SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
เรื่อง สงครามเย็น
คานา
     การ์ตูนวิชาการเรื่องสงครามเย็น เรื่องนี้เป็นการศึกษา
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์โลก



                     นางสาว จุฑามาศ วุฒิพรหม ม 6/4 เลขที่ 15
ความหมายและรูปแบบสงครามเย็น (COLD WAR)
• สงครามเย็นคือลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ช่วง ค.ศ.1945-1991 ที่กลุ่มประเทศโลก
  เสรีและกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ ต่างพยายามต่อสู้โดยวิธีการต่างๆ ยกเว้นการทาสงครามกัน
  โดยเปิดเผย เพื่อขัดขวางการขยายอานาจของกันและกัน
• สงครามเย็นมีผลสืบเนื่องมาจากสภาพบอบช้าจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้งประเทศชนะและแพ้
  สงคราม ได้สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ทวีปยุโรปซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและเศรษฐกิจ
  โลกอยู่ในสภาพทรุดโทรมอย่างยิ่ง ต้องสูญเสียอานาจและอิทธิพลในสังคมโลกให้กับ
  สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ที่มีฐานะเศรษฐกิจมั่นคง จนเป็นหลักในการบูรณะฟื้นฟู
  ประเทศอื่นๆ สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นผู้นาของโลกเสรีประชาธิปไตย ในขณะที่สหภาพ
  โซเวียตมีอานาจและอิทธิพลเพราะการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์สู่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก
  โดยอยู่ในฐานะประเทศผู้นาของโลกคอมมิวนิสต์ คาว่า อภิมหาอานาจ หมายถึง ความเป็นผู้นา
  โลกของประเทศทังสอง ซึ่งแข่งขันกันขยายอานาจและอิทธิพล จนทาให้ความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน
                     ้
  เกิดความตึงเครียดสูง
• สาเหตุของสงครามเย็นเกิดจากการแข่งขันกันของประเทศอภิมหาอานาจจาก
• ประสบการณ์ที่ผ่านมาในสงครามโลกทั้งสองครั้ง ทาให้สหรัฐอเมริกาเสียหายน้อย
  กว่าประเทศคู่สงครามในยุโรป ทั้งยังเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ
  และเทคโนโลยีสูง และเป็นประเทศแรกที่สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ในระหว่าง
  สงครามโลกครั้งที่ 2 มีความรู้สึกว่าตนเป็นตารวจโลกเพื่อพิทักษ์ไว้ซึ่งวิถีทาง
  ประชาธิปไตยและเสรีภาพ
• ส่วนสหภาพโซเวียตฟื้นตัวจากสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างรวดเร็ว เพราะพื้นที่กว้าง
  ใหญ่ มีทรัพยากรธรรมชาติมาก สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ได้สาเร็จ สหภาพ-
  โซเวียตต้องการเป็นผู้นาในการปฏิวัติโลกเพื่อสถาปนาระบบสังคมนิยม
  คอมมิวนิสต์ตามแนวคิดของมาร์กซ์ ดังนั้น ทั้งสองอภิมหาอานาจจึงใช้ความ
  ช่วยเหลือที่ให้แก่ประเทศต่างๆ เป็นเครื่องมือในการขยายอิทธิพล อานาจ และ
  อุดมการณ์ของตน เพื่อหาประเทศที่มีอุดมการณ์คล้ายคลึงกันมาเป็นเครื่องถ่วงดุล
  อานาจกับฝ่ายตรงข้าม
รูปแบบสงครามเย็น
• การแข่งขันเพื่อความเป็นใหญ่ในยุคสงครามเย็นนั้นมีหลายรูปแบบ ทั้งสองฝ่ายต่าง
  พยายามโฆษณาชวนเชื่อให้เห็นความสาเร็จของอุดมการณ์ทางการเมืองของฝ่ายตน
  ฝ่ายเสรีประชาธิปไตยเน้นเรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน ในขณะที่ฝ่าย
  คอมมิวนิสต์ชี้ความเสมอภาคของประชาชน เครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อของแต่ละ
  ฝ่ายคือ สานักงานข่าวสารเผยแพร่ข่าวสาร สานักงานวัฒนธรรม โครงการ
• แลกเปลี่ยนทางการศึกษา บางครั้งใช้วิธีการทางการเมืองและการทูตเพื่อแสวงหา
  พันธมิตรในการเมืองระดับประเทศ หรือใช้วิธีการเศรษฐกิจแก่ประเทศพันธมิตร
  ในรูปของเงินช่วยเหลือเงินกู้ระยะยาว เงินกู้ดอกเบี้ยต่า ในทางตรงกันข้าม อาจใช้
  มาตรการทางเศรษฐกิจตอบโต้ฝ่ายตรงข้าม เช่น การงดความสัมพันธ์ทางการค้า
  กับบางประเทศ นอกจากนั้นวิธีการทางทหารนับว่าเป็นวิธีการที่ใช้มากที่สุด มี
  การสะสมกาลังอาวุธ การให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศพันธมิตรด้านกาลังทหาร
  กาลังอาวุธ
• จัดส่งเจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญทางการทหาร ตลอดจนการส่งกองกาลัง
  ของตนเข้าไปตั้งมั่นในประเทศพันธมิตร จนในที่สุดก็ได้ตั้งองค์การ
  ป้องกันร่วมกันในภูมิภาคต่างๆ เช่น องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติก
  เหนือ (Nato) องค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
  (Seato) และกลุ่มกติกาสนธิสัญญวอร์ซอ (Warsaw Pact)
  วิธีการเผยแพร่อิทธิพลวิธีสุดท้าย คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร์และ
  เทคโนโลยี ได้แก่ ความพยายามแสดงออกถึงความสาเร็จทาง
  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การคิดค้นอาวุธ สิ่งประดิษฐ์
  ต่างๆ รวมทั้งโครงการสารวจอวกาศเพื่อสร้างความศรัทธาแก่ประเทศ
  พันธมิตรและสร้างความยาเกรงแก่ประเทศฝ่ายตรงข้าม
• หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดการเผชิญหน้าของสองอภิมหาอานาจในภูมิภาคต่างๆ
