SlideShare a Scribd company logo
Urbanization ของนครนนทบุรี
ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์
ผู้อำนวยกำรศูนย์วิจัยบูรณำกำรภำพพื้นที่และสังคม มหำวิทยำลัยศรีปทุม
ผู้เขียน : ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์
บรรณาธิการบริหาร : นำงสำวยุวดี คำดกำรณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นำงสำวยุวดี คำดกำรณ์ไกล
ผู้ถอดความ : นำงสำวณัฐธิดำ เย็นบำรุง
กองบรรณาธิการ : นำยอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน, นำยฮำกีม ผูหำดำ, นำงสำวณัฐธิดำ เย็นบำรุง, นำยอรุณ สถิตพงศ์สถำพร
ปก : นำยอรุณ สถิตพงศ์สถำพร
รูปเล่ม : นำงสำวณัฐธิดำ เย็นบำรุง
ปีที่เผยแพร่ : ธันวำคม พ.ศ. 2557
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง มหำวิทยำลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญำสำธำรณะ (CPWI) ภำยใต้
แผนงำนนโยบำยสำธำรณะเพื่อกำรพัฒนำอนำคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.)
สารบัญ
ส่วนที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของเมืองในประเทศไทย 1
1. นิยำมควำมเป็นเมือง 1
2. พัฒนำควำมเป็นเมืองในประเทศไทย 2
3. ปัจจัยกำรขยำยตัวของเมือง 3
4. กำรขยำยตัวของกรุงเทพฯ : กำรขยำยตัวของที่อยู่อำศัย 6
ส่วนที่ 2 ความเป็นเมืองนนทบุรีและทิศทางการพัฒนาในอนาคต 10
1. ลักษณะพื้นที่กำรใช้ประโยชน์ของจังหวัดนนทบุรี 10
2. แนวโน้มในอนำคตในของจังหวัดนนทบุรี 11
3. นโยบำยที่อยู่อำศัยในจังหวัดนนทบุรี 14
4. แผนพัฒนำจังหวัดนนทบุรี 15
ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาที่อยู่อาศัยในพื้นที่นาร่อง : ตาบลท่าอิฐ และข้อเสนอการพัฒนาเมือง 16
1. ลักษณะพื้นที่นำร่อง : ตำบลท่ำอิฐ 16
2. กำรจัดทำแผนที่อยู่อำศัยระดับพื้นที่นำร่อง 18
3. ข้อเสนอแนะกำรพัฒนำเมือง 19
1
Urbanization ของนครนนทบุรี
ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์1
ผู้อำนวยกำรศูนย์วิจัยบูรณำกำรภำพพื้นที่และสังคม มหำวิทยำลัยศรีปทุม
เมื่อพูดถึงเรื่องเมือง (City) ของประเทศไทย หลำยคนมักนึกถึงกรุงเทพมหำนคร ที่มีผู้คนอำศัย
อย่ำงหนำแน่น มีระบบคมนำคม สำธำรณูปโภคที่พร้อมทุกด้ำน แต่ปัจจุบันควำมเป็นเมือง (Urbanization)
ไม่ได้กระจุกอยู่เพียงพื้นที่ในกรุงเทพมหำนคร ได้กระจำยตัวออกไปยังพื้นที่ต่ำงๆ ตำมธรรมชำติ นนทบุรี
เป็นพื้นที่ปริมณฑล เป็นหนึ่งจังหวัดที่ได้รับควำมเป็นเมืองที่กระจำยออกมำจำกกรุงเทพฯ จนวันนี้มีควำม
เป็นเมืองใกล้เคียงกับกรุงเทพมหำนครจนแทบไม่สำมำรถแยกออกได้ ทั้งกิจกรรมทำงเศรษฐกิจในด้ำน
กำรเกษตรที่ลดลงจำกเดิมมำก มีประชำกรหนำแน่น และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เป็นที่ตั้งรวมศูนย์รำชกำร ทำ
ให้นนทบุรีกลำยเป็นพื้นที่เมืองที่น่ำสนใจในกำรศึกษำ โดยบทควำมนี้จะนำเสนอให้เห็นภำพควำมเป็นเมือง
