SlideShare a Scribd company logo
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
นายธีระศักดิ์ฑีฆายุพันธุ์
นายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น
ผู้เขียน : นายธีระศักดิ์ฑีฆายุพันธุ์
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ถอดความ : นายอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน
กองบรรณาธิการ : นายอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน, นายฮากีม ผูหาดา, นางสาวณัฐธิดา เย็นบํารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบํารุง
ปีที่เผยแพร่ : ตุลาคม พ.ศ. 2557
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สารบัญ
1. สถานการณ์เมืองขอนแก่นในวันนี้ 1
2. การขับเคลื่อนอนาคตของเมืองด้วยพลังคนขอนแก่น 2
2.1.นวัตกรรมใหม่สําหรับการจัดการจราจร 2
2.2.ขยะล้นเมืองและการจัดการ 2
2.3.การจัดการด้านสุขภาพของคนในเมือง 2
3. ภาพอนาคตของเมืองขอนแก่น 3
3.1.การสร้างเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ 3
3.2.ภาพฝันของนายกของนายกเทศบาลนครขอนแก่น 5
4. บทส่งท้าย 5
1
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
นายธีระศักดิ์ฑีฆายุพันธุ์0
1
นายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น
1. สถานการณ์เมืองขอนแก่นในวันนี้
ระยะเวลาเพียง 2 - 3 ปีที่ผ่านมา ขอนแก่นเติบโตแบบก้าวกระโดด ยกตัวอย่าง เมืองขอนแก่น
เคยมีเที่ยวบินเพียงสองเที่ยวบิน ภายในระยะเวลาปีกว่าเมืองขอนแก่นมีเที่ยวบินมากกว่าสิบเที่ยวบิน
สนามบินที่ออกแบบเอาไว้นั้น สามารถรองรับผู้โดยสารปีละ 1 ล้านคน ขณะนี้ ยังไม่ครบหนึ่งปีมีผู้โดยสาร
กว่า 900,000 คน สัญญาณของเมืองใหญ่ที่ถูกความเจริญเข้ามาคุกคาม ก็เกิดปัญหาที่ติดตามมาคล้ายกับ
เมืองอื่นๆ ยกตัวอย่าง ปัญหาการจราจร ก็คล้ายกับนครนนทบุรี และน่าจะไม่ต่างจากกรุงเทพมหานครใน
วันข้างหน้า ขณะนี้ถ้าคนขอนแก่นจะเดินทางออกจากบ้าน ต่างก็ต้องวางแผนการเดินทาง มิเช่นนั้นก็อาจ
ไม่ทันเวลาตามที่นัดหมาย ปัญหาการจราจรเหล่านี้กําลังคุกคามและรุนแรงมากขึ้น นอกจากนั้น ยังมี
ปัญหามลพิษ มลภาวะสิ่งแวดล้อม ปัญหาการจัดการขยะ สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาเมืองและนครขนาดใหญ่
ขณะเดียวกันปัญหาสังคมในเมืองขอนแก่นก็พบว่า มีแรงงานข้ามชาติย้ายตามกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม
ปัญหาการอพยพแรงงานจากเมืองเล็กและภาคชนบทหลั่งไหลเข้าสู่เมืองใหญ่ ปัญหาเหล่านี้ยังรอการ
แก้ไข
2. การขับเคลื่อนอนาคตของเมืองขอนแก่นด้วยพลังคนขอนแก่น
2.1. นวัตกรรมใหม่สําหรับการจัดการจราจร
วิธีการแก้ไขปัญหาการจราจรของเมืองขอนแก่นก็คล้ายกับเมืองอื่นๆ คือ วิ่งเต้นของบประมาณ
จากภาครัฐ ถ้าโชคดีก็ได้รับ ถ้าโชคไม่ดีก็มีคําตอบว่าไม่มีนโยบาย เทศบาลนครขอนแก่นเคยศึกษา
โครงการระบบขนส่งสาธารณะ BRT เพราะเส้นทางที่เลือกลงได้คือ ถนนมิตรภาพที่มี 12 เลน ถ้ามีระบบนี้
ซึ่งจะต้องมีเลนพิเศษ ก็จะไม่ส่งผลกระทบกับการจราจรของเมืองมากนัก อีกทั้งยังเป็นระบบที่ค่าก่อสร้าง
ต่อกิโลเมตรตํ่าที่สุด ซึ่งสายนําร่องมูลค่าประมาณ 1,400 ล้านบาท เทศบาลนครขอนแก่นพยายามนําเรื่อง
เหล่านี้เสนอต่อรัฐบาลหลายชุด เคยมีรัฐบาลชุดหนึ่งมาศึกษาดูงานในพื้นที่ ก็ให้กําลังใจกับคนทํางาน
พร้อมทั้งกล่าวว่า เมืองเชียงใหม่ยังไม่ได้ ดังนั้นเมืองขอนแก่นก็ควรรอไปก่อน ทําให้คนเทศบาลนคร
ขอนแก่น รวมทั้งคนในเมืองขอนแก่น เปลี่ยนแนวทางการขับเคลื่อนด้วยคนในท้องถิ่นเอง
ขณะนี้เทศบาลนครขอนแก่นกําลังจัดตั้งบริษัทจํากัดของเทศบาล คล้ายกรุงเทพธนาคมของ
กรุงเทพมหานคร โดยมีนักธุรกิจคนขอนแก่นสายเลือดใหม่รวมตัวกัน 20 คน จัดตั้งตั้งบริษัทของคน
1
ถอดความจากการนําเสนอในงาน เสวนาวิชาการ “ถอดรหัส...เมืองใหญ่” เมื่อวันพุธ ที่ 24 ธันวาคม 2557 ณ ณ ห้อง 204-206 Hall 9 อิม
แพค อารีน่า เมืองทองธานี ระหว่างเวลา 13.00 – 15.00 น จัดโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
2
ขอนแก่นเองในชื่อ “ขอนแก่น ทิงค์ แทงค์” ที่จะจดทะเบียนตั้งเป็นบริษัท ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558
โดยมีวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งคือ การรวมกับบริษัทจํากัดเทศบาล เพื่อพัฒนาโครงการต่างๆของการ
พัฒนาเมืองขอนแก่น เช่น ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ และการสร้างศูนย์ประชุมระดับนานาชาติ1
2
นักธุรกิจกลุ่มนี้พร้อมที่ลงทุนคนละ 10 ล้านบาท เพื่อจดทะเบียน 200 ล้านบาท เมื่อเทศบาล
สามารถผ่านอุปสรรคการจดทะเบียนเป็นบริษัทจํากัดเทศบาลได้ จะทําโครงการขนส่งมวลชนสาธารณะ
ร่วมกัน ปัจจุบันนี้ต่างฝ่ายมีความคืบหน้า
ล่าสุดเทศบาลนครขอนแก่นได้เชิญตัวแทนตลาดหลักทรัพย์ เพื่อดําเนินการเรื่องกองทุนรวม
โครงสร้างพื้นฐานจังหวัดขอนแก่น และไม่นานมานี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคมนาคมมาเยือน และ
เสนอให้เปลี่ยนชื่อเป็น “ขอนแก่น อินฟราสตรัคเจอร์ ฟันด์” เดิมทีใช้ชื่อกองทุนโครงสร้างพื้นฐาน
จังหวัด (Provincial Infrastructure Fund หรือ PIF) เป็นกองทุนรวมที่ทําโครงสร้างพื้นฐานของจังหวัด
ขอนแก่น ซึ่งสร้างกระแสตื่นตัวคนในเมืองขอนแก่น เห็นได้จากบางท่านเตรียมตัวเพื่อจองกองทุน 5 ล้าน
บาท บางท่านเป็นครูอาจารย์ เตรียมเงินไว้หนึ่งแสนถึงสองแสนบาท เพราะความรู้สึกสํานึกรักท้องถิ่น
เพราะเมื่อฝากโครงการหรือความหวังกับรัฐบาลตนเองไม่ได้ ก็ลุกขึ้นมาทําด้วยตนเองดีกว่า
2.2. ขยะล้นเมืองและการจัดการ
ส่วนระบบการจัดการขยะก็ทํามาหลายปี ตอนนี้มีบริษัทเอกชนมาดําเนินการสร้างโรงงานให้
เปลี่ยนขยะเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเริ่มลงเสาเข็ม เดือนสิงหาคม 2558 น่าจะสร้างแล้วเสร็จภายในเดือน
ตุลาคม 2558 จะสามารถดําเนินการเปลี่ยนขยะเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ ส่วนการจัดการขยะแยกเป็นสี่เรื่อง
ขยะเป็นพลังงานไฟฟ้า ขยะพลาสติกเป็นนํ้ามัน ขยะติดเชื้อ และพัฒนาระบบสถานีขนถ่ายขยะ
2.3. การจัดการด้านสุขภาพของคนในเมือง