   เริ่มต้นจากปัญหาความมั่นคงในยุโรป สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลเข้าไปในยุโรป
   ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกกลายเป็นกลุ่ม
   ประเทศคอมมิวนิสต์
• สหรัฐอเมริกาดาเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ด้วยการประกาศหลักการ
   ทรูแมน ในเดือน มีนาคม ค.ศ.1947 มีสาระสาคัญว่าสหรัฐอเมริกาจะให้ความ
   ช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ เพื่อธารงไว้ซึ่งเอกราชและอธิปไตยให้พ้นจาก
   การคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ทั้งภายนอกและภายในประเทศ รัฐสภาอนุมัติเงิน
   และให้ความช่วยเหลือตุรกีและกรีกให้รอดพ้นจากเงื้อมมือลัทธิคอมมิวนิสต์ ใน
  เดียวกันสหภาพโซเวียตได้ตั้งสานักงานข่าวคอมมิวนิสต์ (Cominform) ขึ้นที่กรุง
   เบลเกรด ทาหน้าที่เผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์และเป็นเครื่องมือของสหภาพโซเวียต
   เพื่อป้องกันมิให้โลกเสรีเข้าแทรกแซงในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก เป็นการ
   ตอบโต้หลักการทรูแมน การประกาศหลักการทรูแมนของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็น
   การเริ่มต้นอย่างแท้จริงของสงครามเย็นระหว่างสองอภิมหาอานาจ
• สหรัฐอเมริกาพยายามกอบกูและฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปเป็นเป้าหมาย
                             ้
  ต่อไปโดยการเสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจแก่ทุกประเทศใน
  ยุโรป ตามแผนการณ์มาร์แชล ซึ่งแผนการนี้มีระยะเวลา 4 ปี ใช้
  งบประมาณ 13,500 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาในรูปของเงินทุน
  วัตถุดิบ อาหารและเครื่องจักรกล ส่วนประเทศในยุโรปตะวันออกถูก
  สหภาพโซเวียตกดดันให้ปฏิเสธข้อเสนอของอเมริกา            สหภาพ
  โซเวียตและกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกได้ร่วมมือกันจัดตั้งสภาความ
  ช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือโคมีคอน (Comecon)ด้วยเหตุ
  นี้ การฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปจึงแยกเป็น 2 แนวทางตั้งแต่นั้นมา
• นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้านการเมืองการทหารแก่กลุ่ม
  ประเทศยุโรปตะวันตก ในค.ศ.1949 สหรัฐอเมริกาและแคนาดาร่วมกับกลุ่ม
  ประเทศยุโรปตะวันตก 10 ประเทศ จัดตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ
  หรือนาโต ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกทั้งด้าน
  การเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งการตั้งนาโตถือว่าเป็น
  จุดสาคัญของนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาในการต่อต้านอิทธิพลของ
  สหภาพโซเวียต โดยใช้ความร่วมมือทางทหารของกลุ่มประเทศโลกเสรี กฏบัตร
  ขององค์การนาโต กาหนดไว้ว่า หากยุโรปตะวันตกถูกรุกราน สหรัฐอเมริกาจะเข้า
  ร่วมสงครามโดยทันทีตามหลักการป้องกันตนเอง ส่วนสหภาพโซเวียตก็
  จาเป็นต้องมีกองทหารไว้ควบคุมเขตอิทธิพลของตน จึงมีการประชุมเพื่อ
  ดาเนินการจัดตั้งระบบพันธมิตรทางทหารของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกขึ้นที่
  กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ ก่อให้เกิดกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ ทาให้
  สหภาพโซเวียตสามารถมีกองกาลังของตนไว้ในประเทศสมาชิกได้
ผลของสงครามเย็น
• นอกจากทวีปยุโรปแล้ว สองอภิมหาอานาจยังแข่งขันกันในภูมิภาคต่างๆ ส่งผลให้
  สงครามเย็นเพิ่มความตึงเครียด ทวีปเอเซียเป็นอีกเวทีหนึ่งของสงครามเย็น ในแถบ
  ตะวันออกไกล จีนเป็นดินแดนที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ที่ประสบความสาเร็จที่สุด เมื่อ
  จีนคอมมิวนิสต์นาโดยเหมาเจ๋อตุง เป็นฝ่ายมีชัยชนะในสงครามกลางเมือง
  ยึดครองแผ่นดินใหญ่ของจีนได้ รัฐบาลจีนคณะชาติเป็นฝ่ายโลกเสรีและได้รับ
• ความสนับสนุนอย่างเต็มที่จากสหรัฐอเมริกา ต้องหนีไปตั้งรัฐบาลที่เกาะฟอร์-
  โมซา ชัยชนะของจีนคอมมิวนิสต์มีผลกระทบต่อดุลอานาจทางการเมืองระหว่าง
  ประเทศ ถือเป็นการพ่ายแพ้ที่สาคัญของสหรัฐอเมริกาและเป็นการเสียดุลอานาจ
 ครั้งสาคัญของโลกเสรี สหภาพโซเวียตและจีนเป็นสองประเทศคอมมิวนิสต์ที่มี
  อาณาเขตกว้างใหญ่ มีทรัพยากรมาก และมีจานวนประชากรมหาศาล
  ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนจึงตึงเครียดมานับตั้งแต่นั้น
• ความขัดแย้งของสงครามเย็นส่งผลให้ประเทศเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเทศ ที่
  มีอุดมการณ์ต่างกัน กองทัพของประเทศเกาหลีเหนือซึ่งปกครองในระบอบ
  คอมมิวนิสต์ได้ยกข้ามเส้นขนานที่ 38 องศาเหนือเข้ารุกรานประเทศเกาหลีใต้
  อย่างฉับพลัน สหประชาติจึงมีมติให้สหรัฐอเมริกาและกองกาลังทหารของ
  สหประชาชาติจาก 18 ประเทศสมาชิกเข้าช่วยเกาหลีใต้จากการรุกรานครั้งนี้ จีน