นนทบุรี 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 อธิบำยกระบวนกำรกำรพัฒนำควำมเป็นเมือง (Process of urbanisation and
urban sprawl) กำรขยำยตัวที่อยู่อำศัยในประเทศไทย ส่วนที่ 2 อธิบำยควำมเป็นเมืองนนทบุรีและทิศ
ทำงกำรพัฒนำในอนำคต และส่วนที่ 3 คือ กำรพัฒนำพื้นที่นำร่องในจังหวัดนนทบุรี และข้อเสนอในกำร
พัฒนำเมือง
ส่วนที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของเมืองในประเทศไทย (Process of urbanisation and urban sprawl)
1. นิยามความเป็นเมือง (Urban definition)
นิยำมควำมเป็นเมือง (Urban definition) หำกอธิบำยในมุมมองของนักผังเมือง จะมีคำนิยำมที่วัด
เกี่ยวกับควำมเป็นเมือง 3 ส่วน คือ
 นิยามจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ นิยำมควำมเป็นเมืองที่วัดจำกกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ คือ
กำรที่พื้นที่ๆ หนึ่ง มีกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ ที่มีภำคอุตสำหกรรมและกำรบริกำร มำกกว่ำภำค
เกษตร จะถูกนิยำมให้กลำยเป็นเมือง ไม่ว่ำจะเป็น ในด้ำนกำรท่องเที่ยว กำรค้ำ หรือโรงงำน
อุตสำหกรรม
1
ถอดควำมจำกกำรประชุมเวทีวิชำกำร “Urbanization ของนครนนทบุรี ในปัจจุบันและอนาคต” เมื่อวันศุกร์ ที่ 14 ธันวำคม 2557 ณ
อำคำรพร้อมพันธ์ 1 ชั้น 4 ระหว่ำงเวลำ 09.30 – 12.00 น จัดโดยแผนงำนนโยบำยสำธำรณะเพื่อกำรพัฒนำอนำคตของเมือง ภำยใต้ศูนย์
ศึกษำมหำนครและเมือง ร่วมกับมูลนิธิสถำบันสร้ำงสรรค์ปัญญำสำธำรณะ โดยกำรสนับสนุนของสำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริม
สุขภำพ (สสส.)
2
 นิยามตามความหนาแน่นในเมือง ควำมเป็นเมืองมักนิยำมตำมควำมหนำแน่นของ
ประชำกรในพื้นที่ ซึ่งไม่มีกำรกำหนดสัดส่วนที่เป็นมำตรฐำน ขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศจะนิยำม
ควำมหนำแน่นเฉพำะของประเทศนั้น โดยส่วนใหญ่เมืองที่มีควำมหนำแน่นของผู้คนสูง เมือง
นั้นมักจะมีสำธำรณูปโภคที่พร้อม ซึ่งกำรวัดควำมเป็นเมือง ต้องให้ควำมสนใจข้อมูลเกี่ยวกับ
ควำมพร้อมของสำธำรณูปโภคด้วย ไม่ว่ำจะเป็นถนน ไฟฟ้ำ ประปำ หรือบริกำรต่ำงๆ เช่น
ไปรษณีย์ คลินิก โรงเรียน
 นิยามจากเขตปกครอง ซึ่งเป็นเกณฑ์กำรแบ่งที่รัฐบำลได้กำหนดขึ้นตำมกฎหมำย สำหรับ
ประเทศไทย หำกนิยำมควำมเป็นเมืองจำกเขตกำรปกครอง เมือง คือ พื้นที่ในเขตของกรุงเทพฯ
หรืออยู่ในเขตของเทศบำล พื้นที่ชนบทจะอยู่ในเขตกำรปกครองขององค์กำรบริหำรส่วนตำบล
(อบต.)
2. พัฒนาความเป็นเมืองในประเทศไทย
พัฒนำควำมเป็นเมืองในประเทศไทย (ภำพที่ 1) อธิบำยได้ตั้งแต่สมัยรัชกำลที่ 5 มีกำรล่ำ
อำณำนิคมของต่ำงชำติ ที่มักใช้ข้ออ้ำงควำมล้ำหลังของประเทศในกำรครอบงำชำติเล็กๆ รัชกำลที่ 5
จึงต้องใช้กลยุทธ์กำรนำประเทศไทยเข้ำสู่ควำมทันสมัย (Modernization) ทุกด้ำน เพื่อหลีกเลี่ยงกำรถูก