เมืองขอนแก่นค่อนข้างโชคดีในระบบสาธารณสุข ถึงแม้เทศบาลนครขอนแก่นจะไม่มีโรงพยาบาล
ในสังกัด แต่เทศบาลนครขอนแก่นก็มีศูนย์แพทย์ถึง 10 ศูนย์ ด้วยการลงนามความร่วมมือกับโรงพยาบาล
ใหญ่ๆ ทั้งในส่วนของรัฐและเอกชน เพื่อกระจายการดูแลให้แก่ประชาชนในเขตเทศบาล โดยเฉพาะสิ่งที่
เน้นคือ การส่งเสริม การฟื้นฟู และการป้องกัน สําหรับการรักษาเป็นเรื่องของโรงพยาบาล
ปัจจุบันนี้ปัญหาด้านสาธารณสุข คือ โครงการด้านสุขภาพไม่นําไปสู่ความยั่งยืน ยกตัวอย่างเช่น
การทําโครงการของบประมาณในอดีต กรณีการของบประมาณเต้นแอโรบิก เมื่อสิ้นสุดโครงการนี้แล้ว ปี
หน้าก็มีการของบประมาณเต้นแอโรบิกอีกครั้ง ซึ่งพบว่าเงินของโครงการ เป็นค่าอาหาร ค่าอบรม และค่า
วิทยากร สุดท้ายไม่ได้สร้างความยั่งยืน แม้แต่โครงการสุขภาพในด้านการคัดกรองโรคสายตา ตรวจ
อุจจาระเพื่อหาพยาธิใบไม้ ดังนั้นจึงนําไปสู่การวิเคราะห์เพื่อหาข้อยุติในเบื้องต้นผ่านการพัฒนามากกว่า 5
ปี และพบว่าควรกลับไปสู่พื้นฐาน คือ ให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจเรื่องอาหาร สารเคมี ยา ฯลฯ
2
ขอนแก่นเป็นหนึ่งในห้าเมืองของประเทศไทย ที่ได้รับเลือกเป็น mice city ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางการประชุมและสัมมนา ถึงแม้ว่าเมือง
ขอนแก่นมีศูนย์ประชุมของมหาวิทยาลัยขอนแก่น แต่ก็ยังไม่พร้อมที่จะแสดงสินค้าระดับนานาชาติ งานจัดประชุมและสัมมนา
(convention) ต่างๆ ดังนั้นจึงมีโครงการที่จะดําเนินการสร้างศูนย์ประชุมที่มีพื้นที่ราวหมื่นตารางเมตร
3
โดยมุ่งเน้นให้ความรู้แก่ประชาชน เมื่อประชาชนมีความรู้ติดตัวก็นําไปสู่การดูแลสุขภาพตนเอง โดยสรุปก็
คือ ปัญหาสัญญาณของเมืองใหญ่ มีความคล้ายคลึงกัน แต่ในแต่ละเรื่องก็มีวิธีการจัดการที่แตกต่างกันและ
หลากหลาย
เทศบาลนครขอนแก่นมีศูนย์แพทย์ 10 แห่ง ขอนแก่นเป็น medical hub และเป็นศูนย์กลางการ
บริการทางการแพทย์ที่เป็นเลิศของประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น สร้างอาคารรักษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีโรงพยาบาลศรีนครินทร์
เป็นศูนย์กลางด้านการแพทย์ เครือข่ายสาธารณสุขของจังหวัดขอนแก่นเข้มแข็งมาก แต่ก็มีบทเรียนคือ
เมื่อเข้มแข็งมากก็เปราะบางหรือแตกง่าย ยกตัวอย่าง ขอนแก่นมีเครือข่ายรณรงค์เรื่องแอลกอฮอล์ที่
เข้มแข็งเป็นลําดับต้นๆของประเทศไทย แต่มียอดขายวิสกี้อันดับ 1 ของภาคอีสาน ยอดขายเบียร์เป็น
อันดับหนึ่งหรือสองแข่งกับนครราชสีมา หมายความว่า ด้านหนึ่งมีฝ่ายรณรงค์ให้ลด อีกฝ่ายที่เสีย
ประโยชน์ ก็พยายามทําการตลาดมากขึ้น เพื่อใช้การประชาสัมพันธ์ต่อสู้ ถึงแม้สํานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รณรงค์ลดการดื่มแอลกอฮอล์ด้วยงบประมาณสูงถึง 4-5 พันล้านบาท แต่
บริษัทในกลุ่มธุรกิจแอลกอฮอล์ใช้งบประมาณประชาสัมพันธ์ด้วยจํานวนเงินหลายหมื่นล้านบาท
สัญญาณของเมืองขอนแก่นในปัจจุบันก็คล้ายกับกรุงเทพฯ ที่เทศบาลนครขอนแก่นให้ความสําคัญเป็น
พิเศษคือ ความเป็นเมืองน่าอยู่ โดยเพิ่มเติมในเรื่องอารยสถาปัตย์ (Universal Design) เทศบาลฯขอ
สัมปทานเพื่อวิ่งรถโดยสารปรับอากาศขนาดเล็ก (shuttle bus) ในเขตเมือง ขณะที่รอโครงการใหญ่ที่จะทํา
ระบบขนส่งสาธารณะ ให้ประชาชนได้เรียนรู้และพยายามลดการใช้รถส่วนบุคคล เป็นระบบรถเมล์ชานตํ่า
(Low Floor) เพื่อรองรับการบริการกลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น รวมถึงการปรับปรุงทางลาด ทาง
ชัน การปรับปรุงอาคาร การปรับปรุงสวนสาธารณะ เพื่อคนพิการ กําลังคืบหน้าไปได้ด้วยดี รณรงค์เรื่อง
ขยะ การปลูกจิตสํานึกเรื่องขยะ ผ่านโครงการขอนแก่นโลว์คาร์บอน ซิตี้ (Low – carbon city) เพื่อก้าวสู่
เมืองคาร์บอนตํ่า
3. ภาพอนาคตของเมืองขอนแก่น
3.1. การสร้างเด็กและเยาวชนคนรุ่นใหม่
วิสัยทัศน์ของเมืองขอนแก่นคือ “พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข” แต่แนวทางในการ
แก้ไขปัญหาประเทศในระยะยาว และคณะทํางานตกผลึกร่วมกัน 2 ปีกว่า คือ เรื่องการศึกษา ซึ่งเป็น
เรื่องที่มีความยั่งยืน เทศบาลนครขอนแก่นได้วิเคราะห์สถานการณ์ของเมือง ภูมิภาค อาเซียน และใน
ระดับโลก พบว่า ถ้าเด็กของเทศบาลนครขอนแก่นผ่านกระบวนการนี้แล้ว เด็กจะอยู่ในสังคมต่อไปได้
เทศบาลนครขอนแก่นวางระบบปฏิรูปการศึกษาใหม่และใช้คําว่า แม่แบบการจัดการหรือพิมพ์เขียว
(blueprint) ทางการศึกษาของเทศบาลนครขอนแก่น โดยมีทั้งสิ้น 4 ข้อ ดังนี้
(1) ต้องมีคุณลักษณะพึงประสงค์ 5+1 ได้แก่ มีวินัย มีความอดทน มีความรับผิดชอบ มีความ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความกตัญ�ู และบวกหนึ่งคือ มีสํานึกรักท้องถิ่น กําลังเดินในเส้นทางนี้ 11
โรงเรียนในสังกัดเทศบาล ทุกคนนําแนวความคิดเพื่อปรับและสร้างแนวทางเพื่อผลิตเด็กออกมา
ถ้าไม่มีบุคลิกแบบนี้ ก็ยากที่จะเผชิญโลกกว้างได้ เด็กรุ่นปัจจุบันคือ เจนมี “ยุคตัวกู ของกู” ถ้าเด็ก
4
เป็นแบบนี้ วันข้างหน้าจะเป็นอย่างไร มีการศึกษาเด็กอเมริกันว่า ถ้าบุคลิกเด็กอเมริกันเป็นอย่าง
นี้ ธุรกิจอะไรบ้างจะเจ๊งตามมา เด็กอเมริกันเริ่มไม่เข้าห้าง เด็กกลุ่มนี้ช็อปปิ้งผ่านออนไลน์ อีกทั้ง
ยังไม่ยอมเชื่อใครง่ายๆ มีความทะนงตัวสูง จึงไม่เชื่อที่ปรึกษา ถ้าวิเคราะห์ดังนี้แนวโน้มในหลาย
ประเทศก็จะเป็นเช่นสังคมอเมริกัน ดังนั้นการปลูกฝังสิ่งเหล่านี้แก่เด็ก จะทําให้เด็กเหล่านี้มี
พื้นฐานที่จะเผชิญโลกกว้างต่อไป
(2) มาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลับไปสู่ความเรียบง่ายที่สุด เด็กทุกคนที่จบต้องอ่าน
ออกเขียนได้ คิดเลขเป็น และมีทักษะชีวิต หมายความว่าจบไปแล้วคิดเป็น ไม่ใช่จบไปแล้ว
สามารถสอบได้ เด็กที่จบไปแล้วต้องเรียนรู้ที่จะคิดเป็น
(3) เรียนรู้ภาษาต่างประเทศไม่น้อย 1 ภาษา
(4) รู้เท่าทันเทคโนโลยี
แม่แบบการจัดการหรือพิมพ์เขียว (Blueprint) ทางการศึกษาของเทศบาลนครขอนแก่นคือ การ
สร้างเด็กรุ่นใหม่ แล้วนําไปแก้ไขปัญหาประเทศที่ยั่งยืนที่สุด คนเหล่านี้จะแก้ไขปัญหาได้ ทั้งแก้ไขปัญหา
มลพิษและมลภาวะ แก้ไขปัญหาโลว์คาร์บอนได้จริง ที่มี 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ สังคมแห่งต้นไม้ สังคมไร้
