SlideShare a Scribd company logo
สงครามโลกครั้งที่1
(World War I ค.ศ.1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่1
(World War I ค.ศ.1914-1918)
เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนสิงหาคม ค . ศ . 1914
และสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน ค . ศ . 1918
เป็นเวลานานถึง 4 ปี 3 เดือน
เกิดจากความขัดแย้งของประเทศในทวีปยุโรปและลุกลาม
ไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกมากกว่า 30 ประเทศ
สร้างความเสียหายให้แก่มนุษยชาติอย่างรุนแรง
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มหาสงคราม (Great War)
สงครามโลกครั้งที่ 1 ( World War I ค.ศ.1914 -
1918)
1. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism)
ขณะเดียวกันก็ทาให้การปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศสต้องสิ้นสุดลงและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสาธารณรัฐ
รวมทั้งยังส่งผลให้อิตาลีรวมชาติได้สาเร็จ ทาให้เกิดลัทธิชาตินิยมในฝรั่งเศส เยอรมัน และอิตาลี ในเวลาใกล้เคียงกันก็
เกิดลัทธิชาตินิยมในคาบสมุทรบอลข่านที่ประชากรส่วนใหญ่ที่เป็นชาวสลาฟต้องการเป็นอิสระ ต่างก็พยายามที่สร้าง
ชาติของตนให้เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ หลังสงครามฝรั่งเศส - ปรัสเซีย เกิดจากการแย่งชิงอานาจทางการเมืองระหว่าง
ฝรั่งเศสกับปรัสเซีย ปรัสเซียสามารถเอาชนะฝรั่งเศสได้ ฝรั่งเศสจึงต้องเสียแคว้นอัลซาซ - ลอเรนให้แก่เยอรมนี ทาให้
รัฐเยอรมนีสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิเยอรมัน เป็นมหาอานาจในยุโรป
สาเหตุของสงคราม
2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม มหาอานาจตะวันตกแสวงหาอาณานิคมในแอฟริกา
และเอเชีย เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบ โดยใช้กาลังทหารเข้ายึดครองดินแดนที่มีแหล่ง
ทรัพยากรธรรมชาติ จึงเป็นเหตุให้เกิดสงครามหลายครั้งเพื่อแย่งชิงดินแดนใน 2 ทวีป การ
ขัดแย้งนาไปสู่การสะสมกาลังทหาร กาลังอาวุธยุทโธปกรณ์และมีความหวาดระแวงต่อ
กันมากขึ้น ประเทศจักรวรรดินิยมหรือมหาอานาจตะวันตก ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส
สหรัฐอเมริกา เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม
สาเหตุของสงคราม
แผนที่แสดงเขตอาณานิคม
• ดินแดนในแอฟริกาตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม โปรตุเกส
• ทวีปเอเชีย อังกฤษครอบครองอินเดีย พม่า มลายู บอร์เนียว ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
• ทวีปเอเชีย ฝรั่งเศสครอบครองลาว เขมร ญวน รวมเป็นอินโดจีนฝรั่งเศส
• ตะวันออกกลางเป็นดินแดนแข่งขันอิทธิพลระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และตุรกี
สาเหตุของสงคราม
ในด้านผลประโยชน์ อานาจทางการ เมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งความมั่นคงของ
ประเทศ สาเหตุของสงคราม
3. ความขัดแย้งระหว่างชาติมหาอานาจต่างๆ
3.1 ความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับปรัสเซีย ฝรั่งเศสมีความขัดแย้งกับปรัสเซีย(รัฐ
เอกของเยอรมนี) ซึ่งเป็นผู้นากองทัพเยอรมนีที่พยายามจะรวมชาติให้สาเร็จ
ฝรั่งเศสพยายามกีดกันไม่ให้เยอรมนีรวมชาติ เพราะเกรงว่าจะเป็นภัยต่อฝรั่งเศส
จนต้องทาสงครามฝรั่งเศส - ปรัสเซีย ผลคือฝรั่งเศสพ่ายแพ้ต้องทาสัญญาสงบศึก
ต่อมารัฐบาลฝรั่งเศสได้ทาสัญญาแฟรงค์เฟิร์ต (Treaty of
Frankfurt) ต้องสูญเสียดินแดนอัลซาซ - ลอเรนและต้องจ่ายค่า
ปฏิกรรมสงคราม
สาเหตุของสงคราม
3.2 ความขัดแย้งระหว่างออสเตรีย - ฮังการีกับสหภาพโซเวียต
ออสเตรีย-ฮังการีแข่งขันกันขยายอิทธิพลในดินแดนยุโรปตะวันออก
และคาบสมุทรบอลข่าน ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 คาบสมุทรบอลข่าน
ได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน แต่ต่อมา
จักรวรรดิออตโตมันอ่อนแอลง ทาให้สูญเสียดินแดนในครอบครอง
ให้กับชาติอื่น เช่น
สาเหตุของสงคราม
ตามสนธิสัญญาคาร์โลวิทซ์ (Treaty of Karlowitz :
ค . ศ . 1699) ออสเตรียได้ครอบครองฮังการี ทรานซิลเวเนีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย
ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จักรวรรดิออตโตมันทาสนธิสัญญากูชุก ไกนาร์จี (Treaty
of Kuchuk Kainarji : ค . ศ . 1774) ทาให้สหภาพโซเวียตได้ดินแดน
ชายฝั่งตอนเหนือของทะเลดาและสิทธิในการคุ้มครองคริสต์ศาสนิกชนนิกายกรีกออร์ธ
อดอกซ์ในดินแดนของจักรวรรดิออตโตมัน นอกจากนี้สหภาพโซเวียตยังดาเนิน
นโยบายต่างประเทศที่เรียกว่า อุดมการณ์รวมกลุ่มสลาฟ และเข้าแทรกแซงทาง
การเมือง ทาให้ชนชาติสลาฟในคาบสมุทรบอลข่านหวังให้สหภาพโซเวียตช่วยให้
ตนเองได้ตั้งรัฐอิสระและปกครองตนเอง ภายหลังสนธิสัญญาบูคาเรสต์ (Treaty
of Bucharest : ค . ศ . 1812) สหภาพโซเวียตได้เป็นผู้ค้าประกันเซอร์เบีย
สาเหตุของสงคราม
ใน ค . ศ . 1875 พวกสลาฟในบอสเนียได้ก่อกบฏ เพื่อแยกตนเป็นอิสระและหวัง
ผลประโยชน์ในการใช้คาบสมุทรบอลข่านเป็นทางออกทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จึง
ประกาศสงครามกับจักรวรรดิออตโตมัน ค.ศ. 1877 สงครามยุติลง สหภาพโซ
เวียตเป็นฝ่ายชนะจึงสนับสนุนเซอร์เบียในการรวมชาวสลาฟ เมื่อออสเตรีย -
ฮังการีใช้เหตุการณ์ที่พวกเติร์กก่อการปฏิวัติ ผนวกดินแดนที่มีชาวสลาฟ 2 แคว้น
คือ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาเป็นของตน เพื่อป้องกันมิให้ขบวนการรวมกลุ่ม
สลาฟซึ่งมีเซอร์เบียเป็นผู้นาดาเนินการเคลื่อนไหวกับพวกสลาฟในบอสเนีย
เซอร์เบียและสหภาพโซเวียตจึงยุยงพวกสลาฟให้ก่อกบฏขึ้น
สาเหตุของสงคราม
ค.ศ . 1908 เกิดวิกฤตการณ์บอสเนีย ภายหลังการเจรจา วิกฤตการณ์ดังกล่าวสิ้นสุด
ลง แม้ปราศจากสงครามแต่ก็ก่อความร้าวฉานระหว่างเซอร์เบียและสหภาพโซเวียต
กับออสเตรีย - ฮังการี ค.ศ. 1912 - 1913 เซอร์เบีย บัลแกเรีย และกรีซ ทาสงครามกับ
ตุรกี และสามารถยึดครองดินแดนตุรกีในยุโรปได้ แต่หลังจากสงครามเกิดปัญหาการ
แบ่งแยกดินแดนจนขัดแย้งกันเอง ทาให้เกิดสงครามระหว่างสามประเทศ ผลของ
สงครามทาให้บัลแกเรียเสียดินแดนบางส่วนให้กรีซและเซอร์เบีย เซอร์เบียจึง
กลายเป็นแคว้นที่มีอิทธิพลมากที่ในกลุ่มสลาฟ จนเป็นที่เกรงกลัวของจักรวรรดิ
ออสเตรีย-ฮังการี
สาเหตุของสงคราม
3.3 ความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับเยอรมนี อังกฤษไม่พอใจ
เยอรมนีที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางทหารเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
รวมทั้งการแข่งขันด้านการค้า ทาให้อังกฤษเห็นว่าความ
เข้มแข็งของเยอรมนีเป็นภัยคุกคามอังกฤษ
สาเหตุของสงคราม
4. มหาอานาจในยุโรปแตกแยกออกเป็น 2 ฝ่าย เริ่มเมื่อเยอรมนี ออสเตรีย - ฮังการี
ลงนามใน สนธิสัญญาพันธไมตรีทวิภาคี เพราะออสเตรีย - ฮังการีไม่ไว้ใจสหภาพโซ
เวียตจากการแข่งกันขยายอานาจในคาบสมุทรบอลข่าน ส่วนเยอรมนีต้องการหา
พันธมิตรหากเกิดสงครามกับฝรั่งเศสหรือสหภาพโซเวียต โดยทั้งคู่สัญญาว่าจะ
ช่วยเหลือกันและกัน ถ้าถูกสหภาพโซเวียตโจมตี ต่อมาสัญญาฉบับนี้ได้ขยายเป็น
สนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances : ค . ศ . 1882) โดยรวม
อิตาลีเข้ามาด้วย เพราะอิตาลีเกรงว่าจะถูกฝรั่งเศสโจมตี
สาเหตุของสงคราม
อีกฝ่ายหนึ่งคือกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี ( Triple Entente) คือ
สหภาพโซเวียตกับฝรั่งเศสได้ลงนามใน อนุสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางทหาร
(Military Convention : ค . ศ . 1892) เพราะสหภาพโซเวียตกาลังแข่ง
อานาจกับออสเตรีย - ฮังการี และหวั่นเกรงว่าเยอรมนีจะเข้าข้างออสเตรีย - ฮังการี
อนุสัญญานี้ต่อมาได้กลายเป็น สนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส - รัสเซีย (Franco-
Russian Alliance : ค . ศ . 1894) โดยตกลงที่จะให้ความช่วยเหลือทาง
ทหารต่อกันในกรณีที่ถูกเยอรมนีและพันธมิตรโจมตี
สาเหตุของสงคราม
ทางด้านอังกฤษ ดาเนินนโยบายต่างประเทศแบบอยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่ภายหลัง
สงครามบัวร์ (Boer War : ค . ศ . 1899-1902) อังกฤษถูกประณามจาก
ประเทศมหาอานาจ รวมทั้งไม่พอใจการเสริมกาลังกองทัพและการขยาย
แสนยานุภาพทางทะเลของเยอรมนี อังกฤษจึงดาเนินนโยบายและแสวงหา
พันธมิตร โดยทาความตกลงฉันท์มิตรกับฝรั่งเศสใน ค . ศ . 1904 และลงนามใน
ความตกลงอังกฤษ - รัสเซีย (Anglo-Russian Entente : ค . ศ .
1907) และต่อมากลายเป็น ความตกลงไตรภาคี (Triple Entente)
ระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย เพื่อแก้ไขกรณีพิพาทในเรื่องอาณานิคมและการ
แย่งผลประโยชน์
สาเหตุของสงคราม
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1 วันที่ 28 มิถุนายน ค . ศ . 1914 อาร์คดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดิ
นานด์ รัชทายาทของออสเตรีย - ฮังการี พร้อมเจ้าหญิงโซฟี พระชายา ขณะเสด็จประพาส
เมืองซาราเยโว นครหลวงของบอสเนีย ได้ถูกนายกัฟริโล ปรินซิป ชาวบอสเนียเชื้อสายเซิร์บ
ลอบปลงพระชนม์เพื่อแก้แค้นที่จักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการีเข้ายึดครองบอสเนีย -
เฮอร์เซโกวินาและขัดขวางการรวมตัวของชาวสลาฟกับเซอร์เบีย ออสเตรีย - ฮังการีจึง
ประกาศสงครามกับเซอร์เบียเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค . ศ . 1914 อาร์คดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดิ
นานด์ และเจ้าหญิงโซฟี วิกฤตการณ์ซาราเยโวหรือวิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคม
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่1
กัฟรีโล ปรินซีป ถูกจับกุมทันทีหลังลอบปลงพระชนม์ อาร์คดุ๊กเฟอร์ดินานด์
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1 สหภาพโซเวียตในฐานะผู้พิทักษ์ชาวสลาฟระดมพลเพื่อช่วยเหลือเซอร์เบียทา
สงครามกับออสเตรีย - ฮังการี ซึ่งเป็นพันธมิตรกับเยอรมนี ฝรั่งเศสปฏิเสธที่จะวางตนเป็นกลาง เนื่องจากโกรธ
แค้นจากการที่เยอรมนียึดครองดินแดนอัลซาซ-ลอเรนในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เยอรมนีจึงประกาศสงคราม
กับสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค . ศ . 1914 และประกาศสงครามกับฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม ค . ศ
. 1914 และก็ได้ส่งกองทัพบุกเบลเยียมซึ่งเป็นประเทศที่ได้รับการประกันความเป็นกลาง เพื่อบุกฝรั่งเศสตาม
แผนชลีฟเฟิน (Schlieffen Plan : แผนการรบของเยอรมนีด้วยวิธีรบรุกอย่างรวดเร็ว เพื่อจะพิชิต
ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และอังกฤษ ) อังกฤษจึงประกาศสงครามต่อเยอรมนีเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ค . ศ . 1914
สงครามระหว่างออสเตรีย - ฮังการีกับเซอร์เบียจึงได้ขยายตัวเป็นสงครามโลกครั้งที่ 1
ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามขยายออกเป็น 2 ฝ่าย คือ
1.ฝ่ายมหาอานาจพันธมิตร (The Allied Powers)
ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต เซอร์เบีย เบลเยียม
รวมทั้งอิตาลีที่เปลี่ยนใจเข้ากับฝ่ายมหาอานาจพันธมิตรเพราะต้องการที่จะผนวก
ดินแดนของออสเตรีย - ฮังการีที่มีชาวอิตาลีอาศัยอยู่จานวนมากและชาติอื่นๆ
รวมทั้งญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ที่เมื่อเริ่มสงครามประกาศนโยบายต่างประเทศ
แบบเป็นกลาง จนกระทั่งเมื่อ ค . ศ . 1917 จึงเข้าข้างฝ่ายมหาอานาจพันธมิตร
2. ฝ่ายมหาอานาจกลาง (The Central Powers)
ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย - ฮังการี ตุรกี และ บัลแกเรีย
Leaders of the Major Allied Powers as of 1917 George V, King of the
United Kingdom Raymond Poincaré, President of France Woodrow
Wilson, President of the United States Vittorio Emanuele III, King of
Italy Albert I, King of the Belgium
All the Allied Powers' Flags as of 1917
Leaders of the Major Central Powers
Kaiser Wilhelm II: German Emperor Franz Joseph: Emperor of
Austria-Hungary Mehmed V: Sultan of the Ottoman Empire Czar
Ferdinand I: Czar of Bulgaria
At this point there were two major alliances, the Allied
powers, the Central powers, and their supporters. The rest
were neutral.
สีเขียว คือ ฝ่ายมหาอานาจสัมพันธมิตร
สีส้ม คือ ฝ่ายมหาอานาจกลาง
สีเทา คือ ประเทศที่เป็นกลาง
แผนที่แสดงประเทศผู้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1
การรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการรบทั้งทางอากาศ ทางบก และทางเรือ ประเทศคู่
สงครามต่างประดิษฐ์อาวุธยุทโธปกรณ์ใหม่ๆ ที่มีอานาจการทาลายสูงมาใช้ เช่น อังกฤษ
เป็นชาติแรกที่ประดิษฐ์เรือดาน้าที่เรียกว่า เรือยู (U-Boat)
“ เรือยู ” เป็นเรือดาน้าที่ผลิตโดยประเทศอังกฤษในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1
ปลายสงคราม เยอรมนีเริ่มพ่ายแพ้ในการรบ ทหารและประชาชนชาวเยอรมันได้ก่อ
การปฏิวัติ คณะรัฐบาลถูกยุบ กษัตริย์เยอรมันทรงสละราชสมบัติแล้วเสด็จไป
ประทับที่เนเธอร์แลนด์ จักรวรรดิเยอรมนีล่มสลายลงและเปลี่ยนแปลงการปกครอง
เป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค . ศ 1918 ผู้นาคณะรัฐบาลชุด
ใหม่ขอสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตรและลงนามในสัญญาสงบศึก สงครามโลกครั้งที่
1 จึงยุติลง ( เมื่อใน ค . ศ . 1918)
พระเจ้าไกเซอร์วิลเลียมที่ 2
- แนวรบด้านตะวันตก
กองทัพเยอรมันบุกประเทศเบลเยียมตามแผนชลีฟเฟินเพื่อโจมตีฝรั่งเศส โดยยึดเบลเยียมได้เกือบทั้งประเทศ
รวมถึงภาคเหนือของฝรั่งเศส แต่ได้รับการต่อต้านจากฝ่ายมหาอานาจสัมพันธมิตรจนไม่สามารถรุกต่อไปยังกรุงปารีสได้
11
ทหารเยอรมันในตู้รถไฟขนสินค้าขณะไปยังแนวหน้าใน ค.ศ. 1914 ข้อความบนตู้เขียนว่า " ทริป ไปปารีส" ในช่วงต้นของ
สงครามคาดกันว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจะกินเวลาสั้น ๆ เท่านั้น
สถานการณ์ของสงคราม
- แนวรบด้านตะวันออก
สหภาพโซเวียตส่งกองทัพเข้าโจมตีเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ในระยะแรกสหภาพโซเวียตเป็นฝ่าย
ได้ชัยชนะ แต่หลังจาก ค.ศ. 1915 กองทัพสหภาพโซเวียตเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ กองทัพเยอรมันยึดเมืองวอร์ซอและ
เมืองวิลนาในโปแลนด์ ทาให้สหภาพโซเวียตสูญเสียทหารกว่า 1 ล้านคน
เชลยศึกรัสเซียที่ เทนเนนแบร์ก
- แนวรบด้านบอลข่าน
กองทัพออสเตรีย-ฮังการีไม่สามารถเอาชนะเซอร์เบียได้ แต่เมื่อตุรกีและบัลแกเรียเข้าช่วยฝ่ายมหาอานาจ
กลาง กองทัพฝ่ายมหาอานาจกลางก็สามารถยึดครองประเทศเซอร์เบีย แอลเบเนีย และมอนเตเนโกรได้
ทหารออสเตรียประหารชีวิตชาว เซอร์เบีย ที่ถูกจับเป็นเชลยใน ค.ศ. 1917 เซอร์เบีย สูญเสียประชากรราว 850,000
คน หนึ่งในสี่ของประชากรก่อนสงคราม และทรัพยากรครึ่งหนึ่งก่อนสงคราม
ทหารบัลแกเรียในสนามเพลาะ เตรียมยิงอากาศยานที่กาลังมา
- แนวรบทางทะเล
กองทัพเรืออังกฤษสามารถเอาชนะกองทัพเรือเยอรมัน และตัดขาดเส้นทางคมนาคมในมหาสมุทร
แอตแลนติกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้สาเร็จ ต่อมาเยอรมนีใช้เรือดาน้าทาลายเรือรบและเรือสินค้ารอบๆ
เกาะอังกฤษ ส่งผลให้เรือกลไฟของฝรั่งเศสชื่อ ซัสเซก ที่มีชาวอเมริกันโดยสารมาด้วยเสียชีวิต แม้รัฐบาลของ
สหรัฐอเมริกาจะประท้วง แต่เยอรมนีก็ยังคงทาสงครามด้วยเรือดาน้าต่อไป สหรัฐอเมริกาจึงตัดสินใจเข้าช่วย
ฝ่ายมหาอานาจสัมพันธมิตร และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1917
กองเรือรบประจัญบานแห่งกองเรือทะเลหลวง ในมหาสมุทรแอตแลนติก
HMS Lion ระหว่างยุทธนา วีจัต แลนด์ หลังถูกระดมยิงอย่างหนัก จากเรือรบ
เยอรมัน
- การเข้าร่วมสงครามของสหรัฐอเมริกา
สหรัฐอเมริกาส่งทหารและยุทโธปกรณ์ทางบก ทางเรือ และทางอากาศเข้า
ร่วมรบและปราบปรามเรือดาน้าของเยอรมนี และได้เพิ่มกาลังทหารเข้าไปในยุโรป
จานวนกว่า 1 ล้านคน หลังจากนั้นกองทัพเยอรมันก็ตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ ส่วน
ประเทศพันธมิตรของเยอรมันก็เริ่มพ่ายแพ้ ในวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
ออสเตรีย-ฮังการีแยกเป็น 2 ประเทศและขอทาสัญญาสงบศึก ต่อมาในวันที่ 11
พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 เยอรมนีลงนามในสัญญาสงบศึก สงครามโลกครั้งที่ 1 จึงยุติ
ลง
วิลสันประกาศตัดความสัมพันธ์กับเยอรมนีอย่างเป็นทางการ
ต่อหน้ารัฐสภา 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917
1.เกิดความเสียหายด้านชีวิตและทรัพย์สินจานวนมหาศาล
มีทหารเสียชีวิตประมาณ 13 ล้านคน บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน
ภายหลังสงครามประชาชนในยุโรปต้องเผชิญกับโรคระบาด ความอดอยาก
เศรษฐกิจตกต่าลง อุตสาหกรรมและการค้าถูกทาลาย
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
แผนภูมิแสดงจานวนทหารที่เสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่ 1
2. เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านมหาอานาจในยุโรป
