SlideShare a Scribd company logo
สามทศวรรษ
ห้องสมุดเคลื่อนที่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
26 สิงหาคม 2554
การจัดงาน “สามทศวรรษ”
ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
26 สิงหาคม 2554
ณ ห้องประชุม 3 อาคาร HS05
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญของ
การอ่าน อันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและได้ให้
ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ
ดาเนินงานจะครบรอบ 30 ปี ในปี พ.ศ. 2554 ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการ
บริการวิชาการและสนองนโยบายวาระแห่งชาติ โครงการฯ จึงเห็นควรจัดกิจกรรม
ที่จะขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม
สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน โดย
แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริม
การอ่าน พัฒนา และเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้
ครอบคลุมทุกตาบล/ชุมชน อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่าน
เป็นที่สนใจมากขึ้น และเพื่อหารูปแบบและกระบวนการสร้างนิสัยรักการอ่าน
สร้างเป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิด
กระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนให้เข้มแข็ง
ผู้ร่วมโครงการประกอบด้วย คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร)
นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแก่น ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ สานักงาน
การศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ และศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น
กิจกรรมประกอบด้วย
1. นิทรรศการ 3 ทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น”
(แสดงพัฒนาการ สะท้อนผลงานในรอบ 30 ปี ถ่ายทอดนวัตกรรม)
2. สัมนาความร่วมมือเครือข่ายรักการอ่าน (สร้างต้นแบบการดาเนินงาน
ห้องสมุดเคลื่อนที่)
การจั ด งาน นี้ มุ่ งให้ เกิด 1)เค รือ ข่ายรัก การอ่ าน ใน ภ าค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นแบบการดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ดี ทาให้เกิดการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้จุดแข็งหรือศักยภาพด้านความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วม
ของชุมชนเป็นประเด็นในการขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง
ทรัพยากรการอ่าน และสื่อการเรียนรู้ 2) ร่วมสังเคราะห์สิ่งที่ดีที่สามารถนาไปเป็น
ต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นเครือข่าย
เชื่อมโยงในชุมชนให้สามารถดูแลตนเอง ช่วยเหลือกันในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นแนว
ทางการสร้างนิสัยรักอ่านที่มีความต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป 3) นักศึกษา
สาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนินกิจกรรมเป็นการบูรณา
การการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4) คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อ
บุคคลภายนอก
กาหนดการ
“สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น”
วันที่ 26 สิงหาคม 2554
ณ ห้องประชุม 3 อาคาร HS05 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
08.30-09.00 น. ลงทะเบียน
09.00-09.15 น. พิธีเปิด
09.15-10.30 น. บรรยายพิเศษ “การรณรงค์ให้รักการอ่าน สานฝันอย่างไร
ให้เป็นจริง” โดย คุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป กรรมการ
ผู้จัดการ มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก
10.15-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.30-12.00 น. บรรยายพิเศษ “การรณรงค์ให้รักการอ่าน สานฝันอย่างไร
ให้เป็นจริง” โดย คุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป (ต่อ)
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. วีดิทัศน์ “สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่
มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับงานรณรงค์รักการอ่านให้ยั่งยืน”
และสาธิตกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
14.30-16.00 น. เสวนาสะท้อนผลการดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รศ.ดร.สมาน ลอยฟ้า
ประธานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปี 2553 และ รศ.ดร.กุลธิดา ท้วมสุข ประธานกลุ่ม
วิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร
16.00-16.30 น. พิธีปิด
นิทรรศการ
“สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น”
ตลอดงาน
สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โครงการห้องสมุดเคลื่อนสาหรับเด็กในชนบท ของภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.
2524 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันปี พ.ศ. 2554 เป็นระยะเวลายาวนานถึง 30 ปี มี
กิจกรรมหลากหลายที่พัฒนาไปตามสภาพแวดล้อมเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของชุมชนที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อให้เด็กใน
ชนบทได้มีโอกาสอ่านหนังสือที่เหมาะสมกับวัยและความสนใจ โดยจัดบริการด้านการ
อ่านและจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็ก
ขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้ผู้บริหารและครูมีความรู้ความเข้าใจเห็นความสาคัญของ
ห้องสมุดในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้และเห็นความจาเป็นในการจัดบริการห้องสมุด
เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างครูอาจารย์ ในโรงเรียนและชุมชน ช่วยพัฒนาครูที่ทา
หน้าที่บรรณารักษ์ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดดาเนินการบริการห้องสมุดสาหรับ
โรงเรียนได้อย่างเหมาะสม โดยจัดฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการในด้านต่างๆ ทั้งการจัด
ดาเนินงานและการให้บริการของห้องสมุด ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ
ดาเนินงานตามความต้องการ และขยายกลุ่มเป้าหมายออกไปยังชุมชนต่างๆ ด้วย
1. ทศวรรษแรก “จับจุด” (พ.ศ. 2524-2534)
ทศวรรษแรกเป็นช่วงของการจับจุด หรือแสวงหาแนวทาง คือ เริ่มทดลอง
ให้บริการ และมีการปรับวิธีการ รูปแบบกิจกรรม ลักษณะการให้บริการให้เหมาะสม
และสอดคล้องตามความสามารถและความต้องการของผู้รับบ ริการ โครงการห้องสมุด
เคลื่อนที่เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2524 โดยภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการให้บริการ
วิชาการสู่ชุมชน ดังนั้นเพื่อช่วยส่งเสริมการศึกษาของชาวชนบทโดยช่วยพัฒนาโอกาส
และความสามารถในการอ่านและการเรียนรู้ของนักเรียน ในภูมิภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ รองศาสตราจารย์ศรีทอง สีหาพงศ์ หัวหน้าภาควิชาในขณะนั้น จึง
ได้ริเริ่มโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ไปสู่ชนบท โดยรองศาสตราจารย์จินดา โพธิ์เมือง
คณบดี ได้นาโครงการไปเสนอขอรับการสนับสนุนจากองค์การ UNICEF ประเทศไทย
และแหล่งเงินทุนอื่นๆ ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทโตโยต้ามอเตอร์จากัด (ประเทศ
ญี่ปุ่น) บริจาครถโตโยต้าไฮเอซให้ 1 คัน ติดตั้งชั้นหนังสือ พร้อมโต๊ะเก้าอี้ในรถ 1 ชุด