  ส่งกองทัพช่วยเกาหลีเหนือ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้ากันจนกระทั่ง ค.ศ.1953 จึง
  มีการทาสนธิสัญญาสงบศึก สงครามเกาหลีก่อให้เกิดความตื่นตัวต่อการขยายอิทธิ
  พของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซีย สหรัฐอเมริกาเห็นความจาเป็นของการต่อต้าน
  ลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซียอย่างจริงจัง สาหรับประเทศญี่ปุ่น ลัทธิคอมมิวนิสต์
  ประสบความสาเร็จในวงแคบ เสถียรภาพทางการเมือง ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ
  และมาตรฐานสังคมในระดับสูงของประเทศญี่ปุ่น อันเป็นผลงานส่วนหนึ่งของ
  สหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นกาลังสาคัญของโลกเสรีในทวีปเอเซีย
• การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เริ่ม
  จากอินโดจีน คือ ประเทศเวียดนาม เขมร และลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก
  ประเทศฝรั่งเศส เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยใช้เส้นขนานที่
  17 องศาเหนือเป็นเขตแบ่งชั่วคราว เวียดนามเหนืออยู่ใต้การปกครอง
  ของลัทธิคอมมิวนิสต์ มีโฮจิมินห์เป็นผู้นา เวียดนามใต้ปกครองระบอบ
  ประชาธิปไตย มีโงดินห์เดียมเป็นผู้นา โดยให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน
  เวลา 1 ปี เพื่อรวมเวียดนามเป็นประเทศเดียวกัน แต่การเลือกตั้งก็ไม่ได้
  เกิดขึ้น เพราะเกิดการสู้รบระหว่างเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้
• การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์เข้ามาในอินโดจีน ทาให้สหรัฐอเมริกา
  นานโยบายล้อมกรอบการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ในเอเซีย
  ด้วย นายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส รัฐมนตรีต่างประเทศของ
  สหรัฐอเมริกาขณะนั้นประกาศอย่างแข็งขันว่าจะไม่ยอมให้ลัทธิ
  คอมมิวนิสต์ขยายตัวต่อไป โดยเชื่อมั่นในทฤษฏีโดมิโนว่า ถ้าประเทศใด
  ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของคอมมิวนิสต์แล้ว
  ประเทศใกล้เคียงอื่นๆ ก็จะพลอยเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย ในวันที่ 8
  กันยายน ค.ศ.1954 จึงได้มีการสนธิสัญญาที่กรุงมะนิลาเพื่อจัดตั้ง
  องค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Seato) ประกอบด้วย 8
  ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ไทย ฟิลิปปินส์ ปากีสถาน สหราช
  อาณาจักร ฝรั่งเศส ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ด้วยวัตถุประสงค์ทานอง
  เดียวกับนาโต
• ในตะวันออกลาง หรือเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ เป็นภูมิภาคที่มีความขัดแย้งระหว่าง
  กลุ่มประเทศอาหรับด้วยกันเอง และระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับกับประเทศ
  อิสราเอล สหภาพโซเวียตฉวยโอกาสขยายอิทธิพลของตนด้วยวิธีการต่างๆ เช่น
  เสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแก่ประเทศอิยิปต์ ในการปฏิรูป
  ประเทศในสมัยประธานาธิบดีนัสเซอร์ด้วยการให้เงินสร้างเขื่อนอัสวาน อียิปต์เป็น
  ผู้นาของกลุ่มประเทศอาหรับที่สหภาพโซเวียตต้องการส่งเสริมอิทธิพลของลัทธิ
  คอมมิวนิสต์ให้แพร่หลายในภูมิภาคตะวันออกลาง ฝ่ายโลกเสรีจึงหาทางสกัดกั้น
  ด้วยการจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาเซ็นโต หรือองค์การสนธิสัญญากลาง (Central
  Treaty Organization:CENTO) ซึ่งมีสมาชิก 5 ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร ตุรกี
  อิรัก อิหร่าน และปากีสถาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการแทรกแซงและขยาย
  อานาจของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคนี้
• ส่วนในทวีปแอฟริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่างๆ ได้รับเอก
  ราช โดยส่วนใหญ่ยังไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง เช่น คองโก จึงเกิด
  การจลาจลแย่งอานาจระหว่างชนเผ่าต่างๆ คณะมนตรีความมั่นคงของ
  สหประชาชาติเกรงว่าความวุ่นวายนี้จะเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงมี
  มติให้ส่งกองกาลังของสหประชาชาติเข้าไปรักษาความสงบเรียบร้อยใน
  คองโก สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาชนจีนให้ความช่วยเหลือ
  แก่ประธานาธิบดีลูมุมบาของคองโก และนายครุฟเซฟผู้นาสหภาพ
  โซเวียตประนามการแทรกแซงสหประชาชาติ ส่วนสาธารณรัฐ-
  ประชาชนจีนได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในแทนซาเนียด้วยการช่วยเหลือใน
  การสร้างทางรถไฟยาว 1,000 ไมล์ ในขณะที่สหราชอาณาจักรและ
  ฝรั่งเศสได้พยายามรักษาอิทธิพลในแอฟริกา โดยเฉพาะกับประเทศอดีต
  อาณานิคมของตน
กล่าวโดยสรุป แม้สงครามเย็นตั้งแต่ ค.ศ.1945 จะไม่ลุกลามกลายเป็น
สงครามอย่างเปิดเผย แต่นาไปสู่ความขัดแย้งระดับวิกฤตการณ์ทาง
การเมืองจนกลายเป็นสงครามระดับภูมิภาคขึ้นในหลายแห่งของโลก

