอรมันบุกเข้าไปในโปแลนด์จนถึง วอร์ซอ สหภาพโซเวียตก็บุกเข้าไปในโปแลนด์ทางด้าน ตะวันออก รัฐบาลโปแลนด์ต้องยอมแพ้เมื่อ 27 กันยายน ค.ศ. 1939 และถูกแบ่งประเทศเป็น 2 ส่วน คือ สหภาพโซ เวียตได้ดินแดนทางตะวันออก และส่วนที่เหลือเป็นของ เยอรมัน
  • 9. เยอรมันสามารถยึดครองประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์ ต่อจากนั้น จึงบุกเข้ายึดเนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส และยึดปารีสได้ใน วันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1940 ในศึกนี้อิตาลีได้ส่งกองทัพโจมตี ฝรั่งเศสทางด้านเทือกเขาแอลป์ หลังจากนั้นจึงมีการเซ็นสัญญาสงบ ศึกระหว่างฝรั่งเศสกับเยอรมัน และอิตาลีตามลำดับ ฝรั่งเศสตกอยู่ ภายใต้การยึดครองของเยอรมนี
  • 10. 4. สงครำมระหว่ำงเยอรมนีกับอังกฤษ เยอรมนีส่งกองทัพอากาศ เข้าโจมตีอังกฤษระหว่างเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1940 ถึงเดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1941 แต่อังกฤษสามารถต้านทัพเยอรมันได้ กองทัพเยอรมันจึงเปลี่ยนเป้าหมายไปโจมตีสหภาพโซเวียต 5. สงครำมในคำบสมุทรบอลข่ำน เยอรมนีต้องการจะตัดเส้นทาง ของอังกฤษด้านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจึงบุกลงมาในคาบสมุทรบอล ข่าน ฮังการีและโรมาเนียเข้าเป็นพันธมิตรกับเยอรมนีในเดือน มีนาคม ค.ศ. 1941 ต่อมากองทัพเยอรมันเข้าสมทบกับกองทัพ อิตาลี และเข้ายึดครองประเทศกรีซได้
  • 11. 6. สงครำมระหว่ำงเยอรมนีกับโซเวียต ถึงแม้ทั้งสองประเทศจะตก ลงทำสัญญาการค้าและสัญญาไม่รุกรานกันใน ค.ศ. 1939 แต่เมื่อเกิด สงครามแล้วโซเวียตส่งกองทัพเข้าไปยึดครองและตั้งฐานทัพใน โปแลนด์แถบทะเลบอลติก ทหารเยอรมันจึงเข้ารุกรานโซเวียตเมื่อ วันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ยึดโปแลนด์ส่วนที่สหภาพโซเวียต ครอบครองไว้ได้ และยังตีได้แคว้นยูเครน เมืองเคียฟ และรัสเซีย ภาคใต้ รุกต่อไปยังเมืองเลนินกราด และกรุงมอสโก แต่กองทัพ สหภาพโซเวียตสามารถต้านทานไว้ได้
  • 12. 7. สงครำมในทวีปแอฟริกำ เป็นการรบระหว่างอังกฤษกับอิตาลี เมื่ออิตาลีแพ้เยอรมนีจึงส่งกองทหารมาช่วย อังกฤษก็ได้ทัพหนุน เช่นกัน กองทัพพันธมิตรโจมตีจนเยอรมันต้องยอมแพ้ทตีู่นีเซีย ใน เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1943 8. พันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อิตำลี หลังจากได้ชัยชนะที่ตูนีเซียแล้ว พันธมิตรก็ยกทัพขึ้นบกที่อิตาลียึดเกาะซิซิลี รุกข้ามไปยังคาบสมุทร อิตาลีและบังคับให้มุสโสลินีลาออก แม้เยอรมนีช่วยสนับสนุนให้ มุสโสลินีจัดตั้งรัฐบาลขึ้นอีก แต่ในที่สุดมุสโสลินีก็ถูกประชาชนจับ ประหารชีวิตในวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1945 กองทัพพันธมิตรเข้า ยึดครอง มิลาน ตูริน ตริเอสเต เป็นการสิ้นสุดสงครามในอิตาลี
  • 13. 9. กองทัพพันธมิตรบุกยุโรปตะวันตก ในวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1944 กองทัพพันธมิตรในบังคับบัญชาของนายพล ดไวต์ ดี. ไอ เซนฮาวร์ (General Dwight D. Eisenhower) ได้ยกพลขึ้นที่หาด นอร์มองดีใฝรั่งเศสและสามารถรุกข้ามแม่น้ำไรน์เข้าสู่ดินแดน เยอรมัน ขณะเดียวกันกองทัพสหภาพโซเวียตก็บุกผ่านโปแลนด์เข้า มาบรรจบในดินแดนเยอรมันพร้อมกัน เยอรมนีจึงยอมแพ้อย่างไม่ มีเงื่อนไขในวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