ล่ำอำณำนิคมของต่ำงชำติ ปรับประเทศไทยให้ระบบสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำนที่ดีมำกขึ้น มีไฟฟ้ำ
น้ำประปำ มีกำรขุดคลอง มีระบบชลประทำน มีระบบกำรคมนำคม สร้ำงรถไฟขึ้นครั้งแรก เพื่อกำร
ขนส่งสินค้ำ และเพื่อกำรเกษตร เริ่มจัดสรรพื้นที่ทำกำรเกษตร มีกำรทำอุตสำหกรรมมำก มีกำรติดต่อ
กำรค้ำระหว่ำงประเทศ เริ่มมีกำรลงทุนมำกขึ้น แต่เนื่องจำกขณะนั้นประเทศไทยใช้ระบอบสมบูรณำญำ
สิทธิรำช (Absolute monarchy) ผู้ลงทุนจึงเป็นเจ้ำพระยำจำกหัวเมืองต่ำงๆ ทำให้เกิดกำรกระจำยกำร
ลงทุนไปยังพื้นที่ต่ำงๆ ในประเทศไทยมำกขึ้น
เมื่อมีกำรเปลี่ยนกำรปกครองจำกระบอบสมบูรณำสิทธิรำช เป็นระบอบประชำธิปไตย ในสมัย
รัชกำลที่ 7 ทำให้ไทยมีรัฐบำลประชำธิปไตย มีลักษณะกำรพัฒนำสู่ควำมทันสมัยมำกยิ่งขึ้นจำกเดิม
เกิดกำรพัฒนำอุตสำหกรรม ช่วงนั้นเป็นอุตสำหกรรมลักษณะของกำรรับจ้ำงผลิต มีลักษณะกำรผลิตที่
ใช้เทคโนโลยีไม่สูงมำก เช่น กำรผลิตชิ้นส่วนของตะปู น็อต หรือแปรรูปสีข้ำว คล้ำยเวียดนำม และ
กัมพูชำ ทำให้เกิดลักษณะของกลไกกำรค้ำขึ้น มีกำรลงทุนโครงสร้ำงพื้นฐำนและกำรคมนำคมมำกขึ้น
ต่อเนื่องอย่ำงจำกสมัยรัชกำลที่ 5 เมื่อมองในเชิงพื้นที่ จะเห็นว่ำสมัยก่อน บริเวณพื้นที่ที่มีควำมเป็น
เมือง มีเพียงกรุงเทพชั้นใน อย่ำงเกำะรัตนโกสินทร์ เมื่อมีกำรขยำยคลองชลประทำน และระบบ
คมนำคมมำกขึ้น ทำให้พื้นที่ทำงตะวันออกของกรุงเทพฯ เช่น บำงกะปิ มีนบุรี แต่เดิมที่เคยเป็นป่ำ เริ่ม
มีกำรเปลี่ยนกำรใช้ประโยชน์ของที่ดิน มำสู่กำรใช้พื้นที่เพื่อกำรเกษตรมำกขึ้น
ควำมเป็นเมืองในประเทศไทยยิ่งขยำยตัวเพิ่มมำกขึ้น โดยเฉพำะในเมืองหลวงอย่ำงกรุงเทพฯ
เมื่อสำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ได้กำหนดแผนพัฒนำเศรษฐกิจ
3
สังคมและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2504 ในช่วงที่ได้เกิดระบบกำรค้ำระดับสำกล (International
trade) ขึ้น ที่กำหนดให้กิจกรรมที่มีกำรซื้อขำยแลกเปลี่ยน (Exchange) สินค้ำและบริกำรระหว่ำง
ประเทศขึ้น ทำให้ประเทศไทยต้องผลักดันตัวเองเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก โดนทิศทำงของแผนพัฒนำ
เศรษฐกิจสังคมและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 1 และ 2 เน้นกำรกระจำยเมือง กำรสร้ำงเมืองชั้นรอง มีกำร
ตั้งเมืองอย่ำงขอนแก่น สงขลำ เชียงใหม่ เป็นศูนย์กลำงภูมิภำค มีกำรลงทุนโครงกำรสร้ำงพื้นฐำน
ภำครัฐมำกขึ้น ส่งเสริมภำคอุตสำหกรรม ให้มีกำรผลิตมำกขึ้น เกิดโรงงำนมำกขึ้น ทำให้ประเทศไทย
จำกเดิมที่มีภำคเกษตรกรรม ร้อยละ 90 ของ GDP ประเทศ เริ่มลดลง
2.1.กรุงเทพฯ : เมืองโตเดี่ยว (Primate city)
ในขณะที่รัฐส่งเสริมพัฒนำด้ำนอุตสำหกรรม ให้กระจำยในเมือง แต่ละเลยกำรพัฒนำพื้นที่ใน
ชนบท ไม่มีกำรส่งเสริมกำรพัฒนำ และกำรจ้ำงงำนในภูมิภำค อีกทั้งอำนำจกำรปกครองของประเทศ