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือPann Boonthong
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1fsarawanee
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]imeveve
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20mintra_duangsamorn
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 

Viewers also liked

วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาYaowaluk Chaobanpho
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
Cuando la misión de la empresa es preservar
Cuando la misión de la empresa es preservarCuando la misión de la empresa es preservar
Cuando la misión de la empresa es preservarEva Cajigas
 
Entrevista Silvio Benedetto
Entrevista Silvio BenedettoEntrevista Silvio Benedetto
Entrevista Silvio BenedettoEva Cajigas
 
Acta asamblea congresual arousa
Acta asamblea congresual arousaActa asamblea congresual arousa
Acta asamblea congresual arousaoscargaliza
 
ZFConf 2010: Zend Framework and Multilingual
ZFConf 2010: Zend Framework and MultilingualZFConf 2010: Zend Framework and Multilingual
ZFConf 2010: Zend Framework and MultilingualZFConf Conference
 
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response AveragingKlingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response AveragingKalle
 
Hishl7
Hishl7Hishl7
Hishl7rajesh
 
Estrategia de innovacion empresarial
Estrategia de innovacion empresarialEstrategia de innovacion empresarial
Estrategia de innovacion empresarialLuisa Rendon
 
Dit Is Mijn Lijf
Dit Is Mijn LijfDit Is Mijn Lijf
Dit Is Mijn Lijfguest2f17d3
 
SelfRJ - Aerogear iOS
SelfRJ - Aerogear iOSSelfRJ - Aerogear iOS
SelfRJ - Aerogear iOSDaniel Passos
 
Goldberg Visual Scanpath Representation
Goldberg Visual Scanpath RepresentationGoldberg Visual Scanpath Representation
Goldberg Visual Scanpath RepresentationKalle
 