มูลค่า สองแสนห้าหมื่นบาท โดยส่งมอบเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2524 เพื่อใช้ในโครงการ
ในระยะแรกได้รับเงินทุนช่วยเหลือจากหน่วยงาน องค์กรต่างๆเช่น มูลนิธิเอเชีย หน่วย
อาสาสมัครแคนาดา องค์การ JSRC (Japan Sotoshu Relief Committee) มูลนิธิ
พุทธสงเคราะห์ BAC (Buddhist Aid Center)และผู้มีจิตศรัทธา บริจาคมาเป็นครั้ง
คราว นอกจากนี้โครงการยังได้จัดหาทุนสาหรับดาเนินการโดยจาหน่ายเสื้อผ้า สิ่งของ
เครื่องใช้ที่ได้รับบริจาค ส่วนใหญ่ได้รับความสนับสนุนและร่วมมือจากคณะแม่บ้าน
ญี่ปุ่นในจังหวัดขอนแก่นเป็นประจาทุกปี ต่อมาจึงเริ่มได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก
มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2529 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
1.1 การดาเนินงาน ได้เริ่มต้นในเดือนพฤษภาคม 2524 โดยเริ่มสารวจและ
ออกทดลองให้บริการในหมู่บ้าน แต่ประชาชนส่วนใหญ่ออกไปประกอบอาชีพ ดังนั้น
โครงการฯเห็นว่าการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านควรเริ่มที่เด็ก จึงเปลี่ยนมาใช้โรงเรียนระดับ
ประถมศึกษาเป็นศูนย์กลางในการให้บริการ โดยมีอาจารย์ในภาควิชาทุกคนเป็น
ผู้รับผิดชอบการปฎิบัติงานให้บริการ โดยมิได้รับค่าตอบแทน มีบุคลากรประจาทางาน
เต็มเวลา 2 คน และพนักงานขับรถ 1 คน ซึ่งได้รับความช่วยเหลือด้านการเงินสาหรับ
บุคลากรจาก Ohanashi Caravan Center และจาก Buddhist Aid Center (BAC)
ประเทศญี่ปุ่นเป็นรายปี ในบางช่วงจะมีนักศึกษาของสาขาวิชาอาสาสมัครออกไปช่วย
ให้บริการด้วย
1.2. บริการและกิจกรรม ในทศวรรษแรกมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจานวน 5
รุ่น ระยะเวลารุ่นละ 2 ปี จานวนรวม 42 โรงเรียน จัดตั้งห้องสมุดโรงเรียน จานวน 35
แห่ง รูปแบบการดาเนินกิจกรรมแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 6 เดือนแรก ฝ่ายโครงการเป็นผู้จัดบริการด้านการอ่าน จัด
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน รวมทั้งจัดบริการตู้หนังสือไว้ประจาแต่ละ โรงเรียนโดยแยก
หนังสือตามระดับชั้นเป็น 3 กลุ่ม คือ ป.1 – 2, ป.3 – 4 และ ป.5 – 6 มีครูของโรงเรียน
ช่วยควบคุมนักเรียน และสังเกตการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 2 6 เดือนต่อมา ครูของโรงเรียนเข้ามาร่วมจัดกิจกรรมต่างๆกับ
ฝ่ายโครงการ
ขั้นตอนที่ 3 6 เดือนต่อมา ครูของโรงเรียนเป็นผู้จัดกิจกรรมโดยฝ่าย
โครงการเป็นผู้ช่วยเหลือจัดเตรียมกิจกรรมและสังเกตการณ์การจัดกิจกรรมของครู
ขั้นตอนที่ 4 6 เดือนสุดท้าย ฝ่ายโครงการฯให้คาแนะนาช่วยเหลือ
สนับสนุนการจัดตั้งห้องสมุด หรือมุมหนังสือของโรงเรียนตามศักยภาพหรือความพร้อม
ของโรงเรียน
สาหรับกิจกรรมหลัก คือ บริการด้านการอ่านและกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
เช่น การเล่านิทาน การวาดภาพระบายสี การพับกระดาษ การเขียนเรื่องจากภาพ การ
แสดงหุ่น การร้องเพลงและกิจกรรมเข้าจังหวะ จัดตามความเหมาะสมของเด็กในแต่ละ
ช่วงชั้นด้วย
นอกจากนี้โครงการยังมีกิจกรรมให้บริการวิชาการในรูปแบบอื่นๆ อีกด้วย
เช่น จัดบรรยายพิเศษในหัวข้อต่างๆ อบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อที่เป็นประโยชน์ต่อ
การดาเนินงานของครู เช่น ห้องสมุดในบ้าน การจัดทาและแสดงหุ่น ตลอดจนถวาย
ความรู้แด่พระสงฆ์ เรื่องการดาเนินงานห้องสมุด จากโครงการจัดตั้งห้องสมุดในวัดเนื่อง
ในโอกาสฉลองครบรอบพระชนมายุ 60 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เป็นต้น
2. ทศวรรษที่สอง “จ่อไฟ ใส่เชื้อ” (พ.ศ. 2535-2543)
ในทศวรรษที่สองนี้เรียกได้ว่าเป็น ช่วงจ่อไฟ ใส่เชื้อ เนื่องจากเป็นระยะที่รูปแบบ
กิจกรรมและลักษณะการให้บริการมีการปรับขยายตัวมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของชุมชนประกอบกับแนวคิดของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.
2542 เน้นการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตและให้มีการจัดแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับชุมชน
กิจกรรมที่ขยายเพิ่มจากกิจกรรมหลักส่วนใหญ่เน้นหนักไปในด้านการพัฒนาส่งเสริมการ
จัดตั้งห้องสมุด การจัดตั้งศูนย์หนังสือ ตลอดจนจัดอบรมเชิงปฎิบัติการด้านการจัด
ดาเนินงานและบริการห้องสมุดให้กับครูผู้ทาหน้าที่บรรณารักษ์ของสานักงานการ
ประถมศึกษาอาเภอ และสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดในจังหวัดต่างๆ ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
2.1 การดาเนินงาน อยู่ในรูปของคณะกรรมการ มีคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์เป็นที่ปรึกษา หัวหน้าภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์เป็น
ประธานคณะกรรมการ และอาจารย์ในภาควิชาทุกคนเป็นกรรมการ ในช่วงนี้โครงการ
มีบุคลากรประจาทางานเต็มเวลาในตาแหน่งลูกจ้างชั่วคราวจานวน 3 คนและพนักงาน
ขับรถ 2 คนโดยได้รับความช่วยเหลือด้านเงินเดือนจาก Ohanashi Caravan Center,
Buddhist Aid Center (BAC) และจากกระทรวงไปรษณีย์ประเทศญี่ปุ่นเป็นรายปี มี
รถสาหรับออกให้บริการ 2 คันคือ รถตู้โตโยต้าไฮเอซ และรถตู้นิสสันซึ่งได้รับบริจาคเพิ่ม
2.2 บริการและกิจกรรม ในทศวรรษนี้มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการอีก 5 รุ่น
ระยะเวลารุ่นละ 2 ปี จานวนรวม 54 โรงเรียน มี 3 กิจกรรมหลักคือ
1. การให้บริการการอ่านหนังสือ แบ่งออกเป็น
- การให้บริการการอ่านที่โรงเรียนตามตารางนัดหมาย
- การให้บริการหมุนเวียนตู้หนังสือที่ประจาอยู่แต่ละ
โรงเรียนทุกเดือน
- การให้บริการการอ่านภาคฤดูร้อนโดยจัดตู้หนังสือไป
ให้บริการที่บ้านอาสาสมัครในหมู่บ้าน
2. การให้บริการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ประกอบด้วย การเล่านิทาน การ
แสดงละครหุ่น การวาดภาพระบายสี การเล่นเกม การร้องเพลง และกิจกรรมอื่นๆ
จานวนนักเรียนที่ได้รับบริการกว่าห้าพันคนในแต่ละปี การดาเนินงานของโครงการได้มุ่ง
ให้ครูมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม โดยให้ครูเป็นผู้คิด และออกแบบกิจกรรมส่งเสริมการ
ใช้ห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในแต่ละเดือน ส่วนโครงการเป็นผู้จัดเตรียม
วัสดุอุปกรณ์ให้
3. การสนับสนุนให้จัดตั้งหรือพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนและพัฒนาความรู้
ความสามารถของครู โดยจัดฝึกอบรมการจัดดาเนินงานและบริการห้องสมุด
4. กิจกรรมและบริการอื่นๆ
4.1 การจัดโครงการยอดนักอ่าน เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้นักเรียน
อ่านหนังสือของโครงการตลอดปีการศึกษาของแต่ละปี โดยโครงการฯ คัดเลือกนักเรียน
จากสมุดบันทึกการอ่านของนักเรียนเป็นยอดนักอ่านของแต่ละโรงเรียน โดยแยกเป็น
ระดับชั้น และจัดพิธีมอบรางวัลให้แก่นักเรียน งบประมาณการจัดหารางวัลสาหรับ
นักเรียนยอดนักอ่านประจาแต่ละปีการศึกษาได้รับการสนับสนุนทั้งจากจากงบประมาณ
แผ่นดิน และบริษัทห้างร้านต่างๆ ในเมืองขอนแก่น
4.2 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการได้จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่
โรงเรียนในเครือข่ายซึ่งจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและได้รับรางวัลในด้านกิจกกรรม
ส่งเสริมการอ่าน ทาให้ครูได้แลกเปลี่ยนความรู้และเป็นแรงจูงใจในการดาเนินงานใน
การส่งเสริมการอ่านต่อไป