มลพิษ สังคมพิชิตพลังงาน และบริโภคอย่างยั่งยืน ซึ่งเปลี่ยนมาสร้างคนรุ่นใหม่หัวใจสีเขียว การทํางาน
ของการเทศบาลฯจะเน้นการปลูกฝังคนรุ่นใหม่เพื่อโลกยุคหน้า ซึ่งต้องกลับไปแก้ที่พื้นฐาน โดยสรุปก็คือ
ปัญหาแต่ละด้าน ก็จะมีการแก้ไขปัญหาเฉพาะด้าน เช่น ปัญหาสาธารณสุข ปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน และ
ปัญหาสังคมเป็นอย่างไร
แม้แต่ปัญหาของเยาวชนในเมือง ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มเด็กแว้น เด็กสก๊อย ซึ่งมีจํานวนมาก
ขอนแก่นมีแก๊งมังกรดํา แก๊งโลงแตก ฯลฯ สําหรับแก๊งที่ใหญ่ที่สุดคือ แก๊งมังกรดํา มีสมาชิกนับพันคน
ก่อนนี้คนส่วนใหญ่เห็นว่าเด็กกลุ่มนี้สร้างปัญหาให้กับเมือง แต่เทศบาลนครขอนแก่นโชคดี เพราะมี
เจ้าหน้าที่เป็นจิตอาสา คล้ายกลุ่มทํางานลักษณะเอ็นจีโอ โดยเริ่มต้นจากการศึกษานอกระบบ เช่น
พยายามสืบหาเด็ก เข้าถึงเด็กด้วย “นวัตกรรมเนื้อย่าง” โดยเน้นเด็กกินเนื้อย่างเกือบทุกวัน จนกระทั่งเด็ก
ไว้วางใจ แล้วสุดท้ายเจ้าหน้าที่ของเทศบาลอยากขอพบกับรุ่นพี่ เด็กจึงติดต่อให้พบกับ “พี่เปี๊ยก”
โดยทั่วไปจะเข้าถึง “พี่เปี๊ยก” ค่อนข้างยากลําบาก ถ้าจะพบต้องนัดหนึ่งต่อหนึ่ง พี่เปี๊ยกคือหัวหน้า
แก๊งมังกรดํา ซึ่งพื้นเพไม่ใช่คนขอนแก่น แต่อยู่ในจังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน เขาได้สร้างฐานอยู่ที่ขอนแก่น
การเข้าถึงตัวพี่เปี๊ยกได้ ก็จะส่งผลให้เทศบาลนครขอนแก่นนําโครงการดีๆมาร่วมได้ ดึงเด็กมาร่วมได้ เช่น
การปลูกผักปลอดสารพิษ ร้านขายนม เด็กกลุ่มนี้มีความรู้พื้นฐานเรื่องซ่อมมอเตอร์ไซค์ ก็เปิดร้านซ่อมให้
จุดที่ทําให้พี่เปี๊ยกหันมาร่วมทํางานด้วยก็คือ ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน วัดใจกันว่าที่ผ่านมาหลอกเขา
หรือไม่ ซึ่งทีมงานใช้เวลาพิสูจน์ยาวนาน ปัจจุบันเด็กบางคนสามารถเข้าระบบการศึกษา เช่น เรียนกศน.
เด็กบางคนมีอาชีพ พ่อแม่ยอมรับ กลับมาอยู่ในครอบครัว มีอาชีพ มีเงิน เด็กบางคนเทศบาลนคร
ขอนแก่นขอนแก่นรับเป็นผู้ช่วยเทศกิจ จากเดิมที่ปฏิเสธสังคมตอนนี้เข้ามาอยู่ในระบบระเบียบ อย่างไรก็
ตาม ก็ยังมีเด็กแว้น สก๊อย แต่ที่เปลี่ยนแปลงไปคือ จํานวนที่ลดลง กล่าวคือในจํานวนสมาชิกแก๊งมังกรดํา
ทั้งหมดหนึ่งพันคน เทศบาลนครขอนแก่นดึงมาร่วมโครงการได้สองร้อยคน ซึ่งกําลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
5
การแก้ไขปัญหาระยะยาวเมือง สังคม ฯลฯ ต้องแก้ไขปัญหาที่คนก่อน ซึ่งจําเป็นต้องวางรากฐานด้าน
การศึกษา ให้ความสําคัญด้านการศึกษาเป็นลําดับแรก
3.2. ภาพฝันของนายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น
วิสัยทัศน์ของผู้นําเมืองขอนแก่นประกอบด้วย 2 เรื่อง ได้แก่
1. ผู้นําที่มีหน้าที่สร้างผู้นํา ซึ่งจะช่วยให้มีคนทํางานเป็นหมู่คณะ ไม่มี super hero มีแต่ super
team ถ้าอย่างแรกก็ไม่มีคนทํางานช่วย ไม่มีคนเดินตาม ถ้ามีอย่างหลัง จะมีเครือข่ายทํางานร่วมกันใน
การแก้ไขปัญหาภาพรวม
2. การทํางานเป็นทีม เทศบาลนครขอนแก่นมี “ระบบห้องเครื่อง” คือ ทีมรองนายกฯ เลขาฯ ที่
ปรึกษา ประธานสภาฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงผู้เชี่ยวชาญ เพื่อมาพบปะแลกเปลี่ยนพูดคุย แล้วตกผลึกด้าน
ความคิด จากนั้นปรับให้เป็นระบบ แผน แล้วนําไปดําเนินการ ซึ่งพบว่า “ระบบห้องเครื่อง” ช่วยขับเคลื่อน
ในการทํางานสูงมาก ถือเป็นระบบที่ใช้ในการขับเคลื่อนองค์กร หากเปรียบเทศบาลนครขอนแก่นเป็น
เครื่องจักรขนาดใหญ่ ห้องเครื่องนี้ก็จะเป็นกลไกสําคัญที่สุดในการขับเคลื่อน ดังจะเห็นได้ว่านโยบายต่างๆ
ออกมาจากห้องเครื่อง
โดยสรุปวิสัยทัศน์ของผู้นําเมืองขอนแก่นคือ การสร้างผู้นําให้เก่ง และไม่ควรทํางานเพียงคนเดียว
แต่ควรทํางานด้วยเครือข่าย เพื่อให้มีทีมงานช่วยในการดําเนินงาน
4. บทส่งท้าย : คําถามจากผู้เข้าร่วมเวทีเสวนา
คําถาม
ภายใต้สถานการณ์เมืองใหญ่ที่กําลังเติบโต และอนาคตจะเป็นศูนย์กลางประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC) ในไม่ช้า พร้อมกันนั้นคนดั้งเดิมก็มีสํานึกรักท้องถิ่น คําถามก็คือทั้งนนทบุรีและขอนแก่นก็
มีเอกลักษณ์เฉพาะตน เมืองใหญ่เหล่านี้จะอนุรักษ์ภาพลักษณ์นี้ไว้อย่างไร
คําตอบ : นายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น
คุณลักษณะพึงประสงค์ที่ปลูกฝังเด็กรุ่นใหม่คือ กลับไปที่ห้าบวกหนึ่ง (5+1) บวกหนึ่งคือเรื่อง
สํานึกรักท้องถิ่น เพื่อนของผมหลายคนเรียนจบ แล้วไปเรียนต่อต่างประเทศสุดท้ายไม่กลับมา หน้าที่ของ
เมืองคือสร้างคนเหล่านี้ คือสร้างคนที่มีความรู้ความสามารถ ให้มีความผูกพัน มีสํานึกรักท้องถิ่น แต่ถ้าคน
เหล่านี้มีความผูกพัน มีสํานึกรักท้องถิ่น แล้วหากวันใดวันหนึ่งเขาออกไปจากพื้นที่ เพื่อไปแสวงหาในสิ่งที่
เขาต้องการ เขาจะกลับมาพัฒนาบ้านเมือง
ประเด็นเรื่องสํานึกรักท้องถิ่นช่วยตอบคําถามนี้ ขอนแก่นเป็นฐานที่มั่นวัฒนธรรมร่วมสมัย การ
ออกแบบสถาปัตยกรรมเมืองได้แฝงลีลาของอีสานเข้าไป ไม่ใช่อีสานจ๋า การออกแบบประตูเมือง ออกแบบ
เสาไฟสีโห การนําเรื่องสังข์ศิลป์ชัย ซึ่งเป็นนิทานพื้นบ้านของลุ่มแม่นํ้าโขง มาบรรจุในหลักสูตรการเรียน
เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็เพื่อสร้างความภาคภูมิใจ ในอดีตคนอีสานเมื่อเข้ากรุงเทพมักไม่กล้า
6
พูดอีสาน เพราะอาย ต่อจากนี้คุณไปไหนจะบอกได้เลยว่าเป็นคนขอนแก่น (ต่างจากสโลแกนขอนแก่น
หน้าตาดีทุกคน ) ความจริงต้องภูมิใจในความเป็นคนอีสาน เนื่องจากมีรากเหง้า มีวัฒนธรรม มีความ
เป็นมา มีภูมิปัญญา และมากกว่านั้นคือ สิ่งที่เดินหน้าต่อจากนี้ไปคือ การมีทิศทางที่ชัดเจน และมีความ
เจริญเติบโตที่รอเราอยู่ ดังนั้นสิ่งที่สร้างเอาไว้คือ ดึงคนที่มีความรู้ความสามารถกลับมาสร้างบ้านแปงเมือง
แม้กระทั่งความกตัญ�ู ขณะนี้สิ่งที่ชัดเจนคือ การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ไม่ใช่สิบปีข้างหน้า
เพราะขณะนี้ตัวเลขผู้สูงอายุ 14 % ดังนั้นหากสร้างความกตัญ�ูสําเร็จจะช่วยแก้ไขปัญหาของภาครัฐใน
ระยะยาวได้