Tools and Crossbar-based nano/CMOS Architectures
Tools and Crossbar-based nano/CMOS ArchitecturesTools and Crossbar-based nano/CMOS Architectures
Tools and Crossbar-based nano/CMOS ArchitecturesCiprian Teodorov
 

Viewers also liked (20)

วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
Windmill 03
Windmill 03Windmill 03
Windmill 03
 
1
11
1
 
Cuando la misión de la empresa es preservar
Cuando la misión de la empresa es preservarCuando la misión de la empresa es preservar
Cuando la misión de la empresa es preservar
 
Entrevista Silvio Benedetto
Entrevista Silvio BenedettoEntrevista Silvio Benedetto
Entrevista Silvio Benedetto
 
Acta asamblea congresual arousa
Acta asamblea congresual arousaActa asamblea congresual arousa
Acta asamblea congresual arousa
 
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรปลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
 
Html
HtmlHtml
Html
 
ZFConf 2010: Zend Framework and Multilingual
ZFConf 2010: Zend Framework and MultilingualZFConf 2010: Zend Framework and Multilingual
ZFConf 2010: Zend Framework and Multilingual
 
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response AveragingKlingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
 
Hishl7
Hishl7Hishl7
Hishl7
 
Estrategia de innovacion empresarial
Estrategia de innovacion empresarialEstrategia de innovacion empresarial
Estrategia de innovacion empresarial
 
Dit Is Mijn Lijf
Dit Is Mijn LijfDit Is Mijn Lijf
Dit Is Mijn Lijf
 
SelfRJ - Aerogear iOS
SelfRJ - Aerogear iOSSelfRJ - Aerogear iOS
SelfRJ - Aerogear iOS
 
Goldberg Visual Scanpath Representation
Goldberg Visual Scanpath RepresentationGoldberg Visual Scanpath Representation
Goldberg Visual Scanpath Representation
 
Psdeg
PsdegPsdeg
Psdeg
 
Amac
AmacAmac
Amac
 
Tools and Crossbar-based nano/CMOS Architectures
Tools and Crossbar-based nano/CMOS ArchitecturesTools and Crossbar-based nano/CMOS Architectures
Tools and Crossbar-based nano/CMOS Architectures
 
Sneak Peak Presentation
Sneak Peak PresentationSneak Peak Presentation
Sneak Peak Presentation
 

Similar to สงครามเย็น

Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwarTeeranan
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นBeau Pitchaya
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)noeiinoii
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 

Similar to สงครามเย็น (20)

Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
 
องค์การโคมินฟอร์ม
องค์การโคมินฟอร์มองค์การโคมินฟอร์ม
องค์การโคมินฟอร์ม
 
สงครามเย็น
สงครามเย็น  สงครามเย็น
สงครามเย็น
 
โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

สงครามเย็น

  • 2. คานา การ์ตูนวิชาการเรื่องสงครามเย็น เรื่องนี้เป็นการศึกษา เกี่ยวกับประวัติศาสตร์โลก นางสาว จุฑามาศ วุฒิพรหม ม 6/4 เลขที่ 15
  • 3.
  • 4. ความหมายและรูปแบบสงครามเย็น (COLD WAR) • สงครามเย็นคือลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ช่วง ค.ศ.1945-1991 ที่กลุ่มประเทศโลก เสรีและกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ ต่างพยายามต่อสู้โดยวิธีการต่างๆ ยกเว้นการทาสงครามกัน โดยเปิดเผย เพื่อขัดขวางการขยายอานาจของกันและกัน • สงครามเย็นมีผลสืบเนื่องมาจากสภาพบอบช้าจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้งประเทศชนะและแพ้ สงคราม ได้สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ทวีปยุโรปซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและเศรษฐกิจ โลกอยู่ในสภาพทรุดโทรมอย่างยิ่ง ต้องสูญเสียอานาจและอิทธิพลในสังคมโลกให้กับ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ที่มีฐานะเศรษฐกิจมั่นคง จนเป็นหลักในการบูรณะฟื้นฟู ประเทศอื่นๆ สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นผู้นาของโลกเสรีประชาธิปไตย ในขณะที่สหภาพ โซเวียตมีอานาจและอิทธิพลเพราะการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์สู่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก โดยอยู่ในฐานะประเทศผู้นาของโลกคอมมิวนิสต์ คาว่า อภิมหาอานาจ หมายถึง ความเป็นผู้นา โลกของประเทศทังสอง ซึ่งแข่งขันกันขยายอานาจและอิทธิพล จนทาให้ความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน ้ เกิดความตึงเครียดสูง
  • 5. • สาเหตุของสงครามเย็นเกิดจากการแข่งขันกันของประเทศอภิมหาอานาจจาก • ประสบการณ์ที่ผ่านมาในสงครามโลกทั้งสองครั้ง ทาให้สหรัฐอเมริกาเสียหายน้อย กว่าประเทศคู่สงครามในยุโรป ทั้งยังเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีสูง และเป็นประเทศแรกที่สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 2 มีความรู้สึกว่าตนเป็นตารวจโลกเพื่อพิทักษ์ไว้ซึ่งวิถีทาง ประชาธิปไตยและเสรีภาพ • ส่วนสหภาพโซเวียตฟื้นตัวจากสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างรวดเร็ว เพราะพื้นที่กว้าง ใหญ่ มีทรัพยากรธรรมชาติมาก สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ได้สาเร็จ สหภาพ- โซเวียตต้องการเป็นผู้นาในการปฏิวัติโลกเพื่อสถาปนาระบบสังคมนิยม คอมมิวนิสต์ตามแนวคิดของมาร์กซ์ ดังนั้น ทั้งสองอภิมหาอานาจจึงใช้ความ ช่วยเหลือที่ให้แก่ประเทศต่างๆ เป็นเครื่องมือในการขยายอิทธิพล อานาจ และ อุดมการณ์ของตน เพื่อหาประเทศที่มีอุดมการณ์คล้ายคลึงกันมาเป็นเครื่องถ่วงดุล อานาจกับฝ่ายตรงข้าม
  • 6. รูปแบบสงครามเย็น • การแข่งขันเพื่อความเป็นใหญ่ในยุคสงครามเย็นนั้นมีหลายรูปแบบ ทั้งสองฝ่ายต่าง พยายามโฆษณาชวนเชื่อให้เห็นความสาเร็จของอุดมการณ์ทางการเมืองของฝ่ายตน ฝ่ายเสรีประชาธิปไตยเน้นเรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน ในขณะที่ฝ่าย คอมมิวนิสต์ชี้ความเสมอภาคของประชาชน เครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อของแต่ละ ฝ่ายคือ สานักงานข่าวสารเผยแพร่ข่าวสาร สานักงานวัฒนธรรม โครงการ • แลกเปลี่ยนทางการศึกษา บางครั้งใช้วิธีการทางการเมืองและการทูตเพื่อแสวงหา พันธมิตรในการเมืองระดับประเทศ หรือใช้วิธีการเศรษฐกิจแก่ประเทศพันธมิตร ในรูปของเงินช่วยเหลือเงินกู้ระยะยาว เงินกู้ดอกเบี้ยต่า ในทางตรงกันข้าม อาจใช้ มาตรการทางเศรษฐกิจตอบโต้ฝ่ายตรงข้าม เช่น การงดความสัมพันธ์ทางการค้า กับบางประเทศ นอกจากนั้นวิธีการทางทหารนับว่าเป็นวิธีการที่ใช้มากที่สุด มี การสะสมกาลังอาวุธ การให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศพันธมิตรด้านกาลังทหาร กาลังอาวุธ
  • 7. • จัดส่งเจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญทางการทหาร ตลอดจนการส่งกองกาลัง ของตนเข้าไปตั้งมั่นในประเทศพันธมิตร จนในที่สุดก็ได้ตั้งองค์การ ป้องกันร่วมกันในภูมิภาคต่างๆ เช่น องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติก เหนือ (Nato) องค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Seato) และกลุ่มกติกาสนธิสัญญวอร์ซอ (Warsaw Pact) วิธีการเผยแพร่อิทธิพลวิธีสุดท้าย คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ได้แก่ ความพยายามแสดงออกถึงความสาเร็จทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การคิดค้นอาวุธ สิ่งประดิษฐ์ ต่างๆ รวมทั้งโครงการสารวจอวกาศเพื่อสร้างความศรัทธาแก่ประเทศ พันธมิตรและสร้างความยาเกรงแก่ประเทศฝ่ายตรงข้าม