ดุลอานาจในยุโรปเปลี่ยนไป จักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการีและจักรวรรดิออตโตมันสลายตัว ดินแดน
ส่วนใหญ่ถูกแบ่งให้ประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร แต่แม้จะชนะสงครามก็อ่อนแอลงและเสียหายอย่างหนัก
ทาให้เกิดมหาอานาจใหม่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ที่มีบทบาทเพิ่มขึ้นในการเมืองโลก และญี่ปุ่นกลายเป็น
มหาอานาจในเอเชียและได้ครอบครองอาณานิคมต่างๆ ของเยอรมนีในเอเชีย
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
3. เกิดประเทศใหม่
อาหรับเดิม กลายเป็นประเทศตุรกี
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี แตกออกเป็นประเทศเอกราชใหม่ ได้แก่
ออสเตรีย ฮังการี เชโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวีย
จักรวรรดิออตโตมัน ล่มสลาย แผ่นดินเดิมของจักรวรรดินอกจากที่ราบสูงอ
นาโตเลียได้ถูกแบ่งให้กลายเป็นอาณานิคมของผู้ชนะสงคราม
สหภาพโซเวียต ซึ่งได้ถอนตัวจากสงครามในปี 1917 ได้สูญเสียดินแดนของ
ตนเป็นจานวนมากทางชายแดนด้านตะวันตกกลายเป็นประเทศใหม่ ได้แก่ เอสโตเนีย
ฟินแลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนีย และ โปแลนด์
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
Map Europe 1923
เช่น ปืนใหญ่ ปืนกล แก๊สพิษ รถถัง เรือดาน้า โดยเฉพาะเครื่องบินประเภทต่างๆ ซึ่ง
นาไปสู่การประดิษฐ์เครื่องบินโดยสารในเวลาต่อมา 4. เกิดการพัฒนาเครื่องมือ
เครื่องใช้ อาวุธยุทโธปกรณ์ รถถัง Mark I พัฒนาขึ้นโดยกองทัพบกอังกฤษ ใน
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ถือว่าเป็นรถถังรุ่นแรกที่เข้าสู่สนามรบ
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
ซากเรือดาน้า HMS E-18 ของอังกฤษ ที่หายสาบสูญไประหว่างลาดในบริเวณทะเลบอลติก
เรือรบ QUEEN ELIZABETH CLASS เรือรบที่ฝ่ายอังกฤษสร้างขึ้นเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 และ
ปรับปรุงใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วย
5. เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองในประเทศต่างๆ เช่น ออสเตรีย เปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐ
เรียกว่า สาธารณรัฐออสเตรียที่ 1 ส่วนเยอรมนีเปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐ ซึ่งต่อมาเรียกว่า
สาธารณรัฐไวมาร์ สาหรับสหภาพโซเวียตเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสังคมนิยม โดยเปลี่ยนชื่อ
ประเทศเป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตหรือสหภาพโซเวียต (The Union of Soviet
Socialist Republics : U.S.S.R) เมื่อ ค . ศ . 1918 เนื่องจากการทาสงครามยาวนาน
ทาให้เกิดภาวะขาดแคลนต่างๆ และรัฐบาลไม่สามารถแก้ไขได้ ประกอบกับการพ่ายแพ้ในการรบอยู่เนืองๆ
ชาวรัสเซียจึงก่อการปฏิวัติขึ้นก่อนสงครามโลกยุติลง กล่าวได้ว่า สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นตัวเร่งที่ทาให้
เกิดรัฐสังคมนิยมคอมมิวนิสต์แห่งแรกของโลก อียิปต์ ปาเลสไตน์ จอร์แดน และอิรัก เปลี่ยนเป็นรัฐใน
อารักขาของอังกฤษ ส่วนซีเรียและ เลบานอนอยู่ในอารักขาของฝรั่งเศส
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
6. ประเทศผู้แพ้สงครามเมื่อถูกลงโทษด้วยการเสียดินแดน สูญเสียแหล่งทรัพยากร และ
ต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามอย่างหนัก สร้างความไม่พอใจเป็นอย่างยิ่งว่าไม่ได้รับ
ความเป็นธรรม เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้นอีก
7. ประเทศทั้งหลายตระหนักถึงความหายนะของสงคราม และพยายามที่จะหาทาง
ไม่ให้เกิดสงครามอีก ผู้นาแต่ละประเทศต่างต้องการเจรจาทาสัญญาสันติภาพ โดย
จัดตั้งองค์การระหว่างประเทศสันนิบาตชาติขึ้น
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทาขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ
พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและ
จักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอานาจ
กลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลง
นามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 แล้วก็ตาม การประชุมสันติภาพที่กรุงปารีส
กินเวลานานกว่า 6 เดือน จึงได้มีการสรุปสนธิสัญญา
สนธิสัญญาแวร์ซาย ( TREATY OF VERSAILLES )
หน้าต้นของสนธิสัญญาแวร์ซายฉบับภาษาอังกฤษ
สนธิสัญญาได้กาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพียงผู้เดียว
ภายใต้ข้อตกลงที่เรียกว่า อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจากัดอาณา
เขตดินแดน และต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจานวนมหาศาล
เมื่อปี ค.ศ. 1921 ได้ประเมินว่ามูลค่าของค่าปฏิกรรมสงครามที่เยอรมนีจะต้องจ่ายนั้นสูงถึง 132 , 000 ล้าน
มาร์ก (ราว 31 , 400 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 6 , 600 ล้านปอนด์) เป็นจานวนที่มากเกินกว่าจะยอมรับได้และ
เยอรมนีอาจต้องใช้เวลาชาระหนี้จนถึง ค.ศ. 1988 การชาระค่าปฏิกรรมสงครามนัดสุดท้ายมีขึ้นเมื่อวันที่ 4
ตุลาคม ค.ศ. 2010 วันครบรอบ 20 ปีการรวมประเทศเยอรมนี และ 92 ปีพอดีหลังสงครามยุติ ผลจาก
สนธิสัญญา
สนธิสัญญาแวร์ซาย ( TREATY OF VERSAILLES )
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดขึ้นในรัชสมัยของรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2457 ไทยตั้งตัวเป็นกลาง
จนกระทั่งวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 ไทยจึงได้ประกาศสงครามกับเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี
และส่งทหารอาสาสมัครไปช่วยรบ 1,233 นาย ในจานวนนี้เสียชีวิต 19 นาย
ทหารอาสาออกเดินทางเมื่อ พ.ศ. 2461 ถึงประเทศฝรั่งเศสอยู่ใต้บัญชาการของนายพล เป
แตง ซึ่งขณะนั้นดารงตาแหน่งแม่ทัพใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้ไปปฏิบัติการในสมรภูมิประเทศฝรั่งเศส
และเบลเยี่ยม การส่งทหารไปรบในครั้งนี้นับว่าเป็นประโยชน์เพราะเท่ากับได้ไปเรียนวิชาการทาง
เทคนิคการรบและการช่างในสมรภูมิจริง
ไทยกับการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 พ.ศ. 2457 - 2461
กองทหารไทยในดินแดนเยอรมนี ทหารไทยสวนสนามที่อังกฤษ
เมื่อเสร็จสงคราม มหาอานาจพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ ประเทศไทยได้ส่งผู้แทนเข้าประชุม ณ
พระราชวังแวร์ซายด้วย ผลพลอยได้จากการเข้าสงครามนี้คือ สัญญาต่าง ๆ ที่ไทยทากับเยอรมนี
และออสเตรีย-ฮังการี ย่อมสิ้นสุดลงตั้งแต่ไทยประกาศสงคราม และไทยขอเจรจาข้อแก้ไข
สนธิสัญญาฉบับเก่า ซึ่งทาไว้กับอังกฤษ ฝรั่งเศส และชาติอื่น ๆ โดยได้ความช่วยเหลือจาก ดร.
ฟรานซิส บีแซร์ ( Dr. Francis B. Sayre) ชาวอเมริกา ซึ่งเคยเป็นที่ปรึกษา
ต่างประเทศ จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยากัลยา ณ ไมตรี ในที่สุดประเทศต่าง ๆ 13
ประเทศ รวมทั้งอังกฤษตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2468 และฝรั่งเศสตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2467 ตกลง
ยอมแก้ไขสัญญา โดยมีเงื่อนไขบางประการ ในที่สุดประเทศต่างๆ ก็ยอมทาสัญญาใหม่กับไทย เมื่อ
พ.ศ. 2480 ไทยได้อิสรภาพทางอานาจศาลและภาษีอากรคืนมาโดยสมบูรณ์
ไทยกับการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 พ.ศ. 2457 - 2461
1.เป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงและเกียรติคุณของประเทศ
2. ได้รับเกียรติเข้าร่วมทาสัญญาสันติภาพแวร์ซายส์
3. เมื่อสงครามสงบได้รับเชิญเข้าเป็นสมาชิกประเภทริเริ่มขององค์การสันนิบาตชาติ เป็นหลักประกันเอกราช
และความปลอดภัยของประเทศ
4. แก้ไขสัญญาที่ทาไว้แต่รัชกาลที่ 4 เป็นผลสาเร็จ ยกเลิกสัญญาต่าง ๆ ที่ไทยทากับเยอรมันและออสเตรีย-
ฮังการี และทาสัญญากับประเทศต่าง ๆ ใหม่
5. ได้ยึดทรัพย์จากเชลย
6. เปลี่ยนธงชาติจากธงช้างมาเป็นธงไตรรงค์ เพื่อนาไปใช้ในกองทัพไทยที่เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1
7. สร้างอนุสาวรีย์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งคือ อนุสาวรีย์ทหารอาสา วงเวียน 22 กรกฎา สมาคมสหาย
สงคราม เป็นต้น
8. มีการจัดทหารแบบยุโรป และเริ่มจัดตั้งกรมอากาศยานขึ้นเป็นครั้งแรก
ผลที่ไทยได้รับจากการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1
สมาชิกกลุ่ม
นางสาวปภาสรณ์ ดวงเอ้ย เลขที่7
นางสาวพัชรินทร์ มหิตธิ เลขที่43
นางสาวสุชาวลี บัวอินทร์ เลขที่47
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5.2