More Related Content

What's hot

Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
FURD_RSU
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
FURD_RSU
 
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองหนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
FURD_RSU
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
FURD_RSU
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
Klangpanya
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
yahapop
 
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD_RSU
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Saravit eMagazine 11/2557
Saravit eMagazine 11/2557Saravit eMagazine 11/2557
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
FURD_RSU
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
FURD_RSU
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
FURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
FURD_RSU
 
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลาHeritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
FURD_RSU
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
FURD_RSU
 
ตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวาตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวาsiep
 

What's hot (20)

Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองหนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
 
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
Saravit eMagazine 11/2557
Saravit eMagazine 11/2557Saravit eMagazine 11/2557
Saravit eMagazine 11/2557
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลาHeritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
 
V 271 1
V 271 1V 271 1
V 271 1
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 
ตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวาตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวา
 

Viewers also liked

Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
FURD_RSU
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
FURD_RSU
 
10 reasons to choose khon kaen
10 reasons to choose khon kaen10 reasons to choose khon kaen
10 reasons to choose khon kaen
Chuta Tharachai
 
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Surasak Tumthong
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
FURD_RSU
 
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
Thongin Waidee
 
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกกฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
Thammawat INTACHAKRA
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
Watcharin Chongkonsatit
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
FURD_RSU
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
How to analyse photography work
How to analyse photography workHow to analyse photography work
How to analyse photography workJaskirt Boora
 