4.3 จัดการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการให้ครูผู้ทาหน้าที่บรรณารักษ์ห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา ในช่วงปี พ.ศ. 2535-2539 มีโรงเรียนสังกัดสานักงานการ
ประถมศึกษาอาเภอและสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดในจังหวัดต่างๆ ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 10 จังหวัด ได้แก่ นครพนม ศรีสะเกษ มุกดาหาร
หนองคาย อุบลราชธานี ชัยภูมิ สุรินทร์ เลย บุรีรัมย์ และยโสธร เข้ารับการอบรมรวม
14 รุ่น รุ่นละประมาณ 80-120 คน
3. ทศวรรษที่สาม “เกื้อกูล” (พ.ศ. 2544-2553)
ในช่วงทศวรรษนี้ โครงการได้ปรับลักษณะการให้บริการทั้งระยะเวลาและ
รูปแบบของกิจกรรม คือ นอกจากเน้นการพัฒนาโอกาสและความสามารถในการอ่าน
และการเรียนรู้ของนักเรียน การกระตุ้นผู้บริหารและครูให้มีความรู้ความเข้าใจและเห็น
ความสาคัญของห้องสมุดในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนช่วยพัฒนาครูบรรณารักษ์
ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดบริการห้องสมุดสาหรับโรงเรียนแล้ว ยังขยายในด้าน
การจัดกิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดประโยชน์กับ
นักเรียนทั้งในแง่ของการพัฒนาการอ่าน การขยายโลกทัศน์การเรียนรู้ผ่านสื่อต่างๆ ซึ่ง
จะส่งผลต่อการเรียนรู้วิชาต่างๆได้ดีขึ้น ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยด้านการบริการวิชาการที่เน้น
ให้มีผลกระทบต่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาสังคมภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ
(Impact on Community) และผลงานการบริการวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือของ
ชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน (Community Participation) โครงการฯจึงเห็นควรจัด
ขยายผลการบริการจากสถานศึกษาออกสู่ชุมชน ในโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน
รณรงค์ให้รักการอ่านอย่างยั่งยืน เพื่อแสวงหารูปแบบและกระบวนการสร้างนิสัยรักการ
อ่าน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน
และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป
3.1 การดาเนินงาน ยังอยู่ในรูปของคณะกรรมการเช่นเดิมแต่มีบุคลากร
ประจาทางานเต็มเวลาในตาแหน่งลูกจ้างชั่วคราวลดลงเหลือ 1 คนและพนักงานขับรถ
1 คนโดยองค์กรที่เคยให้การสนับสนุนด้านการเงินได้งดความช่วยเหลือ เนื่องจากในช่วง
ระยะเวลานี้ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2548
เป็นต้นมา (รุ่นที่ 12) โครงการจึงปรับเปลี่ยนทั้งรูปแบบและลดจานวนโรงเรียนและ
ระยะเวลาในการให้บริการลงเหลือรุ่นละ 1 ปีงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับแนว
ทางการจัดการงบประมาณที่เปลี่ยนแปลงไป
3.2 บริการและกิจกรรม ที่จัดในช่วงนี้ยังคงประกอบด้วยกิจกรรมหลักและ
บริการต่างๆเช่นเดิม แต่เน้นให้ครูเป็นผู้ดาเนินการและโครงการเป็นฝ่ายสนับสนุนให้
คาแนะนาและช่วยแก้ปัญหาในการดาเนินงาน สาหรับกิจกรรมหลักนี้ ยังคงมี
ความสาคัญเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์หลักของโครงการเนื่องจากการอ่านเป็นพื้นฐาน
และจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนาประเทศทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจ และโครงการได้
ขยายผลการบริการจากสถานศึกษาออกสู่ชุมชน โดยมุ่งสร้างโอกาสในการอ่านให้กับ
เด็กในชนบท ด้วยการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน
และการพัฒนาห้องสมุดชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพื่อช่วยส่งเสริมทักษะการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ชุมชน โดยในการนี้มีวัตถุประสงค์สาคัญในการบูรณาการการ
เรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการให้บริการ
วิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการทากิจกรรม
ร่วมกับชุมชนในโครงการ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชนรณรงค์ให้รักการอ่านอย่างยั่งยืน
ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ได้แก่
1. อบรมต้นกล้ารักการอ่าน ซึ่งมุ่งให้ความรู้พื้นฐานแก่เยาวชนซึ่งจะทาหน้าที่
เป็นแกนนาอายุระหว่าง 10-15 ปี ในการจัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์ให้เยาวชนและ
ประชาชนในชุมชนสนใจและเข้าร่วมกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านอันจะช่วยพัฒนา
ศักยภาพในการเรียนรู้ของคนชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป
2. การประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการอ่าน (นักประชาสัมพันธ์น้อย)
เป็นโครงการย่อย ที่มุ่งให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจหลักการประชาสัมพันธ์และ
สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยรักการอ่านให้
เกิดขึ้นภายในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
3. ไอทีเพื่อการอ่าน การจัดทาเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยมี
จุดมุ่งหมายให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสร้างเว็บไซต์ของหมู่บ้าน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูล
และประชาสัมพันธ์หมู่บ้านให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้วยังได้นาแนวความคิด
ของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 มาประยุกต์ใช้กับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลหมู่บ้าน เพื่อความ
ทันสมัย สามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ที่สนใจได้อย่าง
รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
4. โครงการรักษ์ใบลานสานความรู้ เพื่อให้ความรู้แก่ชุมชน และปฏิบัติการ
อนุรักษและฟนฟูใบลานที่มีอยูในชุมชนใหคงอยู ตลอดจนบันทึกรายละเอียดรายการ
ความรูในใบลาน และสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยใช้ทั้งระบบมือ และเทคโนโลยี
ในอนาคตฐานข้อมูลใบลานที่รวบรวมนี้ สามารถใช้เป็นแหล่งสนับสนุนการ
เรียนการสอนวิชาท้องถิ่นของโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ของชุมชน เป็นการกระตุ้นให้
ประชาชนในชุมชน และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ได้เข้าใจคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมที่เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้าน ตระหนักถึงความสาคัญใน
การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนเอง ตลอดจนเกิดความรัก ความหวงแหน
และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในฐานะที่เป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคนี้ ส่งผล
ให้เกิดการส่งเสริมการอนุรักษ์ที่เป็นวิชาการที่เหมาะสมต่อไป
3. ย่างเข้าสู่ทศวรรษที่สี่ (พ.ศ. 2554 -2555)
พ.ศ. 2554
โครงการที่ดาเนินการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น การรณรงค์ให้รัก
การอ่านอย่างยั่งยืน
หลักการและเหตุผล
โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญของ
การอ่านอันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และได้
ให้ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ
ดาเนินงานมากว่า 30 ปีแล้ว ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการบริการวิชาการ
และสนองนโยบายส่งเสริมการอ่าน โครงการฯจึงเห็นควรจัดกิจกรรมที่จะ
ขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม
สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการ
อ่าน รวมทั้ง โดยแสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและ
สิ่งแวดล้อมในการส่งเสริมการอ่าน พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้
สามารถจัดบริการได้อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่าน
เป็นที่สนใจมากขึ้น สร้างเป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และ
เป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน
ส่งเสริมให้คนไทยรักการ
อ่านมากขึ้น ให้วัฒนธรรมการอ่านสู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ทุกเพศ ทุกวัย
2. เพื่อพัฒนาห้องสมุดชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะช่วยส่งเสริมทักษะการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ชุมชน
3. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษา
ได้มีส่วนร่วมในการ
ให้บริการวิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์
จากการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน
ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบไปด้วยโรงเรียนบ้านขามป้อม ศูนย์การเรียนรู้
ชุมชนอ.พระยืน นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์
กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร)
วัน เวลา และสถานที่
ครั้งที่ 1 วันที่ 9 สิงหาคม 2555 เวลา 13.30 –17.30 น. ณ โรงเรียน
บ้านขามป้อม ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน อ.พระยืน
ครั้งที่ 2 วันที่ 30-31 สิงหาคม 2555 เวลา 08.30-12.30 น. ณ ห้องราช
พฤกษ์ 4 โรงแรมเซนทารา คอนเวนชั่น ขอนแก่น
วิธีดาเนินการ/กิจกรรม
1. จัดซื้อหนังสือและสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ให้เหมาะสม
กับกลุ่มเป้าหมาย
2. เตรียมหนังสือและจัดทารายชื่อหนังสือมอบให้ห้องสมุดโรงเรียนและ
ชุมชน
3. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้สาหรับดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม
การอ่าน ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้
4. จัดกิจกรรม และให้บริการตามแผนการจัดกิจกรรม
5. จัดทาแบบบันทึกการอ่านสาหรับนักเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมใน
โครงการ
6. จัดอบรมไอทีเพื่อการอ่าน และวิธีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
ส่งเสริมให้รักการอ่าน
7. สรุปประเมินผลการจัดกิจกรรมและการให้บริการ สะท้อนผลและถอด
บทเรียน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) เกิดเครือข่ายรักการอ่านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นแบบการ
ดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ที่ดี ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้จุดแข็งหรือ
ศักยภาพด้านความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นประเด็นในการ
ขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงทรัพยากรการอ่าน และสื่อการ
เรียนรู้
2) ร่วมสังเคราะห์สิ่งที่ดีที่สามารถนาไปเป็นต้นแบบในการสร้างนิสัยรัก
การอ่าน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงในชุมชนให้สามารถดูแล
ตนเอง ช่วยเหลือกันในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้างนิสัยรักอ่านที่มีความ
ต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป
3) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนิน
กิจกรรมเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ แล
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อบุคคลภายนอก
พ.ศ. 2555
ชื่อโครงการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น :บริการชุมชนคนรักอ่าน
หลักการและเหตุผล
โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญขอ
การอ่านอันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และได้ให้
ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ
ดาเนินงานมากว่า 30 ปีแล้ว ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการบริการวิชาการ และ
สนองนโยบายส่งเสริมการอ่าน โครงการฯจึงเห็นควรจัดกิจกรรมที่จะขับเคลื่อน
นโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุก
ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน รวมทั้ง โดย
แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริม
การอ่าน พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้อย่าง
ทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่านเป็นที่สนใจมากขึ้น สร้างเป็น
ชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิด
กระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน
โดยเฉพาะนักเรียน ส่งเสริมให้เด็กไทยให้รักการอ่านมากขึ้น ให้วัฒนธรรมการอ่าน
สู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ทุกเพศ ทุกวัย
2. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษาได้มี
ส่วนร่วมในการ
ให้บริการวิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์
จากการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน
ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบไปด้วยโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองขอนแก่น 3
แห่ง นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์กลุ่มวิชาการ
จัดการสารสนเทศและการสื่อสาร)
วัน เวลา และสถานที่
วันที่ 28 มกราคม 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้านสีฐาน
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้าน
สามเหลี่ยม
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้านหนอง
แวง
วิธีดาเนินการ/กิจกรรม
1. จัดซื้อหนังสือและสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ให้เหมาะสม
กับกลุ่มเป้าหมาย
2. เตรียมหนังสือและจัดทารายชื่อหนังสือมอบให้ห้องสมุดโรงเรียนและ
ชุมชน
3. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้สาหรับดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม
การอ่าน ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้
4. จัดกิจกรรม และให้บริการตามแผนการจัดกิจกรรม
7.5 จัดทาแบบบันทึกการอ่านสาหรับนักเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมใน
โครงการ
งบประมาณ
ใช้งบประมาณแผ่นดิน แผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน โครงการ
ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น 60,000.- บาท ดังรายละเอียดต่อไปนี้
(ถัวเฉลี่ยทุกรายการ)
1. ค่าวัสดุประกอบการจัดกิจกรรม (หนังสือและสื่อต่าง ๆ)
50,000.- บาท
2. ค่าวัสดุสานักงาน ค่าวัสดุน้ามันเชื้อเพลิง
10,000.- บาท ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ ฯลฯ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่
ชุมชนโดยเฉพาะนักเรียน ส่งเสริมให้เด็กไทยให้รักการอ่านมากขึ้น ให้
วัฒนธรรมการอ่านสู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้าง
นิสัยรักอ่านที่มีความต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป
3) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนิน
กิจกรรมเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ และ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อบุคคลภายนอก