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1supasit2702
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
fsarawanee
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
Taraya Srivilas
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
Waciraya Junjamsri
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2May Sirinan
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
tanut lanamwong
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
knwframe1
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
Panda Jing
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
Taraya Srivilas
 

What's hot (19)

สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 

Viewers also liked

Kochetkov mykyta
Kochetkov mykytaKochetkov mykyta
Kochetkov mykyta
nikkozp
 
Agc wp-separation of industrial multi-component mixtures
Agc wp-separation of industrial multi-component mixturesAgc wp-separation of industrial multi-component mixtures
Agc wp-separation of industrial multi-component mixtures
AGC International, LLC
 
Secondary 1 CCA Briefing 2017 LEAPS 2.0 slides
Secondary 1 CCA Briefing 2017 LEAPS 2.0 slides Secondary 1 CCA Briefing 2017 LEAPS 2.0 slides
Secondary 1 CCA Briefing 2017 LEAPS 2.0 slides
Nursaliza Mshdk
 
Limitless Creative Co Capabilities Deck
Limitless Creative Co Capabilities DeckLimitless Creative Co Capabilities Deck
Limitless Creative Co Capabilities Deck
Brian Jacob
 
Correspondencia entre grupos de procesos y áreas de conocimiento de la direcc...
Correspondencia entre grupos de procesos y áreas de conocimiento de la direcc...Correspondencia entre grupos de procesos y áreas de conocimiento de la direcc...
Correspondencia entre grupos de procesos y áreas de conocimiento de la direcc...
Raquel Naranjo
 
2015-16 Sample Shale Energy Presentations and Immersion Programs
2015-16 Sample Shale Energy Presentations and Immersion Programs2015-16 Sample Shale Energy Presentations and Immersion Programs
2015-16 Sample Shale Energy Presentations and Immersion ProgramsTom Murphy
 
Mohamad amsanudin,11140583,5v materi 1
Mohamad amsanudin,11140583,5v materi 1Mohamad amsanudin,11140583,5v materi 1
Mohamad amsanudin,11140583,5v materi 1
mohamad amsanudin
 
Es posible la revolución educativa sin la integración
Es posible la revolución educativa sin la integraciónEs posible la revolución educativa sin la integración
Es posible la revolución educativa sin la integración
leydis Encanacion
 
Masterthesis Strategic Communication
Masterthesis Strategic CommunicationMasterthesis Strategic Communication
Masterthesis Strategic CommunicationKatelijne Bijnens
 
Economics - The Demand Curve
Economics - The Demand CurveEconomics - The Demand Curve
Economics - The Demand Curve
Olivia Dickson
 