  • 8. • หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดการเผชิญหน้าของสองอภิมหาอานาจในภูมิภาคต่างๆ เริ่มต้นจากปัญหาความมั่นคงในยุโรป สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลเข้าไปในยุโรป ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกกลายเป็นกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์ • สหรัฐอเมริกาดาเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ด้วยการประกาศหลักการ ทรูแมน ในเดือน มีนาคม ค.ศ.1947 มีสาระสาคัญว่าสหรัฐอเมริกาจะให้ความ ช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ เพื่อธารงไว้ซึ่งเอกราชและอธิปไตยให้พ้นจาก การคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ทั้งภายนอกและภายในประเทศ รัฐสภาอนุมัติเงิน และให้ความช่วยเหลือตุรกีและกรีกให้รอดพ้นจากเงื้อมมือลัทธิคอมมิวนิสต์ ใน เดียวกันสหภาพโซเวียตได้ตั้งสานักงานข่าวคอมมิวนิสต์ (Cominform) ขึ้นที่กรุง เบลเกรด ทาหน้าที่เผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์และเป็นเครื่องมือของสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันมิให้โลกเสรีเข้าแทรกแซงในกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก เป็นการ ตอบโต้หลักการทรูแมน การประกาศหลักการทรูแมนของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็น การเริ่มต้นอย่างแท้จริงของสงครามเย็นระหว่างสองอภิมหาอานาจ
  • 9. • สหรัฐอเมริกาพยายามกอบกูและฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปเป็นเป้าหมาย ้ ต่อไปโดยการเสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจแก่ทุกประเทศใน ยุโรป ตามแผนการณ์มาร์แชล ซึ่งแผนการนี้มีระยะเวลา 4 ปี ใช้ งบประมาณ 13,500 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาในรูปของเงินทุน วัตถุดิบ อาหารและเครื่องจักรกล ส่วนประเทศในยุโรปตะวันออกถูก สหภาพโซเวียตกดดันให้ปฏิเสธข้อเสนอของอเมริกา สหภาพ โซเวียตและกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกได้ร่วมมือกันจัดตั้งสภาความ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือโคมีคอน (Comecon)ด้วยเหตุ นี้ การฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปจึงแยกเป็น 2 แนวทางตั้งแต่นั้นมา
  • 10. • นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้านการเมืองการทหารแก่กลุ่ม ประเทศยุโรปตะวันตก ในค.ศ.1949 สหรัฐอเมริกาและแคนาดาร่วมกับกลุ่ม ประเทศยุโรปตะวันตก 10 ประเทศ จัดตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกทั้งด้าน การเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งการตั้งนาโตถือว่าเป็น จุดสาคัญของนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาในการต่อต้านอิทธิพลของ สหภาพโซเวียต โดยใช้ความร่วมมือทางทหารของกลุ่มประเทศโลกเสรี กฏบัตร ขององค์การนาโต กาหนดไว้ว่า หากยุโรปตะวันตกถูกรุกราน สหรัฐอเมริกาจะเข้า ร่วมสงครามโดยทันทีตามหลักการป้องกันตนเอง ส่วนสหภาพโซเวียตก็ จาเป็นต้องมีกองทหารไว้ควบคุมเขตอิทธิพลของตน จึงมีการประชุมเพื่อ ดาเนินการจัดตั้งระบบพันธมิตรทางทหารของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกขึ้นที่ กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ ก่อให้เกิดกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ ทาให้ สหภาพโซเวียตสามารถมีกองกาลังของตนไว้ในประเทศสมาชิกได้
  • 11. ผลของสงครามเย็น • นอกจากทวีปยุโรปแล้ว สองอภิมหาอานาจยังแข่งขันกันในภูมิภาคต่างๆ ส่งผลให้ สงครามเย็นเพิ่มความตึงเครียด ทวีปเอเซียเป็นอีกเวทีหนึ่งของสงครามเย็น ในแถบ ตะวันออกไกล จีนเป็นดินแดนที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ที่ประสบความสาเร็จที่สุด เมื่อ จีนคอมมิวนิสต์นาโดยเหมาเจ๋อตุง เป็นฝ่ายมีชัยชนะในสงครามกลางเมือง ยึดครองแผ่นดินใหญ่ของจีนได้ รัฐบาลจีนคณะชาติเป็นฝ่ายโลกเสรีและได้รับ • ความสนับสนุนอย่างเต็มที่จากสหรัฐอเมริกา ต้องหนีไปตั้งรัฐบาลที่เกาะฟอร์- โมซา ชัยชนะของจีนคอมมิวนิสต์มีผลกระทบต่อดุลอานาจทางการเมืองระหว่าง ประเทศ ถือเป็นการพ่ายแพ้ที่สาคัญของสหรัฐอเมริกาและเป็นการเสียดุลอานาจ ครั้งสาคัญของโลกเสรี สหภาพโซเวียตและจีนเป็นสองประเทศคอมมิวนิสต์ที่มี อาณาเขตกว้างใหญ่ มีทรัพยากรมาก และมีจานวนประชากรมหาศาล ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนจึงตึงเครียดมานับตั้งแต่นั้น