More Related Content

Similar to สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่

โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
Manoonpong Srivirat
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
FURD_RSU
 
ARC Songkran news
ARC Songkran newsARC Songkran news
ARC Songkran news
warittha37
 
รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553
Humanities Information Center
 

Similar to สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่ (20)

20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
V 275
V 275V 275
V 275
 
V 271 1
V 271 1V 271 1
V 271 1
 
V 263
V 263V 263
V 263
 
V 268
V 268V 268
V 268
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
V 301
V 301V 301
V 301
 
V 265
V 265V 265
V 265
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
Songkran news
Songkran newsSongkran news
Songkran news
 
ARC Songkran news
ARC Songkran newsARC Songkran news
ARC Songkran news
 
รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553
 
V 270
V 270V 270
V 270
 
V250
V250V250
V250
 
V250
V250V250
V250
 

สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่

  • 2. การจัดงาน “สามทศวรรษ” ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น 26 สิงหาคม 2554 ณ ห้องประชุม 3 อาคาร HS05 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญของ การอ่าน อันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและได้ให้ ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ ดาเนินงานจะครบรอบ 30 ปี ในปี พ.ศ. 2554 ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการ บริการวิชาการและสนองนโยบายวาระแห่งชาติ โครงการฯ จึงเห็นควรจัดกิจกรรม ที่จะขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน โดย แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริม การอ่าน พัฒนา และเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้ ครอบคลุมทุกตาบล/ชุมชน อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่าน เป็นที่สนใจมากขึ้น และเพื่อหารูปแบบและกระบวนการสร้างนิสัยรักการอ่าน สร้างเป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิด กระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนให้เข้มแข็ง ผู้ร่วมโครงการประกอบด้วย คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแก่น ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ สานักงาน การศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ และศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น กิจกรรมประกอบด้วย 1. นิทรรศการ 3 ทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น” (แสดงพัฒนาการ สะท้อนผลงานในรอบ 30 ปี ถ่ายทอดนวัตกรรม) 2. สัมนาความร่วมมือเครือข่ายรักการอ่าน (สร้างต้นแบบการดาเนินงาน ห้องสมุดเคลื่อนที่) การจั ด งาน นี้ มุ่ งให้ เกิด 1)เค รือ ข่ายรัก การอ่ าน ใน ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นแบบการดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ดี ทาให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้จุดแข็งหรือศักยภาพด้านความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วม ของชุมชนเป็นประเด็นในการขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง ทรัพยากรการอ่าน และสื่อการเรียนรู้ 2) ร่วมสังเคราะห์สิ่งที่ดีที่สามารถนาไปเป็น ต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นเครือข่าย เชื่อมโยงในชุมชนให้สามารถดูแลตนเอง ช่วยเหลือกันในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นแนว ทางการสร้างนิสัยรักอ่านที่มีความต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป 3) นักศึกษา สาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนินกิจกรรมเป็นการบูรณา การการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4) คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อ บุคคลภายนอก
  • 3. กาหนดการ “สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น” วันที่ 26 สิงหาคม 2554 ณ ห้องประชุม 3 อาคาร HS05 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.15 น. พิธีเปิด 09.15-10.30 น. บรรยายพิเศษ “การรณรงค์ให้รักการอ่าน สานฝันอย่างไร ให้เป็นจริง” โดย คุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป กรรมการ ผู้จัดการ มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก 10.15-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30-12.00 น. บรรยายพิเศษ “การรณรงค์ให้รักการอ่าน สานฝันอย่างไร ให้เป็นจริง” โดย คุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป (ต่อ) 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. วีดิทัศน์ “สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับงานรณรงค์รักการอ่านให้ยั่งยืน” และสาธิตกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 14.30-16.00 น. เสวนาสะท้อนผลการดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รศ.ดร.สมาน ลอยฟ้า ประธานโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2553 และ รศ.ดร.กุลธิดา ท้วมสุข ประธานกลุ่ม วิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร 16.00-16.30 น. พิธีปิด
  • 4. นิทรรศการ “สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ตลอดงาน สามทศวรรษ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงการห้องสมุดเคลื่อนสาหรับเด็กในชนบท ของภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันปี พ.ศ. 2554 เป็นระยะเวลายาวนานถึง 30 ปี มี กิจกรรมหลากหลายที่พัฒนาไปตามสภาพแวดล้อมเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ของชุมชนที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อให้เด็กใน ชนบทได้มีโอกาสอ่านหนังสือที่เหมาะสมกับวัยและความสนใจ โดยจัดบริการด้านการ อ่านและจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็ก ขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้ผู้บริหารและครูมีความรู้ความเข้าใจเห็นความสาคัญของ ห้องสมุดในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้และเห็นความจาเป็นในการจัดบริการห้องสมุด เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างครูอาจารย์ ในโรงเรียนและชุมชน ช่วยพัฒนาครูที่ทา หน้าที่บรรณารักษ์ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดดาเนินการบริการห้องสมุดสาหรับ โรงเรียนได้อย่างเหมาะสม โดยจัดฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการในด้านต่างๆ ทั้งการจัด ดาเนินงานและการให้บริการของห้องสมุด ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ ดาเนินงานตามความต้องการ และขยายกลุ่มเป้าหมายออกไปยังชุมชนต่างๆ ด้วย 1. ทศวรรษแรก “จับจุด” (พ.