Agc wp-magicmedia1
Agc wp-magicmedia1Agc wp-magicmedia1
Agc wp-magicmedia1
AGC International, LLC
 
Fellowships and awards
Fellowships and awardsFellowships and awards
Fellowships and awardsPawan Bali
 
Literary Essay Format and Tips
Literary Essay Format and TipsLiterary Essay Format and Tips
Literary Essay Format and Tips
Literary Essay
 
B WARLING NEW RESUME
B WARLING NEW RESUMEB WARLING NEW RESUME
B WARLING NEW RESUMEBrent warling
 

Viewers also liked (18)

Kochetkov mykyta
Kochetkov mykytaKochetkov mykyta
Kochetkov mykyta
 
Marina's CV
Marina's CVMarina's CV
Marina's CV
 
CRISELDA_GULINAO
CRISELDA_GULINAOCRISELDA_GULINAO
CRISELDA_GULINAO
 
Agc wp-separation of industrial multi-component mixtures
Agc wp-separation of industrial multi-component mixturesAgc wp-separation of industrial multi-component mixtures
Agc wp-separation of industrial multi-component mixtures
 
DEALING_WITH_SATANIC_ALTARS.PDF
DEALING_WITH_SATANIC_ALTARS.PDFDEALING_WITH_SATANIC_ALTARS.PDF
DEALING_WITH_SATANIC_ALTARS.PDF
 
Secondary 1 CCA Briefing 2017 LEAPS 2.0 slides
Secondary 1 CCA Briefing 2017 LEAPS 2.0 slides Secondary 1 CCA Briefing 2017 LEAPS 2.0 slides
Secondary 1 CCA Briefing 2017 LEAPS 2.0 slides
 
Limitless Creative Co Capabilities Deck
Limitless Creative Co Capabilities DeckLimitless Creative Co Capabilities Deck
Limitless Creative Co Capabilities Deck
 
Correspondencia entre grupos de procesos y áreas de conocimiento de la direcc...
Correspondencia entre grupos de procesos y áreas de conocimiento de la direcc...Correspondencia entre grupos de procesos y áreas de conocimiento de la direcc...
Correspondencia entre grupos de procesos y áreas de conocimiento de la direcc...
 
Marketing Final paper
Marketing Final paperMarketing Final paper
Marketing Final paper
 
2015-16 Sample Shale Energy Presentations and Immersion Programs
2015-16 Sample Shale Energy Presentations and Immersion Programs2015-16 Sample Shale Energy Presentations and Immersion Programs
2015-16 Sample Shale Energy Presentations and Immersion Programs
 
Mohamad amsanudin,11140583,5v materi 1
Mohamad amsanudin,11140583,5v materi 1Mohamad amsanudin,11140583,5v materi 1
Mohamad amsanudin,11140583,5v materi 1
 
Es posible la revolución educativa sin la integración
Es posible la revolución educativa sin la integraciónEs posible la revolución educativa sin la integración
Es posible la revolución educativa sin la integración
 
Masterthesis Strategic Communication
Masterthesis Strategic CommunicationMasterthesis Strategic Communication
Masterthesis Strategic Communication
 
Economics - The Demand Curve
Economics - The Demand CurveEconomics - The Demand Curve
Economics - The Demand Curve
 
Agc wp-magicmedia1
Agc wp-magicmedia1Agc wp-magicmedia1
Agc wp-magicmedia1
 
Fellowships and awards
Fellowships and awardsFellowships and awards
Fellowships and awards
 
Literary Essay Format and Tips
Literary Essay Format and TipsLiterary Essay Format and Tips
Literary Essay Format and Tips
 
B WARLING NEW RESUME
B WARLING NEW RESUMEB WARLING NEW RESUME
B WARLING NEW RESUME
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่1

สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iNew Nan
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
tanut lanamwong
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
Taraya Srivilas
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่1 (19)

สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
อ31101
อ31101อ31101
อ31101
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