  • 12. • ความขัดแย้งของสงครามเย็นส่งผลให้ประเทศเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเทศ ที่ มีอุดมการณ์ต่างกัน กองทัพของประเทศเกาหลีเหนือซึ่งปกครองในระบอบ คอมมิวนิสต์ได้ยกข้ามเส้นขนานที่ 38 องศาเหนือเข้ารุกรานประเทศเกาหลีใต้ อย่างฉับพลัน สหประชาติจึงมีมติให้สหรัฐอเมริกาและกองกาลังทหารของ สหประชาชาติจาก 18 ประเทศสมาชิกเข้าช่วยเกาหลีใต้จากการรุกรานครั้งนี้ จีน ส่งกองทัพช่วยเกาหลีเหนือ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้ากันจนกระทั่ง ค.ศ.1953 จึง มีการทาสนธิสัญญาสงบศึก สงครามเกาหลีก่อให้เกิดความตื่นตัวต่อการขยายอิทธิ พของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซีย สหรัฐอเมริกาเห็นความจาเป็นของการต่อต้าน ลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซียอย่างจริงจัง สาหรับประเทศญี่ปุ่น ลัทธิคอมมิวนิสต์ ประสบความสาเร็จในวงแคบ เสถียรภาพทางการเมือง ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมาตรฐานสังคมในระดับสูงของประเทศญี่ปุ่น อันเป็นผลงานส่วนหนึ่งของ สหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นกาลังสาคัญของโลกเสรีในทวีปเอเซีย
  • 13. • การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เริ่ม จากอินโดจีน คือ ประเทศเวียดนาม เขมร และลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก ประเทศฝรั่งเศส เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยใช้เส้นขนานที่ 17 องศาเหนือเป็นเขตแบ่งชั่วคราว เวียดนามเหนืออยู่ใต้การปกครอง ของลัทธิคอมมิวนิสต์ มีโฮจิมินห์เป็นผู้นา เวียดนามใต้ปกครองระบอบ ประชาธิปไตย มีโงดินห์เดียมเป็นผู้นา โดยให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน เวลา 1 ปี เพื่อรวมเวียดนามเป็นประเทศเดียวกัน แต่การเลือกตั้งก็ไม่ได้ เกิดขึ้น เพราะเกิดการสู้รบระหว่างเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้
  • 14. • การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์เข้ามาในอินโดจีน ทาให้สหรัฐอเมริกา นานโยบายล้อมกรอบการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ในเอเซีย ด้วย นายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส รัฐมนตรีต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกาขณะนั้นประกาศอย่างแข็งขันว่าจะไม่ยอมให้ลัทธิ คอมมิวนิสต์ขยายตัวต่อไป โดยเชื่อมั่นในทฤษฏีโดมิโนว่า ถ้าประเทศใด ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของคอมมิวนิสต์แล้ว ประเทศใกล้เคียงอื่นๆ ก็จะพลอยเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย ในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.1954 จึงได้มีการสนธิสัญญาที่กรุงมะนิลาเพื่อจัดตั้ง องค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Seato) ประกอบด้วย 8 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ไทย ฟิลิปปินส์ ปากีสถาน สหราช อาณาจักร ฝรั่งเศส ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ด้วยวัตถุประสงค์ทานอง เดียวกับนาโต
  • 15. • ในตะวันออกลาง หรือเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ เป็นภูมิภาคที่มีความขัดแย้งระหว่าง กลุ่มประเทศอาหรับด้วยกันเอง และระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับกับประเทศ อิสราเอล สหภาพโซเวียตฉวยโอกาสขยายอิทธิพลของตนด้วยวิธีการต่างๆ เช่น เสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแก่ประเทศอิยิปต์ ในการปฏิรูป ประเทศในสมัยประธานาธิบดีนัสเซอร์ด้วยการให้เงินสร้างเขื่อนอัสวาน อียิปต์เป็น ผู้นาของกลุ่มประเทศอาหรับที่สหภาพโซเวียตต้องการส่งเสริมอิทธิพลของลัทธิ คอมมิวนิสต์ให้แพร่หลายในภูมิภาคตะวันออกลาง ฝ่ายโลกเสรีจึงหาทางสกัดกั้น ด้วยการจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาเซ็นโต หรือองค์การสนธิสัญญากลาง (Central Treaty Organization:CENTO) ซึ่งมีสมาชิก 5 ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร ตุรกี อิรัก อิหร่าน และปากีสถาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการแทรกแซงและขยาย อานาจของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคนี้
  • 16. • ส่วนในทวีปแอฟริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่างๆ ได้รับเอก ราช โดยส่วนใหญ่ยังไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง เช่น คองโก จึงเกิด การจลาจลแย่งอานาจระหว่างชนเผ่าต่างๆ คณะมนตรีความมั่นคงของ สหประชาชาติเกรงว่าความวุ่นวายนี้จะเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงมี มติให้ส่งกองกาลังของสหประชาชาติเข้าไปรักษาความสงบเรียบร้อยใน คองโก สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาชนจีนให้ความช่วยเหลือ แก่ประธานาธิบดีลูมุมบาของคองโก และนายครุฟเซฟผู้นาสหภาพ โซเวียตประนามการแทรกแซงสหประชาชาติ ส่วนสาธารณรัฐ- ประชาชนจีนได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในแทนซาเนียด้วยการช่วยเหลือใน การสร้างทางรถไฟยาว 1,000 ไมล์ ในขณะที่สหราชอาณาจักรและ ฝรั่งเศสได้พยายามรักษาอิทธิพลในแอฟริกา โดยเฉพาะกับประเทศอดีต อาณานิคมของตน
  • 17. กล่าวโดยสรุป แม้สงครามเย็นตั้งแต่ ค.ศ.1945 จะไม่ลุกลามกลายเป็น สงครามอย่างเปิดเผย แต่นาไปสู่ความขัดแย้งระดับวิกฤตการณ์ทาง การเมืองจนกลายเป็นสงครามระดับภูมิภาคขึ้นในหลายแห่งของโลก