  • 14. 10. สงครำมด้ำนเอเชีย-แปซิฟิก เมื่อฝรั่งเศสประกาศยอมแพ้ เยอรมนีใน ค.ศ. 1940 ญี่ปุ่นก็ส่งทหารเข้ายึดอินโดจีนของฝรั่งเศส อันประกอบด้วย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ และจีนต่อต้านญี่ปุ่น โดยวิธีทางเศรษฐกิจ คือ งดจำหน่ายสินค้าที่เป็นประโยชน์ต่อ สงครามให้ญี่ปุ่น วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ญี่ปุ่นยกพลโจมตีฐานทัพเรือของ สหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล (Pearl Harbour) ในฮาวาย รวมทั้งเกาะ ฮ่องกงของอังกฤษ หมู่เกาะฟิลิปปินส์ของสหรัฐอเมริกา และเมือง โกตาบารูในแหลมมลายู
  • 15. หลังจากนั้นญี่ปุ่นก็เคลื่อนทัพบุกยึดประเทศต่างๆ ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งไทยด้วย เพื่อใช้เป็นทางผ่านไปพม่าและ คาบสมุทรมลายูกับสิงคโปร์ หลังจากญี่ปุ่นยึดสิงคโปร์ได้แล้ว ก็ใช้เป็นฐานทัพส่งกองเรือ รบและเรือดำน้ำไปทำสงครามกับอังกฤษในมหาสมุทรอินเดีย
  • 16. ต่อมาในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1942 สหรัฐอเมริกาเริ่มส่ง กำลังรบมาทางด้านตะวันออก และสามารถเอาชนะญี่ปุ่นได้ใน ค.ศ. 1945 เมื่ออเมริกาชนะศึกกับญี่ปุ่นที่อิโวจิมาและโอกินาวา และเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนน แต่ญี่ปุ่นไม่ปฏิบัติตาม สหรัฐอเมริกาจึงทิ้งระเบิดปรมณูลูกแรกที่เมืองฮิโรชิมะ (ลิตเติล บอย) ในวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 และในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ที่เมืองนะงะซะกิ (แฟตแมน) ญี่ปุ่นจึงยอมจำนน ในวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 และลงนามในสัญญาสงบศึกเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1945 สงครามโลกด้านแปซิฟิกก็ได้สิ้นสุดลง
  • 17. 1. ด้ำนสังคม สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้มีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 68 ล้านคน นอกจากนี้ยังมีผู้ประสบเคราะห์กรรมจากภัยสงคราม อื่น ๆ เช่น บาดเจ็บ ทุพพลภาพ เป็นโรคจิต โรคระบาด ขาด อาหาร หายสาบสูญ เป็นต้น
  • 18. 2. ด้ำนกำรเมือง ประเทศผู้แพ้สงครามต้องเสียเกียรติภูมิต้องจ่ายค่า ปฏิกรรม สงครามต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม และต้องยัง ยินยอมปฏิบัติตามสนธิสัญญาต่าง ๆ ที่ฝ่ายชนะสงครามวางเงื่อนไข ให้ปฏิบัติ อำนาจของยุโรปเสื่อมลงจึงต้องผนึกกำลังเป็นสหภาพ ยุโรป (European Union) ส่วนดินเเดนอาณานิคมที่ชนะ ซึ่ง สหรัฐอเมริกาได้ช่วยกอบกู้สถานการณ์สงครามและนำชัยชนะ ให้กับฝ่ายพันธมิตรได้ขึ้นมาเป็นผู้นำโลก
  • 19. 3. ด้ำนเศรษฐกิจ ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะ ประเทศผู้ริเริ่มสงครามและประเทศมหาอำนาจ ต้องเสียค่าใช้จ่าย ไปเป็นจำนวนมาก ประเทศส่วนใหญ่ต้องเผชิญปัญหเศรษฐกิจนาน นับ 10 ปีจึงฟื้นตัวได้ ทำให้มีการก่อตั้งองค์การทางการเงินระหว่าง ประเทศเพื่อช่วยบูรณะฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เช่น ธนาคารโลก และ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ (International MonetaryFund = IMF)
  • 20. อ้ำงอิง รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล และคณะ. หนังสือเรียน รำยวิชำ พื้นฐำน ประวัติศำสตร์ ม.4-6 เล่ม 2. กรุงเทพ: วัฒนาพานิช, (ม.ป.ป.), หน้า 189-196. http://thehistory.exteen.com/page/5 www.sb.ac.th www.bannjomyut.com