ศ. 2524-2534) ทศวรรษแรกเป็นช่วงของการจับจุด หรือแสวงหาแนวทาง คือ เริ่มทดลอง ให้บริการ และมีการปรับวิธีการ รูปแบบกิจกรรม ลักษณะการให้บริการให้เหมาะสม และสอดคล้องตามความสามารถและความต้องการของผู้รับบ ริการ โครงการห้องสมุด เคลื่อนที่เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2524 โดยภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการให้บริการ วิชาการสู่ชุมชน ดังนั้นเพื่อช่วยส่งเสริมการศึกษาของชาวชนบทโดยช่วยพัฒนาโอกาส และความสามารถในการอ่านและการเรียนรู้ของนักเรียน ในภูมิภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รองศาสตราจารย์ศรีทอง สีหาพงศ์ หัวหน้าภาควิชาในขณะนั้น จึง ได้ริเริ่มโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ไปสู่ชนบท โดยรองศาสตราจารย์จินดา โพธิ์เมือง คณบดี ได้นาโครงการไปเสนอขอรับการสนับสนุนจากองค์การ UNICEF ประเทศไทย และแหล่งเงินทุนอื่นๆ ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทโตโยต้ามอเตอร์จากัด (ประเทศ ญี่ปุ่น) บริจาครถโตโยต้าไฮเอซให้ 1 คัน ติดตั้งชั้นหนังสือ พร้อมโต๊ะเก้าอี้ในรถ 1 ชุด มูลค่า สองแสนห้าหมื่นบาท โดยส่งมอบเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2524 เพื่อใช้ในโครงการ ในระยะแรกได้รับเงินทุนช่วยเหลือจากหน่วยงาน องค์กรต่างๆเช่น มูลนิธิเอเชีย หน่วย อาสาสมัครแคนาดา องค์การ JSRC (Japan Sotoshu Relief Committee) มูลนิธิ พุทธสงเคราะห์ BAC (Buddhist Aid Center)และผู้มีจิตศรัทธา บริจาคมาเป็นครั้ง คราว นอกจากนี้โครงการยังได้จัดหาทุนสาหรับดาเนินการโดยจาหน่ายเสื้อผ้า สิ่งของ เครื่องใช้ที่ได้รับบริจาค ส่วนใหญ่ได้รับความสนับสนุนและร่วมมือจากคณะแม่บ้าน ญี่ปุ่นในจังหวัดขอนแก่นเป็นประจาทุกปี ต่อมาจึงเริ่มได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2529 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
  • 5. 1.1 การดาเนินงาน ได้เริ่มต้นในเดือนพฤษภาคม 2524 โดยเริ่มสารวจและ ออกทดลองให้บริการในหมู่บ้าน แต่ประชาชนส่วนใหญ่ออกไปประกอบอาชีพ ดังนั้น โครงการฯเห็นว่าการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านควรเริ่มที่เด็ก จึงเปลี่ยนมาใช้โรงเรียนระดับ ประถมศึกษาเป็นศูนย์กลางในการให้บริการ โดยมีอาจารย์ในภาควิชาทุกคนเป็น ผู้รับผิดชอบการปฎิบัติงานให้บริการ โดยมิได้รับค่าตอบแทน มีบุคลากรประจาทางาน เต็มเวลา 2 คน และพนักงานขับรถ 1 คน ซึ่งได้รับความช่วยเหลือด้านการเงินสาหรับ บุคลากรจาก Ohanashi Caravan Center และจาก Buddhist Aid Center (BAC) ประเทศญี่ปุ่นเป็นรายปี ในบางช่วงจะมีนักศึกษาของสาขาวิชาอาสาสมัครออกไปช่วย ให้บริการด้วย 1.2. บริการและกิจกรรม ในทศวรรษแรกมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจานวน 5 รุ่น ระยะเวลารุ่นละ 2 ปี จานวนรวม 42 โรงเรียน จัดตั้งห้องสมุดโรงเรียน จานวน 35 แห่ง รูปแบบการดาเนินกิจกรรมแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 6 เดือนแรก ฝ่ายโครงการเป็นผู้จัดบริการด้านการอ่าน จัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน รวมทั้งจัดบริการตู้หนังสือไว้ประจาแต่ละ โรงเรียนโดยแยก หนังสือตามระดับชั้นเป็น 3 กลุ่ม คือ ป.1 – 2, ป.3 – 4 และ ป.5 – 6 มีครูของโรงเรียน ช่วยควบคุมนักเรียน และสังเกตการจัดกิจกรรม ขั้นตอนที่ 2 6 เดือนต่อมา ครูของโรงเรียนเข้ามาร่วมจัดกิจกรรมต่างๆกับ ฝ่ายโครงการ ขั้นตอนที่ 3 6 เดือนต่อมา ครูของโรงเรียนเป็นผู้จัดกิจกรรมโดยฝ่าย โครงการเป็นผู้ช่วยเหลือจัดเตรียมกิจกรรมและสังเกตการณ์การจัดกิจกรรมของครู ขั้นตอนที่ 4 6 เดือนสุดท้าย ฝ่ายโครงการฯให้คาแนะนาช่วยเหลือ สนับสนุนการจัดตั้งห้องสมุด หรือมุมหนังสือของโรงเรียนตามศักยภาพหรือความพร้อม ของโรงเรียน สาหรับกิจกรรมหลัก คือ บริการด้านการอ่านและกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น การเล่านิทาน การวาดภาพระบายสี การพับกระดาษ การเขียนเรื่องจากภาพ การ แสดงหุ่น การร้องเพลงและกิจกรรมเข้าจังหวะ จัดตามความเหมาะสมของเด็กในแต่ละ ช่วงชั้นด้วย นอกจากนี้โครงการยังมีกิจกรรมให้บริการวิชาการในรูปแบบอื่นๆ อีกด้วย เช่น จัดบรรยายพิเศษในหัวข้อต่างๆ อบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อที่เป็นประโยชน์ต่อ การดาเนินงานของครู เช่น ห้องสมุดในบ้าน การจัดทาและแสดงหุ่น ตลอดจนถวาย ความรู้แด่พระสงฆ์ เรื่องการดาเนินงานห้องสมุด จากโครงการจัดตั้งห้องสมุดในวัดเนื่อง ในโอกาสฉลองครบรอบพระชนมายุ 60 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นต้น
  • 6. 2. ทศวรรษที่สอง “จ่อไฟ ใส่เชื้อ” (พ.ศ. 2535-2543) ในทศวรรษที่สองนี้เรียกได้ว่าเป็น ช่วงจ่อไฟ ใส่เชื้อ เนื่องจากเป็นระยะที่รูปแบบ กิจกรรมและลักษณะการให้บริการมีการปรับขยายตัวมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการของชุมชนประกอบกับแนวคิดของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 เน้นการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตและให้มีการจัดแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับชุมชน กิจกรรมที่ขยายเพิ่มจากกิจกรรมหลักส่วนใหญ่เน้นหนักไปในด้านการพัฒนาส่งเสริมการ จัดตั้งห้องสมุด การจัดตั้งศูนย์หนังสือ ตลอดจนจัดอบรมเชิงปฎิบัติการด้านการจัด ดาเนินงานและบริการห้องสมุดให้กับครูผู้ทาหน้าที่บรรณารักษ์ของสานักงานการ ประถมศึกษาอาเภอ และสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดในจังหวัดต่างๆ ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 2.1 การดาเนินงาน อยู่ในรูปของคณะกรรมการ มีคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์เป็นที่ปรึกษา หัวหน้าภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์เป็น ประธานคณะกรรมการ และอาจารย์ในภาควิชาทุกคนเป็นกรรมการ ในช่วงนี้โครงการ มีบุคลากรประจาทางานเต็มเวลาในตาแหน่งลูกจ้างชั่วคราวจานวน 3 คนและพนักงาน ขับรถ 2 คนโดยได้รับความช่วยเหลือด้านเงินเดือนจาก Ohanashi Caravan Center, Buddhist Aid Center (BAC) และจากกระทรวงไปรษณีย์ประเทศญี่ปุ่นเป็นรายปี มี รถสาหรับออกให้บริการ 2 คันคือ รถตู้โตโยต้าไฮเอซ และรถตู้นิสสันซึ่งได้รับบริจาคเพิ่ม 2.2 บริการและกิจกรรม ในทศวรรษนี้มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการอีก 5 รุ่น ระยะเวลารุ่นละ 2 ปี จานวนรวม 54 โรงเรียน มี 3 กิจกรรมหลักคือ 1. การให้บริการการอ่านหนังสือ แบ่งออกเป็น - การให้บริการการอ่านที่โรงเรียนตามตารางนัดหมาย - การให้บริการหมุนเวียนตู้หนังสือที่ประจาอยู่แต่ละ โรงเรียนทุกเดือน - การให้บริการการอ่านภาคฤดูร้อนโดยจัดตู้หนังสือไป ให้บริการที่บ้านอาสาสมัครในหมู่บ้าน 2. การให้บริการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ประกอบด้วย การเล่านิทาน การ แสดงละครหุ่น การวาดภาพระบายสี การเล่นเกม การร้องเพลง และกิจกรรมอื่นๆ จานวนนักเรียนที่ได้รับบริการกว่าห้าพันคนในแต่ละปี การดาเนินงานของโครงการได้มุ่ง ให้ครูมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม โดยให้ครูเป็นผู้คิด และออกแบบกิจกรรมส่งเสริมการ ใช้ห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในแต่ละเดือน ส่วนโครงการเป็นผู้จัดเตรียม วัสดุอุปกรณ์ให้ 3. การสนับสนุนให้จัดตั้งหรือพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนและพัฒนาความรู้ ความสามารถของครู โดยจัดฝึกอบรมการจัดดาเนินงานและบริการห้องสมุด 4. กิจกรรมและบริการอื่นๆ 4.1 การจัดโครงการยอดนักอ่าน เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้นักเรียน อ่านหนังสือของโครงการตลอดปีการศึกษาของแต่ละปี โดยโครงการฯ คัดเลือกนักเรียน จากสมุดบันทึกการอ่านของนักเรียนเป็นยอดนักอ่านของแต่ละโรงเรียน โดยแยกเป็น ระดับชั้น และจัดพิธีมอบรางวัลให้แก่นักเรียน งบประมาณการจัดหารางวัลสาหรับ นักเรียนยอดนักอ่านประจาแต่ละปีการศึกษาได้รับการสนับสนุนทั้งจากจากงบประมาณ แผ่นดิน และบริษัทห้างร้านต่างๆ ในเมืองขอนแก่น 4.2 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการได้จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ โรงเรียนในเครือข่ายซึ่งจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและได้รับรางวัลในด้านกิจกกรรม ส่งเสริมการอ่าน ทาให้ครูได้แลกเปลี่ยนความรู้และเป็นแรงจูงใจในการดาเนินงานใน การส่งเสริมการอ่านต่อไป