Viewers also liked (11)

Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
 
10 reasons to choose khon kaen
10 reasons to choose khon kaen10 reasons to choose khon kaen
10 reasons to choose khon kaen
 
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
 
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกกฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
How to analyse photography work
How to analyse photography workHow to analyse photography work
How to analyse photography work
 

Similar to เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา

NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75Mr-Dusit Kreachai
 
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า เอกสารวิชาการ Knit 27 4-58
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า เอกสารวิชาการ Knit 27 4-58ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า เอกสารวิชาการ Knit 27 4-58
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า เอกสารวิชาการ Knit 27 4-58somporn Isvilanonda
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่S-ruthai
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
tongsuchart
 
Bodhi Research Journal
Bodhi Research Journal Bodhi Research Journal
Bodhi Research Journal
satisamadhi
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา (20)

V 289
V 289V 289
V 289
 
Information2012
Information2012Information2012
Information2012
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
V 268
V 268V 268
V 268
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
V 275
V 275V 275
V 275
 
V 251
V 251V 251
V 251
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
 
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า เอกสารวิชาการ Knit 27 4-58
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า เอกสารวิชาการ Knit 27 4-58ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า เอกสารวิชาการ Knit 27 4-58
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า เอกสารวิชาการ Knit 27 4-58
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
Bodhi Research Journal
Bodhi Research Journal Bodhi Research Journal
Bodhi Research Journal
 
V 257
V 257V 257
V 257
 
V 287
V 287V 287
V 287
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
V 297
V 297V 297
V 297
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา

  • 1.
  • 3. ผู้เขียน : นายธีระศักดิ์ฑีฆายุพันธุ์ บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ถอดความ : นายอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน กองบรรณาธิการ : นายอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน, นายฮากีม ผูหาดา, นางสาวณัฐธิดา เย็นบํารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบํารุง ปีที่เผยแพร่ : ตุลาคม พ.ศ. 2557 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. สารบัญ 1. สถานการณ์เมืองขอนแก่นในวันนี้ 1 2. การขับเคลื่อนอนาคตของเมืองด้วยพลังคนขอนแก่น 2 2.1.นวัตกรรมใหม่สําหรับการจัดการจราจร 2 2.2.ขยะล้นเมืองและการจัดการ 2 2.3.การจัดการด้านสุขภาพของคนในเมือง 2 3. ภาพอนาคตของเมืองขอนแก่น 3 3.1.การสร้างเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ 3 3.2.ภาพฝันของนายกของนายกเทศบาลนครขอนแก่น 5 4. บทส่งท้าย 5
  • 5. 1 เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา นายธีระศักดิ์ฑีฆายุพันธุ์0 1 นายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น 1. สถานการณ์เมืองขอนแก่นในวันนี้ ระยะเวลาเพียง 2 - 3 ปีที่ผ่านมา ขอนแก่นเติบโตแบบก้าวกระโดด ยกตัวอย่าง เมืองขอนแก่น เคยมีเที่ยวบินเพียงสองเที่ยวบิน ภายในระยะเวลาปีกว่าเมืองขอนแก่นมีเที่ยวบินมากกว่าสิบเที่ยวบิน สนามบินที่ออกแบบเอาไว้นั้น สามารถรองรับผู้โดยสารปีละ 1 ล้านคน ขณะนี้ ยังไม่ครบหนึ่งปีมีผู้โดยสาร กว่า 900,000 คน สัญญาณของเมืองใหญ่ที่ถูกความเจริญเข้ามาคุกคาม ก็เกิดปัญหาที่ติดตามมาคล้ายกับ เมืองอื่นๆ ยกตัวอย่าง ปัญหาการจราจร ก็คล้ายกับนครนนทบุรี และน่าจะไม่ต่างจากกรุงเทพมหานครใน วันข้างหน้า ขณะนี้ถ้าคนขอนแก่นจะเดินทางออกจากบ้าน ต่างก็ต้องวางแผนการเดินทาง มิเช่นนั้นก็อาจ ไม่ทันเวลาตามที่นัดหมาย ปัญหาการจราจรเหล่านี้กําลังคุกคามและรุนแรงมากขึ้น นอกจากนั้น ยังมี ปัญหามลพิษ มลภาวะสิ่งแวดล้อม ปัญหาการจัดการขยะ สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาเมืองและนครขนาดใหญ่ ขณะเดียวกันปัญหาสังคมในเมืองขอนแก่นก็พบว่า มีแรงงานข้ามชาติย้ายตามกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม ปัญหาการอพยพแรงงานจากเมืองเล็กและภาคชนบทหลั่งไหลเข้าสู่เมืองใหญ่ ปัญหาเหล่านี้ยังรอการ แก้ไข 2. การขับเคลื่อนอนาคตของเมืองขอนแก่นด้วยพลังคนขอนแก่น 2.1. นวัตกรรมใหม่สําหรับการจัดการจราจร วิธีการแก้ไขปัญหาการจราจรของเมืองขอนแก่นก็คล้ายกับเมืองอื่นๆ คือ วิ่งเต้นของบประมาณ จากภาครัฐ ถ้าโชคดีก็ได้รับ ถ้าโชคไม่ดีก็มีคําตอบว่าไม่มีนโยบาย เทศบาลนครขอนแก่นเคยศึกษา โครงการระบบขนส่งสาธารณะ BRT เพราะเส้นทางที่เลือกลงได้คือ ถนนมิตรภาพที่มี 12 เลน ถ้ามีระบบนี้ ซึ่งจะต้องมีเลนพิเศษ ก็จะไม่ส่งผลกระทบกับการจราจรของเมืองมากนัก อีกทั้งยังเป็นระบบที่ค่าก่อสร้าง ต่อกิโลเมตรตํ่าที่สุด ซึ่งสายนําร่องมูลค่าประมาณ 1,400 ล้านบาท เทศบาลนครขอนแก่นพยายามนําเรื่อง เหล่านี้เสนอต่อรัฐบาลหลายชุด เคยมีรัฐบาลชุดหนึ่งมาศึกษาดูงานในพื้นที่ ก็ให้กําลังใจกับคนทํางาน พร้อมทั้งกล่าวว่า เมืองเชียงใหม่ยังไม่ได้ ดังนั้นเมืองขอนแก่นก็ควรรอไปก่อน ทําให้คนเทศบาลนคร ขอนแก่น รวมทั้งคนในเมืองขอนแก่น เปลี่ยนแนวทางการขับเคลื่อนด้วยคนในท้องถิ่นเอง ขณะนี้เทศบาลนครขอนแก่นกําลังจัดตั้งบริษัทจํากัดของเทศบาล คล้ายกรุงเทพธนาคมของ กรุงเทพมหานคร โดยมีนักธุรกิจคนขอนแก่นสายเลือดใหม่รวมตัวกัน 20 คน จัดตั้งตั้งบริษัทของคน 1 ถอดความจากการนําเสนอในงาน เสวนาวิชาการ “ถอดรหัส...เมืองใหญ่” เมื่อวันพุธ ที่ 24 ธันวาคม 2557 ณ ณ ห้อง 204-206 Hall 9 อิม แพค อารีน่า เมืองทองธานี ระหว่างเวลา 13.00 – 15.00 น จัดโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 6. 2 ขอนแก่นเองในชื่อ “ขอนแก่น ทิงค์ แทงค์” ที่จะจดทะเบียนตั้งเป็นบริษัท ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558 โดยมีวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งคือ การรวมกับบริษัทจํากัดเทศบาล เพื่อพัฒนาโครงการต่างๆของการ พัฒนาเมืองขอนแก่น เช่น ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ และการสร้างศูนย์ประชุมระดับนานาชาติ1 2 นักธุรกิจกลุ่มนี้พร้อมที่ลงทุนคนละ 10 ล้านบาท เพื่อจดทะเบียน 200 ล้านบาท เมื่อเทศบาล สามารถผ่านอุปสรรคการจดทะเบียนเป็นบริษัทจํากัดเทศบาลได้ จะทําโครงการขนส่งมวลชนสาธารณะ ร่วมกัน ปัจจุบันนี้ต่างฝ่ายมีความคืบหน้า ล่าสุดเทศบาลนครขอนแก่นได้เชิญตัวแทนตลาดหลักทรัพย์ เพื่อดําเนินการเรื่องกองทุนรวม โครงสร้างพื้นฐานจังหวัดขอนแก่น และไม่นานมานี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคมนาคมมาเยือน และ เสนอให้เปลี่ยนชื่อเป็น “ขอนแก่น อินฟราสตรัคเจอร์ ฟันด์” เดิมทีใช้ชื่อกองทุนโครงสร้างพื้นฐาน จังหวัด (Provincial Infrastructure Fund หรือ PIF) เป็นกองทุนรวมที่ทําโครงสร้างพื้นฐานของจังหวัด ขอนแก่น ซึ่งสร้างกระแสตื่นตัวคนในเมืองขอนแก่น เห็นได้จากบางท่านเตรียมตัวเพื่อจองกองทุน 5 ล้าน บาท บางท่านเป็นครูอาจารย์ เตรียมเงินไว้หนึ่งแสนถึงสองแสนบาท เพราะความรู้สึกสํานึกรักท้องถิ่น เพราะเมื่อฝากโครงการหรือความหวังกับรัฐบาลตนเองไม่ได้ ก็ลุกขึ้นมาทําด้วยตนเองดีกว่า 2.2. ขยะล้นเมืองและการจัดการ ส่วนระบบการจัดการขยะก็ทํามาหลายปี ตอนนี้มีบริษัทเอกชนมาดําเนินการสร้างโรงงานให้ เปลี่ยนขยะเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเริ่มลงเสาเข็ม เดือนสิงหาคม 2558 น่าจะสร้างแล้วเสร็จภายในเดือน ตุลาคม 2558 จะสามารถดําเนินการเปลี่ยนขยะเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ ส่วนการจัดการขยะแยกเป็นสี่เรื่อง ขยะเป็นพลังงานไฟฟ้า ขยะพลาสติกเป็นนํ้ามัน ขยะติดเชื้อ และพัฒนาระบบสถานีขนถ่ายขยะ 2.3. การจัดการด้านสุขภาพของคนในเมือง เมืองขอนแก่นค่อนข้างโชคดีในระบบสาธารณสุข ถึงแม้เทศบาลนครขอนแก่นจะไม่มีโรงพยาบาล ในสังกัด