สงครามโลกครั้งที่1

  • 2. สงครามโลกครั้งที่1 (World War I ค.ศ.1914-1918) เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนสิงหาคม ค . ศ . 1914 และสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน ค . ศ . 1918 เป็นเวลานานถึง 4 ปี 3 เดือน เกิดจากความขัดแย้งของประเทศในทวีปยุโรปและลุกลาม ไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกมากกว่า 30 ประเทศ สร้างความเสียหายให้แก่มนุษยชาติอย่างรุนแรง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มหาสงคราม (Great War) สงครามโลกครั้งที่ 1 ( World War I ค.ศ.1914 - 1918)
  • 3. 1. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism) ขณะเดียวกันก็ทาให้การปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศสต้องสิ้นสุดลงและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสาธารณรัฐ รวมทั้งยังส่งผลให้อิตาลีรวมชาติได้สาเร็จ ทาให้เกิดลัทธิชาตินิยมในฝรั่งเศส เยอรมัน และอิตาลี ในเวลาใกล้เคียงกันก็ เกิดลัทธิชาตินิยมในคาบสมุทรบอลข่านที่ประชากรส่วนใหญ่ที่เป็นชาวสลาฟต้องการเป็นอิสระ ต่างก็พยายามที่สร้าง ชาติของตนให้เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ หลังสงครามฝรั่งเศส - ปรัสเซีย เกิดจากการแย่งชิงอานาจทางการเมืองระหว่าง ฝรั่งเศสกับปรัสเซีย ปรัสเซียสามารถเอาชนะฝรั่งเศสได้ ฝรั่งเศสจึงต้องเสียแคว้นอัลซาซ - ลอเรนให้แก่เยอรมนี ทาให้ รัฐเยอรมนีสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิเยอรมัน เป็นมหาอานาจในยุโรป สาเหตุของสงคราม
  • 4. 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม มหาอานาจตะวันตกแสวงหาอาณานิคมในแอฟริกา และเอเชีย เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบ โดยใช้กาลังทหารเข้ายึดครองดินแดนที่มีแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติ จึงเป็นเหตุให้เกิดสงครามหลายครั้งเพื่อแย่งชิงดินแดนใน 2 ทวีป การ ขัดแย้งนาไปสู่การสะสมกาลังทหาร กาลังอาวุธยุทโธปกรณ์และมีความหวาดระแวงต่อ กันมากขึ้น ประเทศจักรวรรดินิยมหรือมหาอานาจตะวันตก ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม สาเหตุของสงคราม
  • 5. แผนที่แสดงเขตอาณานิคม • ดินแดนในแอฟริกาตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม โปรตุเกส • ทวีปเอเชีย อังกฤษครอบครองอินเดีย พม่า มลายู บอร์เนียว ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ • ทวีปเอเชีย ฝรั่งเศสครอบครองลาว เขมร ญวน รวมเป็นอินโดจีนฝรั่งเศส • ตะวันออกกลางเป็นดินแดนแข่งขันอิทธิพลระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และตุรกี สาเหตุของสงคราม
  • 6. ในด้านผลประโยชน์ อานาจทางการ เมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งความมั่นคงของ ประเทศ สาเหตุของสงคราม 3. ความขัดแย้งระหว่างชาติมหาอานาจต่างๆ 3.1 ความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับปรัสเซีย ฝรั่งเศสมีความขัดแย้งกับปรัสเซีย(รัฐ เอกของเยอรมนี) ซึ่งเป็นผู้นากองทัพเยอรมนีที่พยายามจะรวมชาติให้สาเร็จ ฝรั่งเศสพยายามกีดกันไม่ให้เยอรมนีรวมชาติ เพราะเกรงว่าจะเป็นภัยต่อฝรั่งเศส จนต้องทาสงครามฝรั่งเศส - ปรัสเซีย ผลคือฝรั่งเศสพ่ายแพ้ต้องทาสัญญาสงบศึก ต่อมารัฐบาลฝรั่งเศสได้ทาสัญญาแฟรงค์เฟิร์ต (Treaty of Frankfurt) ต้องสูญเสียดินแดนอัลซาซ - ลอเรนและต้องจ่ายค่า ปฏิกรรมสงคราม สาเหตุของสงคราม
  • 7. 3.2 ความขัดแย้งระหว่างออสเตรีย - ฮังการีกับสหภาพโซเวียต ออสเตรีย-ฮังการีแข่งขันกันขยายอิทธิพลในดินแดนยุโรปตะวันออก และคาบสมุทรบอลข่าน ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 คาบสมุทรบอลข่าน ได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน แต่ต่อมา จักรวรรดิออตโตมันอ่อนแอลง ทาให้สูญเสียดินแดนในครอบครอง ให้กับชาติอื่น เช่น สาเหตุของสงคราม
  • 8. ตามสนธิสัญญาคาร์โลวิทซ์ (Treaty of Karlowitz : ค . ศ . 1699) ออสเตรียได้ครอบครองฮังการี ทรานซิลเวเนีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จักรวรรดิออตโตมันทาสนธิสัญญากูชุก ไกนาร์จี (Treaty of Kuchuk Kainarji : ค . ศ . 1774) ทาให้สหภาพโซเวียตได้ดินแดน ชายฝั่งตอนเหนือของทะเลดาและสิทธิในการคุ้มครองคริสต์ศาสนิกชนนิกายกรีกออร์ธ อดอกซ์ในดินแดนของจักรวรรดิออตโตมัน นอกจากนี้สหภาพโซเวียตยังดาเนิน นโยบายต่างประเทศที่เรียกว่า อุดมการณ์รวมกลุ่มสลาฟ และเข้าแทรกแซงทาง การเมือง ทาให้ชนชาติสลาฟในคาบสมุทรบอลข่านหวังให้สหภาพโซเวียตช่วยให้ ตนเองได้ตั้งรัฐอิสระและปกครองตนเอง ภายหลังสนธิสัญญาบูคาเรสต์ (Treaty of Bucharest : ค . ศ . 1812) สหภาพโซเวียตได้เป็นผู้ค้าประกันเซอร์เบีย สาเหตุของสงคราม
  • 9. ใน ค . ศ . 1875 พวกสลาฟในบอสเนียได้ก่อกบฏ เพื่อแยกตนเป็นอิสระและหวัง ผลประโยชน์ในการใช้คาบสมุทรบอลข่านเป็นทางออกทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จึง ประกาศสงครามกับจักรวรรดิออตโตมัน ค.ศ. 1877 สงครามยุติลง สหภาพโซ เวียตเป็นฝ่ายชนะจึงสนับสนุนเซอร์เบียในการรวมชาวสลาฟ เมื่อออสเตรีย - ฮังการีใช้เหตุการณ์ที่พวกเติร์กก่อการปฏิวัติ ผนวกดินแดนที่มีชาวสลาฟ 2 แคว้น คือ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาเป็นของตน เพื่อป้องกันมิให้ขบวนการรวมกลุ่ม สลาฟซึ่งมีเซอร์เบียเป็นผู้นาดาเนินการเคลื่อนไหวกับพวกสลาฟในบอสเนีย เซอร์เบียและสหภาพโซเวียตจึงยุยงพวกสลาฟให้ก่อกบฏขึ้น สาเหตุของสงคราม
  • 10. ค.ศ . 1908 เกิดวิกฤตการณ์บอสเนีย ภายหลังการเจรจา วิกฤตการณ์ดังกล่าวสิ้นสุด ลง แม้ปราศจากสงครามแต่ก็ก่อความร้าวฉานระหว่างเซอร์เบียและสหภาพโซเวียต กับออสเตรีย - ฮังการี ค.ศ. 1912 - 1913 เซอร์เบีย บัลแกเรีย และกรีซ ทาสงครามกับ ตุรกี และสามารถยึดครองดินแดนตุรกีในยุโรปได้ แต่หลังจากสงครามเกิดปัญหาการ แบ่งแยกดินแดนจนขัดแย้งกันเอง ทาให้เกิดสงครามระหว่างสามประเทศ ผลของ สงครามทาให้บัลแกเรียเสียดินแดนบางส่วนให้กรีซและเซอร์เบีย เซอร์เบียจึง กลายเป็นแคว้นที่มีอิทธิพลมากที่ในกลุ่มสลาฟ จนเป็นที่เกรงกลัวของจักรวรรดิ ออสเตรีย-ฮังการี สาเหตุของสงคราม
  • 12. 4. มหาอานาจในยุโรปแตกแยกออกเป็น 2 ฝ่าย เริ่มเมื่อเยอรมนี ออสเตรีย - ฮังการี ลงนามใน สนธิสัญญาพันธไมตรีทวิภาคี เพราะออสเตรีย - ฮังการีไม่ไว้ใจสหภาพโซ เวียตจากการแข่งกันขยายอานาจในคาบสมุทรบอลข่าน ส่วนเยอรมนีต้องการหา พันธมิตรหากเกิดสงครามกับฝรั่งเศสหรือสหภาพโซเวียต โดยทั้งคู่สัญญาว่าจะ ช่วยเหลือกันและกัน ถ้าถูกสหภาพโซเวียตโจมตี ต่อมาสัญญาฉบับนี้ได้ขยายเป็น สนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances : ค . ศ . 1882) โดยรวม อิตาลีเข้ามาด้วย เพราะอิตาลีเกรงว่าจะถูกฝรั่งเศสโจมตี สาเหตุของสงคราม
  • 13. อีกฝ่ายหนึ่งคือกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี ( Triple Entente) คือ สหภาพโซเวียตกับฝรั่งเศสได้ลงนามใน อนุสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางทหาร (Military Convention : ค . ศ . 1892) เพราะสหภาพโซเวียตกาลังแข่ง อานาจกับออสเตรีย - ฮังการี และหวั่นเกรงว่าเยอรมนีจะเข้าข้างออสเตรีย - ฮังการี อนุสัญญานี้ต่อมาได้กลายเป็น สนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส - รัสเซีย (Franco- Russian Alliance : ค . ศ . 1894) โดยตกลงที่จะให้ความช่วยเหลือทาง ทหารต่อกันในกรณีที่ถูกเยอรมนีและพันธมิตรโจมตี สาเหตุของสงคราม
  • 14. ทางด้านอังกฤษ ดาเนินนโยบายต่างประเทศแบบอยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่ภายหลัง สงครามบัวร์ (Boer War : ค . ศ . 1899-1902) อังกฤษถูกประณามจาก ประเทศมหาอานาจ รวมทั้งไม่พอใจการเสริมกาลังกองทัพและการขยาย แสนยานุภาพทางทะเลของเยอรมนี อังกฤษจึงดาเนินนโยบายและแสวงหา พันธมิตร โดยทาความตกลงฉันท์มิตรกับฝรั่งเศสใน ค . ศ . 1904 และลงนามใน ความตกลงอังกฤษ - รัสเซีย (Anglo-Russian Entente : ค . ศ . 1907) และต่อมากลายเป็น ความตกลงไตรภาคี (Triple Entente) ระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย เพื่อแก้ไขกรณีพิพาทในเรื่องอาณานิคมและการ แย่งผลประโยชน์ สาเหตุของสงคราม