  • 7. 4.3 จัดการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการให้ครูผู้ทาหน้าที่บรรณารักษ์ห้องสมุด โรงเรียนประถมศึกษา ในช่วงปี พ.ศ. 2535-2539 มีโรงเรียนสังกัดสานักงานการ ประถมศึกษาอาเภอและสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดในจังหวัดต่างๆ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 10 จังหวัด ได้แก่ นครพนม ศรีสะเกษ มุกดาหาร หนองคาย อุบลราชธานี ชัยภูมิ สุรินทร์ เลย บุรีรัมย์ และยโสธร เข้ารับการอบรมรวม 14 รุ่น รุ่นละประมาณ 80-120 คน 3. ทศวรรษที่สาม “เกื้อกูล” (พ.ศ. 2544-2553) ในช่วงทศวรรษนี้ โครงการได้ปรับลักษณะการให้บริการทั้งระยะเวลาและ รูปแบบของกิจกรรม คือ นอกจากเน้นการพัฒนาโอกาสและความสามารถในการอ่าน และการเรียนรู้ของนักเรียน การกระตุ้นผู้บริหารและครูให้มีความรู้ความเข้าใจและเห็น ความสาคัญของห้องสมุดในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนช่วยพัฒนาครูบรรณารักษ์ ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดบริการห้องสมุดสาหรับโรงเรียนแล้ว ยังขยายในด้าน การจัดกิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดประโยชน์กับ นักเรียนทั้งในแง่ของการพัฒนาการอ่าน การขยายโลกทัศน์การเรียนรู้ผ่านสื่อต่างๆ ซึ่ง
  • 8. จะส่งผลต่อการเรียนรู้วิชาต่างๆได้ดีขึ้น ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิต และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยด้านการบริการวิชาการที่เน้น ให้มีผลกระทบต่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาสังคมภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (Impact on Community) และผลงานการบริการวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือของ ชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน (Community Participation) โครงการฯจึงเห็นควรจัด ขยายผลการบริการจากสถานศึกษาออกสู่ชุมชน ในโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน รณรงค์ให้รักการอ่านอย่างยั่งยืน เพื่อแสวงหารูปแบบและกระบวนการสร้างนิสัยรักการ อ่าน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป 3.1 การดาเนินงาน ยังอยู่ในรูปของคณะกรรมการเช่นเดิมแต่มีบุคลากร ประจาทางานเต็มเวลาในตาแหน่งลูกจ้างชั่วคราวลดลงเหลือ 1 คนและพนักงานขับรถ 1 คนโดยองค์กรที่เคยให้การสนับสนุนด้านการเงินได้งดความช่วยเหลือ เนื่องจากในช่วง ระยะเวลานี้ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2548 เป็นต้นมา (รุ่นที่ 12) โครงการจึงปรับเปลี่ยนทั้งรูปแบบและลดจานวนโรงเรียนและ ระยะเวลาในการให้บริการลงเหลือรุ่นละ 1 ปีงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับแนว ทางการจัดการงบประมาณที่เปลี่ยนแปลงไป 3.2 บริการและกิจกรรม ที่จัดในช่วงนี้ยังคงประกอบด้วยกิจกรรมหลักและ บริการต่างๆเช่นเดิม แต่เน้นให้ครูเป็นผู้ดาเนินการและโครงการเป็นฝ่ายสนับสนุนให้ คาแนะนาและช่วยแก้ปัญหาในการดาเนินงาน สาหรับกิจกรรมหลักนี้ ยังคงมี ความสาคัญเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์หลักของโครงการเนื่องจากการอ่านเป็นพื้นฐาน และจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนาประเทศทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจ และโครงการได้ ขยายผลการบริการจากสถานศึกษาออกสู่ชุมชน โดยมุ่งสร้างโอกาสในการอ่านให้กับ เด็กในชนบท ด้วยการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน และการพัฒนาห้องสมุดชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพื่อช่วยส่งเสริมทักษะการ เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ชุมชน โดยในการนี้มีวัตถุประสงค์สาคัญในการบูรณาการการ เรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการให้บริการ วิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการทากิจกรรม ร่วมกับชุมชนในโครงการ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชนรณรงค์ให้รักการอ่านอย่างยั่งยืน ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ได้แก่ 1. อบรมต้นกล้ารักการอ่าน ซึ่งมุ่งให้ความรู้พื้นฐานแก่เยาวชนซึ่งจะทาหน้าที่ เป็นแกนนาอายุระหว่าง 10-15 ปี ในการจัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์ให้เยาวชนและ ประชาชนในชุมชนสนใจและเข้าร่วมกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านอันจะช่วยพัฒนา ศักยภาพในการเรียนรู้ของคนชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป 2. การประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการอ่าน (นักประชาสัมพันธ์น้อย) เป็นโครงการย่อย ที่มุ่งให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจหลักการประชาสัมพันธ์และ สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยรักการอ่านให้ เกิดขึ้นภายในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
  • 9. 3. ไอทีเพื่อการอ่าน การจัดทาเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยมี จุดมุ่งหมายให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสร้างเว็บไซต์ของหมู่บ้าน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูล และประชาสัมพันธ์หมู่บ้านให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้วยังได้นาแนวความคิด ของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 มาประยุกต์ใช้กับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลหมู่บ้าน เพื่อความ ทันสมัย สามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ที่สนใจได้อย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4. โครงการรักษ์ใบลานสานความรู้ เพื่อให้ความรู้แก่ชุมชน และปฏิบัติการ อนุรักษและฟนฟูใบลานที่มีอยูในชุมชนใหคงอยู ตลอดจนบันทึกรายละเอียดรายการ ความรูในใบลาน และสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยใช้ทั้งระบบมือ และเทคโนโลยี ในอนาคตฐานข้อมูลใบลานที่รวบรวมนี้ สามารถใช้เป็นแหล่งสนับสนุนการ เรียนการสอนวิชาท้องถิ่นของโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ของชุมชน เป็นการกระตุ้นให้ ประชาชนในชุมชน และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้เข้าใจคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมที่เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้าน ตระหนักถึงความสาคัญใน การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนเอง ตลอดจนเกิดความรัก ความหวงแหน และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในฐานะที่เป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคนี้ ส่งผล ให้เกิดการส่งเสริมการอนุรักษ์ที่เป็นวิชาการที่เหมาะสมต่อไป 3. ย่างเข้าสู่ทศวรรษที่สี่ (พ.ศ. 2554 -2555) พ.ศ. 2554 โครงการที่ดาเนินการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น การรณรงค์ให้รัก การอ่านอย่างยั่งยืน หลักการและเหตุผล โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญของ การอ่านอันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และได้ ให้ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ ดาเนินงานมากว่า 30 ปีแล้ว ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการบริการวิชาการ และสนองนโยบายส่งเสริมการอ่าน โครงการฯจึงเห็นควรจัดกิจกรรมที่จะ ขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการ อ่าน รวมทั้ง โดยแสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและ สิ่งแวดล้อมในการส่งเสริมการอ่าน พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้ สามารถจัดบริการได้อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่าน เป็นที่สนใจมากขึ้น สร้างเป็นชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และ เป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน ส่งเสริมให้คนไทยรักการ อ่านมากขึ้น ให้วัฒนธรรมการอ่านสู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ทุกเพศ ทุกวัย 2. เพื่อพัฒนาห้องสมุดชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะช่วยส่งเสริมทักษะการ เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ชุมชน