แต่เทศบาลนครขอนแก่นก็มีศูนย์แพทย์ถึง 10 ศูนย์ ด้วยการลงนามความร่วมมือกับโรงพยาบาล ใหญ่ๆ ทั้งในส่วนของรัฐและเอกชน เพื่อกระจายการดูแลให้แก่ประชาชนในเขตเทศบาล โดยเฉพาะสิ่งที่ เน้นคือ การส่งเสริม การฟื้นฟู และการป้องกัน สําหรับการรักษาเป็นเรื่องของโรงพยาบาล ปัจจุบันนี้ปัญหาด้านสาธารณสุข คือ โครงการด้านสุขภาพไม่นําไปสู่ความยั่งยืน ยกตัวอย่างเช่น การทําโครงการของบประมาณในอดีต กรณีการของบประมาณเต้นแอโรบิก เมื่อสิ้นสุดโครงการนี้แล้ว ปี หน้าก็มีการของบประมาณเต้นแอโรบิกอีกครั้ง ซึ่งพบว่าเงินของโครงการ เป็นค่าอาหาร ค่าอบรม และค่า วิทยากร สุดท้ายไม่ได้สร้างความยั่งยืน แม้แต่โครงการสุขภาพในด้านการคัดกรองโรคสายตา ตรวจ อุจจาระเพื่อหาพยาธิใบไม้ ดังนั้นจึงนําไปสู่การวิเคราะห์เพื่อหาข้อยุติในเบื้องต้นผ่านการพัฒนามากกว่า 5 ปี และพบว่าควรกลับไปสู่พื้นฐาน คือ ให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจเรื่องอาหาร สารเคมี ยา ฯลฯ 2 ขอนแก่นเป็นหนึ่งในห้าเมืองของประเทศไทย ที่ได้รับเลือกเป็น mice city ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางการประชุมและสัมมนา ถึงแม้ว่าเมือง ขอนแก่นมีศูนย์ประชุมของมหาวิทยาลัยขอนแก่น แต่ก็ยังไม่พร้อมที่จะแสดงสินค้าระดับนานาชาติ งานจัดประชุมและสัมมนา (convention) ต่างๆ ดังนั้นจึงมีโครงการที่จะดําเนินการสร้างศูนย์ประชุมที่มีพื้นที่ราวหมื่นตารางเมตร
  • 7. 3 โดยมุ่งเน้นให้ความรู้แก่ประชาชน เมื่อประชาชนมีความรู้ติดตัวก็นําไปสู่การดูแลสุขภาพตนเอง โดยสรุปก็ คือ ปัญหาสัญญาณของเมืองใหญ่ มีความคล้ายคลึงกัน แต่ในแต่ละเรื่องก็มีวิธีการจัดการที่แตกต่างกันและ หลากหลาย เทศบาลนครขอนแก่นมีศูนย์แพทย์ 10 แห่ง ขอนแก่นเป็น medical hub และเป็นศูนย์กลางการ บริการทางการแพทย์ที่เป็นเลิศของประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สร้างอาคารรักษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีโรงพยาบาลศรีนครินทร์ เป็นศูนย์กลางด้านการแพทย์ เครือข่ายสาธารณสุขของจังหวัดขอนแก่นเข้มแข็งมาก แต่ก็มีบทเรียนคือ เมื่อเข้มแข็งมากก็เปราะบางหรือแตกง่าย ยกตัวอย่าง ขอนแก่นมีเครือข่ายรณรงค์เรื่องแอลกอฮอล์ที่ เข้มแข็งเป็นลําดับต้นๆของประเทศไทย แต่มียอดขายวิสกี้อันดับ 1 ของภาคอีสาน ยอดขายเบียร์เป็น อันดับหนึ่งหรือสองแข่งกับนครราชสีมา หมายความว่า ด้านหนึ่งมีฝ่ายรณรงค์ให้ลด อีกฝ่ายที่เสีย ประโยชน์ ก็พยายามทําการตลาดมากขึ้น เพื่อใช้การประชาสัมพันธ์ต่อสู้ ถึงแม้สํานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รณรงค์ลดการดื่มแอลกอฮอล์ด้วยงบประมาณสูงถึง 4-5 พันล้านบาท แต่ บริษัทในกลุ่มธุรกิจแอลกอฮอล์ใช้งบประมาณประชาสัมพันธ์ด้วยจํานวนเงินหลายหมื่นล้านบาท สัญญาณของเมืองขอนแก่นในปัจจุบันก็คล้ายกับกรุงเทพฯ ที่เทศบาลนครขอนแก่นให้ความสําคัญเป็น พิเศษคือ ความเป็นเมืองน่าอยู่ โดยเพิ่มเติมในเรื่องอารยสถาปัตย์ (Universal Design) เทศบาลฯขอ สัมปทานเพื่อวิ่งรถโดยสารปรับอากาศขนาดเล็ก (shuttle bus) ในเขตเมือง ขณะที่รอโครงการใหญ่ที่จะทํา ระบบขนส่งสาธารณะ ให้ประชาชนได้เรียนรู้และพยายามลดการใช้รถส่วนบุคคล เป็นระบบรถเมล์ชานตํ่า (Low Floor) เพื่อรองรับการบริการกลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น รวมถึงการปรับปรุงทางลาด ทาง ชัน การปรับปรุงอาคาร การปรับปรุงสวนสาธารณะ เพื่อคนพิการ กําลังคืบหน้าไปได้ด้วยดี รณรงค์เรื่อง ขยะ การปลูกจิตสํานึกเรื่องขยะ ผ่านโครงการขอนแก่นโลว์คาร์บอน ซิตี้ (Low – carbon city) เพื่อก้าวสู่ เมืองคาร์บอนตํ่า 3. ภาพอนาคตของเมืองขอนแก่น 3.1. การสร้างเด็กและเยาวชนคนรุ่นใหม่ วิสัยทัศน์ของเมืองขอนแก่นคือ “พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข” แต่แนวทางในการ แก้ไขปัญหาประเทศในระยะยาว และคณะทํางานตกผลึกร่วมกัน 2 ปีกว่า คือ เรื่องการศึกษา ซึ่งเป็น เรื่องที่มีความยั่งยืน เทศบาลนครขอนแก่นได้วิเคราะห์สถานการณ์ของเมือง ภูมิภาค อาเซียน และใน ระดับโลก พบว่า ถ้าเด็กของเทศบาลนครขอนแก่นผ่านกระบวนการนี้แล้ว เด็กจะอยู่ในสังคมต่อไปได้ เทศบาลนครขอนแก่นวางระบบปฏิรูปการศึกษาใหม่และใช้คําว่า แม่แบบการจัดการหรือพิมพ์เขียว (blueprint) ทางการศึกษาของเทศบาลนครขอนแก่น โดยมีทั้งสิ้น 4 ข้อ ดังนี้ (1) ต้องมีคุณลักษณะพึงประสงค์ 5+1 ได้แก่ มีวินัย มีความอดทน มีความรับผิดชอบ มีความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความกตัญ�ู และบวกหนึ่งคือ มีสํานึกรักท้องถิ่น กําลังเดินในเส้นทางนี้ 11 โรงเรียนในสังกัดเทศบาล ทุกคนนําแนวความคิดเพื่อปรับและสร้างแนวทางเพื่อผลิตเด็กออกมา ถ้าไม่มีบุคลิกแบบนี้ ก็ยากที่จะเผชิญโลกกว้างได้ เด็กรุ่นปัจจุบันคือ เจนมี “ยุคตัวกู ของกู” ถ้าเด็ก
  • 8. 4 เป็นแบบนี้ วันข้างหน้าจะเป็นอย่างไร มีการศึกษาเด็กอเมริกันว่า ถ้าบุคลิกเด็กอเมริกันเป็นอย่าง นี้ ธุรกิจอะไรบ้างจะเจ๊งตามมา เด็กอเมริกันเริ่มไม่เข้าห้าง เด็กกลุ่มนี้ช็อปปิ้งผ่านออนไลน์ อีกทั้ง ยังไม่ยอมเชื่อใครง่ายๆ มีความทะนงตัวสูง จึงไม่เชื่อที่ปรึกษา ถ้าวิเคราะห์ดังนี้แนวโน้มในหลาย ประเทศก็จะเป็นเช่นสังคมอเมริกัน ดังนั้นการปลูกฝังสิ่งเหล่านี้แก่เด็ก จะทําให้เด็กเหล่านี้มี พื้นฐานที่จะเผชิญโลกกว้างต่อไป (2) มาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลับไปสู่ความเรียบง่ายที่สุด เด็กทุกคนที่จบต้องอ่าน ออกเขียนได้ คิดเลขเป็น และมีทักษะชีวิต หมายความว่าจบไปแล้วคิดเป็น ไม่ใช่จบไปแล้ว สามารถสอบได้ เด็กที่จบไปแล้วต้องเรียนรู้ที่จะคิดเป็น (3) เรียนรู้ภาษาต่างประเทศไม่น้อย 1 ภาษา (4) รู้เท่าทันเทคโนโลยี แม่แบบการจัดการหรือพิมพ์เขียว (Blueprint) ทางการศึกษาของเทศบาลนครขอนแก่นคือ การ สร้างเด็กรุ่นใหม่ แล้วนําไปแก้ไขปัญหาประเทศที่ยั่งยืนที่สุด คนเหล่านี้จะแก้ไขปัญหาได้ ทั้งแก้ไขปัญหา มลพิษและมลภาวะ แก้ไขปัญหาโลว์คาร์บอนได้จริง ที่มี 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ สังคมแห่งต้นไม้ สังคมไร้ มลพิษ สังคมพิชิตพลังงาน และบริโภคอย่างยั่งยืน ซึ่งเปลี่ยนมาสร้างคนรุ่นใหม่หัวใจสีเขียว การทํางาน ของการเทศบาลฯจะเน้นการปลูกฝังคนรุ่นใหม่เพื่อโลกยุคหน้า ซึ่งต้องกลับไปแก้ที่พื้นฐาน โดยสรุปก็คือ ปัญหาแต่ละด้าน ก็จะมีการแก้ไขปัญหาเฉพาะด้าน เช่น ปัญหาสาธารณสุข ปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน และ ปัญหาสังคมเป็นอย่างไร แม้แต่ปัญหาของเยาวชนในเมือง ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มเด็กแว้น เด็กสก๊อย ซึ่งมีจํานวนมาก ขอนแก่นมีแก๊งมังกรดํา แก๊งโลงแตก ฯลฯ สําหรับแก๊งที่ใหญ่ที่สุดคือ แก๊งมังกรดํา มีสมาชิกนับพันคน ก่อนนี้คนส่วนใหญ่เห็นว่าเด็กกลุ่มนี้สร้างปัญหาให้กับเมือง แต่เทศบาลนครขอนแก่นโชคดี เพราะมี เจ้าหน้าที่เป็นจิตอาสา คล้ายกลุ่มทํางานลักษณะเอ็นจีโอ โดยเริ่มต้นจากการศึกษานอกระบบ เช่น พยายามสืบหาเด็ก เข้าถึงเด็กด้วย “นวัตกรรมเนื้อย่าง” โดยเน้นเด็กกินเนื้อย่างเกือบทุกวัน จนกระทั่งเด็ก ไว้วางใจ แล้วสุดท้ายเจ้าหน้าที่ของเทศบาลอยากขอพบกับรุ่นพี่ เด็กจึงติดต่อให้พบกับ “พี่เปี๊ยก” โดยทั่วไปจะเข้าถึง “พี่เปี๊ยก” ค่อนข้างยากลําบาก ถ้าจะพบต้องนัดหนึ่งต่อหนึ่ง พี่เปี๊ยกคือหัวหน้า แก๊งมังกรดํา ซึ่งพื้นเพไม่ใช่คนขอนแก่น แต่อยู่ในจังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน เขาได้สร้างฐานอยู่ที่ขอนแก่น การเข้าถึงตัวพี่เปี๊ยกได้ ก็จะส่งผลให้เทศบาลนครขอนแก่นนําโครงการดีๆมาร่วมได้ ดึงเด็กมาร่วมได้ เช่น การปลูกผักปลอดสารพิษ ร้านขายนม เด็กกลุ่มนี้มีความรู้พื้นฐานเรื่องซ่อมมอเตอร์ไซค์ ก็เปิดร้านซ่อมให้ จุดที่ทําให้พี่เปี๊ยกหันมาร่วมทํางานด้วยก็คือ ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน วัดใจกันว่าที่ผ่านมาหลอกเขา หรือไม่ ซึ่งทีมงานใช้เวลาพิสูจน์ยาวนาน ปัจจุบันเด็กบางคนสามารถเข้าระบบการศึกษา เช่น เรียนกศน. เด็กบางคนมีอาชีพ พ่อแม่ยอมรับ กลับมาอยู่ในครอบครัว มีอาชีพ มีเงิน เด็กบางคนเทศบาลนคร ขอนแก่นขอนแก่นรับเป็นผู้ช่วยเทศกิจ จากเดิมที่ปฏิเสธสังคมตอนนี้เข้ามาอยู่ในระบบระเบียบ อย่างไรก็ ตาม ก็ยังมีเด็กแว้น สก๊อย แต่ที่เปลี่ยนแปลงไปคือ จํานวนที่ลดลง กล่าวคือในจํานวนสมาชิกแก๊งมังกรดํา ทั้งหมดหนึ่งพันคน เทศบาลนครขอนแก่นดึงมาร่วมโครงการได้สองร้อยคน ซึ่งกําลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  • 9. 5 การแก้ไขปัญหาระยะยาวเมือง สังคม ฯลฯ ต้องแก้ไขปัญหาที่คนก่อน ซึ่งจําเป็นต้องวางรากฐานด้าน การศึกษา ให้ความสําคัญด้านการศึกษาเป็นลําดับแรก 3.2. ภาพฝันของนายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น วิสัยทัศน์ของผู้นําเมืองขอนแก่นประกอบด้วย 2 เรื่อง ได้แก่ 1. ผู้นําที่มีหน้าที่สร้างผู้นํา ซึ่งจะช่วยให้มีคนทํางานเป็นหมู่คณะ ไม่มี super hero มีแต่ super team ถ้าอย่างแรกก็ไม่มีคนทํางานช่วย ไม่มีคนเดินตาม ถ้ามีอย่างหลัง จะมีเครือข่ายทํางานร่วมกันใน การแก้ไขปัญหาภาพรวม 2. การทํางานเป็นทีม เทศบาลนครขอนแก่นมี “ระบบห้องเครื่อง” คือ ทีมรองนายกฯ เลขาฯ ที่ ปรึกษา ประธานสภาฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงผู้เชี่ยวชาญ เพื่อมาพบปะแลกเปลี่ยนพูดคุย แล้วตกผลึกด้าน ความคิด จากนั้นปรับให้เป็นระบบ แผน แล้วนําไปดําเนินการ ซึ่งพบว่า “ระบบห้องเครื่อง” ช่วยขับเคลื่อน ในการทํางานสูงมาก ถือเป็นระบบที่ใช้ในการขับเคลื่อนองค์กร หากเปรียบเทศบาลนครขอนแก่นเป็น เครื่องจักรขนาดใหญ่ ห้องเครื่องนี้ก็จะเป็นกลไกสําคัญที่สุดในการขับเคลื่อน ดังจะเห็นได้ว่านโยบายต่างๆ ออกมาจากห้องเครื่อง โดยสรุปวิสัยทัศน์ของผู้นําเมืองขอนแก่นคือ การสร้างผู้นําให้เก่ง และไม่ควรทํางานเพียงคนเดียว แต่ควรทํางานด้วยเครือข่าย เพื่อให้มีทีมงานช่วยในการดําเนินงาน 4. บทส่งท้าย : คําถามจากผู้เข้าร่วมเวทีเสวนา คําถาม ภายใต้สถานการณ์เมืองใหญ่ที่กําลังเติบโต และอนาคตจะเป็นศูนย์กลางประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ในไม่ช้า พร้อมกันนั้นคนดั้งเดิมก็มีสํานึกรักท้องถิ่น คําถามก็คือทั้งนนทบุรีและขอนแก่นก็ มีเอกลักษณ์เฉพาะตน เมืองใหญ่เหล่านี้จะอนุรักษ์ภาพลักษณ์นี้ไว้อย่างไร คําตอบ : นายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น คุณลักษณะพึงประสงค์ที่ปลูกฝังเด็กรุ่นใหม่คือ กลับไปที่ห้าบวกหนึ่ง (5+1) บวกหนึ่งคือเรื่อง สํานึกรักท้องถิ่น เพื่อนของผมหลายคนเรียนจบ แล้วไปเรียนต่อต่างประเทศสุดท้ายไม่กลับมา หน้าที่ของ เมืองคือสร้างคนเหล่านี้ คือสร้างคนที่มีความรู้ความสามารถ ให้มีความผูกพัน มีสํานึกรักท้องถิ่น แต่ถ้าคน เหล่านี้มีความผูกพัน มีสํานึกรักท้องถิ่น แล้วหากวันใดวันหนึ่งเขาออกไปจากพื้นที่ เพื่อไปแสวงหาในสิ่งที่ เขาต้องการ เขาจะกลับมาพัฒนาบ้านเมือง ประเด็นเรื่องสํานึกรักท้องถิ่นช่วยตอบคําถามนี้ ขอนแก่นเป็นฐานที่มั่นวัฒนธรรมร่วมสมัย การ ออกแบบสถาปัตยกรรมเมืองได้แฝงลีลาของอีสานเข้าไป ไม่ใช่อีสานจ๋า การออกแบบประตูเมือง ออกแบบ เสาไฟสีโห การนําเรื่องสังข์ศิลป์ชัย ซึ่งเป็นนิทานพื้นบ้านของลุ่มแม่นํ้าโขง มาบรรจุในหลักสูตรการเรียน เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็เพื่อสร้างความภาคภูมิใจ ในอดีตคนอีสานเมื่อเข้ากรุงเทพมักไม่กล้า
  • 10. 6 พูดอีสาน เพราะอาย ต่อจากนี้คุณไปไหนจะบอกได้เลยว่าเป็นคนขอนแก่น (ต่างจากสโลแกนขอนแก่น หน้าตาดีทุกคน ) ความจริงต้องภูมิใจในความเป็นคนอีสาน เนื่องจากมีรากเหง้า มีวัฒนธรรม มีความ เป็นมา มีภูมิปัญญา และมากกว่านั้นคือ สิ่งที่เดินหน้าต่อจากนี้ไปคือ การมีทิศทางที่ชัดเจน และมีความ เจริญเติบโตที่รอเราอยู่ ดังนั้นสิ่งที่สร้างเอาไว้คือ ดึงคนที่มีความรู้ความสามารถกลับมาสร้างบ้านแปงเมือง แม้กระทั่งความกตัญ�ู ขณะนี้สิ่งที่ชัดเจนคือ การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ไม่ใช่สิบปีข้างหน้า เพราะขณะนี้ตัวเลขผู้สูงอายุ 14 % ดังนั้นหากสร้างความกตัญ�ูสําเร็จจะช่วยแก้ไขปัญหาของภาครัฐใน ระยะยาวได้