  • 15. ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1 วันที่ 28 มิถุนายน ค . ศ . 1914 อาร์คดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดิ นานด์ รัชทายาทของออสเตรีย - ฮังการี พร้อมเจ้าหญิงโซฟี พระชายา ขณะเสด็จประพาส เมืองซาราเยโว นครหลวงของบอสเนีย ได้ถูกนายกัฟริโล ปรินซิป ชาวบอสเนียเชื้อสายเซิร์บ ลอบปลงพระชนม์เพื่อแก้แค้นที่จักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการีเข้ายึดครองบอสเนีย - เฮอร์เซโกวินาและขัดขวางการรวมตัวของชาวสลาฟกับเซอร์เบีย ออสเตรีย - ฮังการีจึง ประกาศสงครามกับเซอร์เบียเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค . ศ . 1914 อาร์คดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดิ นานด์ และเจ้าหญิงโซฟี วิกฤตการณ์ซาราเยโวหรือวิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคม ชนวนของสงครามโลกครั้งที่1
  • 17. ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1 สหภาพโซเวียตในฐานะผู้พิทักษ์ชาวสลาฟระดมพลเพื่อช่วยเหลือเซอร์เบียทา สงครามกับออสเตรีย - ฮังการี ซึ่งเป็นพันธมิตรกับเยอรมนี ฝรั่งเศสปฏิเสธที่จะวางตนเป็นกลาง เนื่องจากโกรธ แค้นจากการที่เยอรมนียึดครองดินแดนอัลซาซ-ลอเรนในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เยอรมนีจึงประกาศสงคราม กับสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค . ศ . 1914 และประกาศสงครามกับฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม ค . ศ . 1914 และก็ได้ส่งกองทัพบุกเบลเยียมซึ่งเป็นประเทศที่ได้รับการประกันความเป็นกลาง เพื่อบุกฝรั่งเศสตาม แผนชลีฟเฟิน (Schlieffen Plan : แผนการรบของเยอรมนีด้วยวิธีรบรุกอย่างรวดเร็ว เพื่อจะพิชิต ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และอังกฤษ ) อังกฤษจึงประกาศสงครามต่อเยอรมนีเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ค . ศ . 1914 สงครามระหว่างออสเตรีย - ฮังการีกับเซอร์เบียจึงได้ขยายตัวเป็นสงครามโลกครั้งที่ 1 ชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 18. สงครามขยายออกเป็น 2 ฝ่าย คือ 1.ฝ่ายมหาอานาจพันธมิตร (The Allied Powers) ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต เซอร์เบีย เบลเยียม รวมทั้งอิตาลีที่เปลี่ยนใจเข้ากับฝ่ายมหาอานาจพันธมิตรเพราะต้องการที่จะผนวก ดินแดนของออสเตรีย - ฮังการีที่มีชาวอิตาลีอาศัยอยู่จานวนมากและชาติอื่นๆ รวมทั้งญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ที่เมื่อเริ่มสงครามประกาศนโยบายต่างประเทศ แบบเป็นกลาง จนกระทั่งเมื่อ ค . ศ . 1917 จึงเข้าข้างฝ่ายมหาอานาจพันธมิตร 2. ฝ่ายมหาอานาจกลาง (The Central Powers) ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย - ฮังการี ตุรกี และ บัลแกเรีย
  • 19. Leaders of the Major Allied Powers as of 1917 George V, King of the United Kingdom Raymond Poincaré, President of France Woodrow Wilson, President of the United States Vittorio Emanuele III, King of Italy Albert I, King of the Belgium
  • 20. All the Allied Powers' Flags as of 1917
  • 21. Leaders of the Major Central Powers Kaiser Wilhelm II: German Emperor Franz Joseph: Emperor of Austria-Hungary Mehmed V: Sultan of the Ottoman Empire Czar Ferdinand I: Czar of Bulgaria
  • 22. At this point there were two major alliances, the Allied powers, the Central powers, and their supporters. The rest were neutral.
  • 23. สีเขียว คือ ฝ่ายมหาอานาจสัมพันธมิตร สีส้ม คือ ฝ่ายมหาอานาจกลาง สีเทา คือ ประเทศที่เป็นกลาง แผนที่แสดงประเทศผู้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 24. การรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการรบทั้งทางอากาศ ทางบก และทางเรือ ประเทศคู่ สงครามต่างประดิษฐ์อาวุธยุทโธปกรณ์ใหม่ๆ ที่มีอานาจการทาลายสูงมาใช้ เช่น อังกฤษ เป็นชาติแรกที่ประดิษฐ์เรือดาน้าที่เรียกว่า เรือยู (U-Boat) “ เรือยู ” เป็นเรือดาน้าที่ผลิตโดยประเทศอังกฤษในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 25. ปลายสงคราม เยอรมนีเริ่มพ่ายแพ้ในการรบ ทหารและประชาชนชาวเยอรมันได้ก่อ การปฏิวัติ คณะรัฐบาลถูกยุบ กษัตริย์เยอรมันทรงสละราชสมบัติแล้วเสด็จไป ประทับที่เนเธอร์แลนด์ จักรวรรดิเยอรมนีล่มสลายลงและเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค . ศ 1918 ผู้นาคณะรัฐบาลชุด ใหม่ขอสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตรและลงนามในสัญญาสงบศึก สงครามโลกครั้งที่ 1 จึงยุติลง ( เมื่อใน ค . ศ . 1918) พระเจ้าไกเซอร์วิลเลียมที่ 2
  • 26. - แนวรบด้านตะวันตก กองทัพเยอรมันบุกประเทศเบลเยียมตามแผนชลีฟเฟินเพื่อโจมตีฝรั่งเศส โดยยึดเบลเยียมได้เกือบทั้งประเทศ รวมถึงภาคเหนือของฝรั่งเศส แต่ได้รับการต่อต้านจากฝ่ายมหาอานาจสัมพันธมิตรจนไม่สามารถรุกต่อไปยังกรุงปารีสได้ 11 ทหารเยอรมันในตู้รถไฟขนสินค้าขณะไปยังแนวหน้าใน ค.ศ. 1914 ข้อความบนตู้เขียนว่า " ทริป ไปปารีส" ในช่วงต้นของ สงครามคาดกันว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจะกินเวลาสั้น ๆ เท่านั้น สถานการณ์ของสงคราม
  • 27. - แนวรบด้านตะวันออก สหภาพโซเวียตส่งกองทัพเข้าโจมตีเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ในระยะแรกสหภาพโซเวียตเป็นฝ่าย ได้ชัยชนะ แต่หลังจาก ค.ศ. 1915 กองทัพสหภาพโซเวียตเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ กองทัพเยอรมันยึดเมืองวอร์ซอและ เมืองวิลนาในโปแลนด์ ทาให้สหภาพโซเวียตสูญเสียทหารกว่า 1 ล้านคน เชลยศึกรัสเซียที่ เทนเนนแบร์ก
  • 28. - แนวรบด้านบอลข่าน กองทัพออสเตรีย-ฮังการีไม่สามารถเอาชนะเซอร์เบียได้ แต่เมื่อตุรกีและบัลแกเรียเข้าช่วยฝ่ายมหาอานาจ กลาง กองทัพฝ่ายมหาอานาจกลางก็สามารถยึดครองประเทศเซอร์เบีย แอลเบเนีย และมอนเตเนโกรได้ ทหารออสเตรียประหารชีวิตชาว เซอร์เบีย ที่ถูกจับเป็นเชลยใน ค.ศ. 1917 เซอร์เบีย สูญเสียประชากรราว 850,000 คน หนึ่งในสี่ของประชากรก่อนสงคราม และทรัพยากรครึ่งหนึ่งก่อนสงคราม ทหารบัลแกเรียในสนามเพลาะ เตรียมยิงอากาศยานที่กาลังมา
  • 29. - แนวรบทางทะเล กองทัพเรืออังกฤษสามารถเอาชนะกองทัพเรือเยอรมัน และตัดขาดเส้นทางคมนาคมในมหาสมุทร แอตแลนติกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้สาเร็จ ต่อมาเยอรมนีใช้เรือดาน้าทาลายเรือรบและเรือสินค้ารอบๆ เกาะอังกฤษ ส่งผลให้เรือกลไฟของฝรั่งเศสชื่อ ซัสเซก ที่มีชาวอเมริกันโดยสารมาด้วยเสียชีวิต แม้รัฐบาลของ สหรัฐอเมริกาจะประท้วง แต่เยอรมนีก็ยังคงทาสงครามด้วยเรือดาน้าต่อไป สหรัฐอเมริกาจึงตัดสินใจเข้าช่วย ฝ่ายมหาอานาจสัมพันธมิตร และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1917
  • 30. กองเรือรบประจัญบานแห่งกองเรือทะเลหลวง ในมหาสมุทรแอตแลนติก HMS Lion ระหว่างยุทธนา วีจัต แลนด์ หลังถูกระดมยิงอย่างหนัก จากเรือรบ เยอรมัน
  • 31. - การเข้าร่วมสงครามของสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาส่งทหารและยุทโธปกรณ์ทางบก ทางเรือ และทางอากาศเข้า ร่วมรบและปราบปรามเรือดาน้าของเยอรมนี และได้เพิ่มกาลังทหารเข้าไปในยุโรป จานวนกว่า 1 ล้านคน หลังจากนั้นกองทัพเยอรมันก็ตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ ส่วน ประเทศพันธมิตรของเยอรมันก็เริ่มพ่ายแพ้ ในวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ออสเตรีย-ฮังการีแยกเป็น 2 ประเทศและขอทาสัญญาสงบศึก ต่อมาในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 เยอรมนีลงนามในสัญญาสงบศึก สงครามโลกครั้งที่ 1 จึงยุติ ลง
  • 33.