  • 10. 3. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษา ได้มีส่วนร่วมในการ ให้บริการวิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ จากการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบไปด้วยโรงเรียนบ้านขามป้อม ศูนย์การเรียนรู้ ชุมชนอ.พระยืน นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์ กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร) วัน เวลา และสถานที่ ครั้งที่ 1 วันที่ 9 สิงหาคม 2555 เวลา 13.30 –17.30 น. ณ โรงเรียน บ้านขามป้อม ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน อ.พระยืน ครั้งที่ 2 วันที่ 30-31 สิงหาคม 2555 เวลา 08.30-12.30 น. ณ ห้องราช พฤกษ์ 4 โรงแรมเซนทารา คอนเวนชั่น ขอนแก่น วิธีดาเนินการ/กิจกรรม 1. จัดซื้อหนังสือและสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ให้เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย 2. เตรียมหนังสือและจัดทารายชื่อหนังสือมอบให้ห้องสมุดโรงเรียนและ ชุมชน 3. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้สาหรับดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่าน ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้ 4. จัดกิจกรรม และให้บริการตามแผนการจัดกิจกรรม 5. จัดทาแบบบันทึกการอ่านสาหรับนักเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมใน โครงการ 6. จัดอบรมไอทีเพื่อการอ่าน และวิธีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ส่งเสริมให้รักการอ่าน 7. สรุปประเมินผลการจัดกิจกรรมและการให้บริการ สะท้อนผลและถอด บทเรียน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) เกิดเครือข่ายรักการอ่านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีต้นแบบการ ดาเนินงานห้องสมุดเคลื่อนที่ที่ดี ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้จุดแข็งหรือ ศักยภาพด้านความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นประเด็นในการ ขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงทรัพยากรการอ่าน และสื่อการ เรียนรู้ 2) ร่วมสังเคราะห์สิ่งที่ดีที่สามารถนาไปเป็นต้นแบบในการสร้างนิสัยรัก การอ่าน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงในชุมชนให้สามารถดูแล ตนเอง ช่วยเหลือกันในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้างนิสัยรักอ่านที่มีความ ต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป 3) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนิน กิจกรรมเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ แล มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อบุคคลภายนอก พ.ศ. 2555 ชื่อโครงการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น :บริการชุมชนคนรักอ่าน หลักการและเหตุผล โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเล็งเห็นความสาคัญขอ การอ่านอันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษาที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และได้ให้ ความสนใจในการจัดบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ในชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งการ
  • 11. ดาเนินงานมากว่า 30 ปีแล้ว ดังนั้น เพื่อเป็นการขยายผลการบริการวิชาการ และ สนองนโยบายส่งเสริมการอ่าน โครงการฯจึงเห็นควรจัดกิจกรรมที่จะขับเคลื่อน นโยบายแห่งชาติในการพัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน รวมทั้ง โดย แสวงหาภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริม การอ่าน พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้อย่าง ทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทาให้การอ่านเป็นที่สนใจมากขึ้น สร้างเป็น ชุมชนต้นแบบในการสร้างนิสัยรักการอ่าน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้เกิด กระบวนการที่จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ชุมชน โดยเฉพาะนักเรียน ส่งเสริมให้เด็กไทยให้รักการอ่านมากขึ้น ให้วัฒนธรรมการอ่าน สู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ทุกเพศ ทุกวัย 2. เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการโดยเน้นให้นักศึกษาได้มี ส่วนร่วมในการ ให้บริการวิชาการ ทั้งนี้นักศึกษาจะได้ใช้ความรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ จากการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบไปด้วยโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองขอนแก่น 3 แห่ง นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะกรรมการห้องสมุดเคลื่อนที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณาจารย์กลุ่มวิชาการ จัดการสารสนเทศและการสื่อสาร) วัน เวลา และสถานที่ วันที่ 28 มกราคม 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้านสีฐาน วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้าน สามเหลี่ยม วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00-16.00 โรงเรียนเทศบาลบ้านหนอง แวง วิธีดาเนินการ/กิจกรรม 1. จัดซื้อหนังสือและสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ให้เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย 2. เตรียมหนังสือและจัดทารายชื่อหนังสือมอบให้ห้องสมุดโรงเรียนและ ชุมชน 3. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้สาหรับดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่าน ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้ 4. จัดกิจกรรม และให้บริการตามแผนการจัดกิจกรรม 7.5 จัดทาแบบบันทึกการอ่านสาหรับนักเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมใน โครงการ งบประมาณ ใช้งบประมาณแผ่นดิน แผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน โครงการ ห้องสมุดเคลื่อนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น 60,000.- บาท ดังรายละเอียดต่อไปนี้ (ถัวเฉลี่ยทุกรายการ) 1. ค่าวัสดุประกอบการจัดกิจกรรม (หนังสือและสื่อต่าง ๆ) 50,000.- บาท 2. ค่าวัสดุสานักงาน ค่าวัสดุน้ามันเชื้อเพลิง 10,000.- บาท ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ ฯลฯ
  • 12. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) เพื่อส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างทักษะในการอ่านให้แก่ ชุมชนโดยเฉพาะนักเรียน ส่งเสริมให้เด็กไทยให้รักการอ่านมากขึ้น ให้ วัฒนธรรมการอ่านสู่วิถีชีวิตประจาวันของคนไทย ซึ่งจะเป็นแนวทางการสร้าง นิสัยรักอ่านที่มีความต่อเนื่องและมีความยั่งยืนตลอดไป 3) นักศึกษาสาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ประสบการณ์จากการร่วมดาเนิน กิจกรรมเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการ และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นที่รู้จักต่อบุคคลภายนอก