  • 34. 1.เกิดความเสียหายด้านชีวิตและทรัพย์สินจานวนมหาศาล มีทหารเสียชีวิตประมาณ 13 ล้านคน บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน ภายหลังสงครามประชาชนในยุโรปต้องเผชิญกับโรคระบาด ความอดอยาก เศรษฐกิจตกต่าลง อุตสาหกรรมและการค้าถูกทาลาย ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 36. 2. เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านมหาอานาจในยุโรป ดุลอานาจในยุโรปเปลี่ยนไป จักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการีและจักรวรรดิออตโตมันสลายตัว ดินแดน ส่วนใหญ่ถูกแบ่งให้ประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร แต่แม้จะชนะสงครามก็อ่อนแอลงและเสียหายอย่างหนัก ทาให้เกิดมหาอานาจใหม่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ที่มีบทบาทเพิ่มขึ้นในการเมืองโลก และญี่ปุ่นกลายเป็น มหาอานาจในเอเชียและได้ครอบครองอาณานิคมต่างๆ ของเยอรมนีในเอเชีย ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 37. 3. เกิดประเทศใหม่ อาหรับเดิม กลายเป็นประเทศตุรกี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี แตกออกเป็นประเทศเอกราชใหม่ ได้แก่ ออสเตรีย ฮังการี เชโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวีย จักรวรรดิออตโตมัน ล่มสลาย แผ่นดินเดิมของจักรวรรดินอกจากที่ราบสูงอ นาโตเลียได้ถูกแบ่งให้กลายเป็นอาณานิคมของผู้ชนะสงคราม สหภาพโซเวียต ซึ่งได้ถอนตัวจากสงครามในปี 1917 ได้สูญเสียดินแดนของ ตนเป็นจานวนมากทางชายแดนด้านตะวันตกกลายเป็นประเทศใหม่ ได้แก่ เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนีย และ โปแลนด์ ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 39. เช่น ปืนใหญ่ ปืนกล แก๊สพิษ รถถัง เรือดาน้า โดยเฉพาะเครื่องบินประเภทต่างๆ ซึ่ง นาไปสู่การประดิษฐ์เครื่องบินโดยสารในเวลาต่อมา 4. เกิดการพัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช้ อาวุธยุทโธปกรณ์ รถถัง Mark I พัฒนาขึ้นโดยกองทัพบกอังกฤษ ใน ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ถือว่าเป็นรถถังรุ่นแรกที่เข้าสู่สนามรบ ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 40. ซากเรือดาน้า HMS E-18 ของอังกฤษ ที่หายสาบสูญไประหว่างลาดในบริเวณทะเลบอลติก เรือรบ QUEEN ELIZABETH CLASS เรือรบที่ฝ่ายอังกฤษสร้างขึ้นเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 และ ปรับปรุงใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วย
  • 41. 5. เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองในประเทศต่างๆ เช่น ออสเตรีย เปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐ เรียกว่า สาธารณรัฐออสเตรียที่ 1 ส่วนเยอรมนีเปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐ ซึ่งต่อมาเรียกว่า สาธารณรัฐไวมาร์ สาหรับสหภาพโซเวียตเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสังคมนิยม โดยเปลี่ยนชื่อ ประเทศเป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตหรือสหภาพโซเวียต (The Union of Soviet Socialist Republics : U.S.S.R) เมื่อ ค . ศ . 1918 เนื่องจากการทาสงครามยาวนาน ทาให้เกิดภาวะขาดแคลนต่างๆ และรัฐบาลไม่สามารถแก้ไขได้ ประกอบกับการพ่ายแพ้ในการรบอยู่เนืองๆ ชาวรัสเซียจึงก่อการปฏิวัติขึ้นก่อนสงครามโลกยุติลง กล่าวได้ว่า สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นตัวเร่งที่ทาให้ เกิดรัฐสังคมนิยมคอมมิวนิสต์แห่งแรกของโลก อียิปต์ ปาเลสไตน์ จอร์แดน และอิรัก เปลี่ยนเป็นรัฐใน อารักขาของอังกฤษ ส่วนซีเรียและ เลบานอนอยู่ในอารักขาของฝรั่งเศส ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 42. 6. ประเทศผู้แพ้สงครามเมื่อถูกลงโทษด้วยการเสียดินแดน สูญเสียแหล่งทรัพยากร และ ต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามอย่างหนัก สร้างความไม่พอใจเป็นอย่างยิ่งว่าไม่ได้รับ ความเป็นธรรม เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้นอีก 7. ประเทศทั้งหลายตระหนักถึงความหายนะของสงคราม และพยายามที่จะหาทาง ไม่ให้เกิดสงครามอีก ผู้นาแต่ละประเทศต่างต้องการเจรจาทาสัญญาสันติภาพ โดย จัดตั้งองค์การระหว่างประเทศสันนิบาตชาติขึ้น ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 43. เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทาขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและ จักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอานาจ กลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลง นามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 แล้วก็ตาม การประชุมสันติภาพที่กรุงปารีส กินเวลานานกว่า 6 เดือน จึงได้มีการสรุปสนธิสัญญา สนธิสัญญาแวร์ซาย ( TREATY OF VERSAILLES )
  • 45. สนธิสัญญาได้กาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพียงผู้เดียว ภายใต้ข้อตกลงที่เรียกว่า อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจากัดอาณา เขตดินแดน และต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจานวนมหาศาล เมื่อปี ค.ศ. 1921 ได้ประเมินว่ามูลค่าของค่าปฏิกรรมสงครามที่เยอรมนีจะต้องจ่ายนั้นสูงถึง 132 , 000 ล้าน มาร์ก (ราว 31 , 400 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 6 , 600 ล้านปอนด์) เป็นจานวนที่มากเกินกว่าจะยอมรับได้และ เยอรมนีอาจต้องใช้เวลาชาระหนี้จนถึง ค.ศ. 1988 การชาระค่าปฏิกรรมสงครามนัดสุดท้ายมีขึ้นเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 2010 วันครบรอบ 20 ปีการรวมประเทศเยอรมนี และ 92 ปีพอดีหลังสงครามยุติ ผลจาก สนธิสัญญา สนธิสัญญาแวร์ซาย ( TREATY OF VERSAILLES )
  • 46. สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดขึ้นในรัชสมัยของรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2457 ไทยตั้งตัวเป็นกลาง จนกระทั่งวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 ไทยจึงได้ประกาศสงครามกับเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี และส่งทหารอาสาสมัครไปช่วยรบ 1,233 นาย ในจานวนนี้เสียชีวิต 19 นาย ทหารอาสาออกเดินทางเมื่อ พ.ศ. 2461 ถึงประเทศฝรั่งเศสอยู่ใต้บัญชาการของนายพล เป แตง ซึ่งขณะนั้นดารงตาแหน่งแม่ทัพใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้ไปปฏิบัติการในสมรภูมิประเทศฝรั่งเศส และเบลเยี่ยม การส่งทหารไปรบในครั้งนี้นับว่าเป็นประโยชน์เพราะเท่ากับได้ไปเรียนวิชาการทาง เทคนิคการรบและการช่างในสมรภูมิจริง ไทยกับการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 พ.ศ. 2457 - 2461
  • 48. เมื่อเสร็จสงคราม มหาอานาจพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ ประเทศไทยได้ส่งผู้แทนเข้าประชุม ณ พระราชวังแวร์ซายด้วย ผลพลอยได้จากการเข้าสงครามนี้คือ สัญญาต่าง ๆ ที่ไทยทากับเยอรมนี และออสเตรีย-ฮังการี ย่อมสิ้นสุดลงตั้งแต่ไทยประกาศสงคราม และไทยขอเจรจาข้อแก้ไข สนธิสัญญาฉบับเก่า ซึ่งทาไว้กับอังกฤษ ฝรั่งเศส และชาติอื่น ๆ โดยได้ความช่วยเหลือจาก ดร. ฟรานซิส บีแซร์ ( Dr. Francis B. Sayre) ชาวอเมริกา ซึ่งเคยเป็นที่ปรึกษา ต่างประเทศ จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยากัลยา ณ ไมตรี ในที่สุดประเทศต่าง ๆ 13 ประเทศ รวมทั้งอังกฤษตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2468 และฝรั่งเศสตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2467 ตกลง ยอมแก้ไขสัญญา โดยมีเงื่อนไขบางประการ ในที่สุดประเทศต่างๆ ก็ยอมทาสัญญาใหม่กับไทย เมื่อ พ.ศ. 2480 ไทยได้อิสรภาพทางอานาจศาลและภาษีอากรคืนมาโดยสมบูรณ์ ไทยกับการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 พ.ศ. 2457 - 2461
  • 49. 1.เป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงและเกียรติคุณของประเทศ 2. ได้รับเกียรติเข้าร่วมทาสัญญาสันติภาพแวร์ซายส์ 3. เมื่อสงครามสงบได้รับเชิญเข้าเป็นสมาชิกประเภทริเริ่มขององค์การสันนิบาตชาติ เป็นหลักประกันเอกราช และความปลอดภัยของประเทศ 4. แก้ไขสัญญาที่ทาไว้แต่รัชกาลที่ 4 เป็นผลสาเร็จ ยกเลิกสัญญาต่าง ๆ ที่ไทยทากับเยอรมันและออสเตรีย- ฮังการี และทาสัญญากับประเทศต่าง ๆ ใหม่ 5. ได้ยึดทรัพย์จากเชลย 6. เปลี่ยนธงชาติจากธงช้างมาเป็นธงไตรรงค์ เพื่อนาไปใช้ในกองทัพไทยที่เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 7. สร้างอนุสาวรีย์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งคือ อนุสาวรีย์ทหารอาสา วงเวียน 22 กรกฎา สมาคมสหาย สงคราม เป็นต้น 8. มีการจัดทหารแบบยุโรป และเริ่มจัดตั้งกรมอากาศยานขึ้นเป็นครั้งแรก ผลที่ไทยได้รับจากการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 50.
  • 51. สมาชิกกลุ่ม นางสาวปภาสรณ์ ดวงเอ้ย เลขที่7 นางสาวพัชรินทร์ มหิตธิ เลขที่43 นางสาวสุชาวลี บัวอินทร์ เลขที่47 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5.2