ไทยมีลักษณะแบบรวมศูนย์ ทำให้อำนำจกำรบริหำรเมืองทั้งหมดอยู่ที่ส่วนกลำง ทำให้กำรกระจำย
อำนำจกำรบริหำรไปยังพื้นที่ต่ำงๆ เป็นไปได้ค่อนข้ำงยำก ส่งผลต่อกำรพัฒนำของแต่ละพื้นจึงมีควำม
แตกต่ำงกัน พื้นที่ในเมืองมีสำธำรณปูโภคที่ดี มีระบบคมนำคมที่สะดวกสบำย มีโรงงำนอุตสำหกรรม
เกิดกำรจ้ำงงำนเพิ่มมำกขึ้น ซึ่งแตกต่ำงจำกพื้นที่ชนบท ด้วยเหตุนี้ทำให้กรุงเทพฯมีลักษณะของกำร
เติบโตของเมืองแบบ เมืองโตเดี่ยว (Primate city) คือ ลักษณะของเมืองที่มีขนำดใหญ่อย่ำงมำก มี
ขนำดใหญ่ห่ำงจำกเมืองที่ใหญ่รองลงมำอย่ำงลิบลับ เป็นกำรเติบโตแต่เพียงเมืองเดียวล้ำหน้ำเมืองอื่นๆ
ควำมแตกต่ำงของกำรพัฒนำระหว่ำงเมืองกับชนบท ทำให้ประชำกรจำกชนบทหลั่งไหล ย้ำย
ถิ่นฐำนเข้ำมำแสวงหำควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจเมือง เพรำะเห็นว่ำรำยได้จำกกำรทำงำนในเมืองอำจ
ภำพที่ 1 กระบวนกำรขยำยตัวของควำมเป็นเมือง
4
ดีกว่ำพื้นที่ในชนบท ยิ่งทำให้กรุงเทพฯ มีกำรเติบโตของเมืองอย่ำงรวดเร็ว เมื่อเทียบสัดส่วนกำรเติบโต
ของประชำกรของกรุงเทพฯ กับเมืองอันดับ 2 อย่ำงเชียงใหม่ พบว่ำกรุงเทพมีสัดส่วนกำรเติบโตของ
ประชำกรมำกกว่ำเชียงใหม่ถึง 20 เท่ำ
ในขณะที่มีกำรพัฒนำส่งเสริมเศรษฐกิจเมือง มีกำรลงทุน เกิดอุตสำหกรรม มีโรงงำนมำกมำย
มีกำรเติบโตของเมืองอย่ำงไม่หยุดหย่อน แต่ในช่วงนั้นรัฐบำลไม่ให้ให้ควำมสำคัญในเรื่องของกำรตั้งถิ่น
ฐำน ให้ควำมสำคัญแต่กำรส่งเสริมอุตสำหกรรมให้เกิดขึ้นมำกที่สุด แต่ไม่ได้มีแผนในกำรจัดพื้นที่รอบ
อุตสำหกรรมให้มีที่อยู่อำศัยรองรับกำรหลั่งไหลของประชำกรจำกชนบท ซึ่งปัจจุบันกำรพัฒนำ
อุตสำหกรรมที่พม่ำกำลังเผชิญกับปัญหำนี้เช่นเดียวกันกับประเทศไทย ทำให้เกิดกำรเจริญเติบโตของ
เมืองอุตสำหกรรม เป็นไปอย่ำงไร้ทิศทำง ทำให้พื้นที่บริเวณรอบอุตสำหกรรมเกิดสลัม อย่ำงท่ำเรือ
คลองเตย เกิดกำรตั้งถิ่นฐำน (Settlement) บริเวณนั้นจำนวนมำก เป็นตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัดจำกกำรไม่มี
แผนกำรจัดพื้นที่ที่เป็นผลพวงจำกกำรพัฒนำเมือง
นอกจำกนี้ หลังจำกเกิดกำรปฏิรูปที่ดิน ทำให้ที่ดินสมัยที่เป็นของขุนนำงในสมัยก่อน เปลี่ยนมือ
เป็นที่ดินของเอกชนมำกขึ้น เกิดระบบโฉลดที่ดิน ยิ่งมีกำรขยำยตัวของเมืองกระจำยออกไป ผู้คนได้บุก
รุกพื้นที่ต่ำงๆ มำกขึ้น ทำให้พื้นที่ปริมณฑลซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรมกลำยเป็นพื้นที่ของเอกชนเกือบ
ทั้งหมด ในขณะเดียวกันรัฐก็ไม่อำจลงทุนโครงสร้ำงพื้นฐำนอย่ำงรวดเร็วได้ เนื่องจำกกำรเก็บภำษี
ต่ำงๆ ยังไม่เข้ำรูปเข้ำรอยนัก เกิดเป็นที่ดินตำบอด2 ขึ้นจำนวนมำก
3. ปัจจัยการขยายตัวของเมือง (The causes of urban sprawl)
กำรเร่งพัฒนำเมือง โดยกระจุกกำรพัฒนำอยู่เพียงแค่พื้นที่ในเมืองหลวง ทำให้ทรัพยำกรด้ำน
เศรษฐกิจ อำนำจกำรปกครอง และกำรพัฒนำทุกด้ำน ไม่ว่ำจะเป็นกำรสำธำรณสุข กำรศึกษำ ช่อง
ทำงกำรมีชีวิตที่ดี รวมอยู่ที่เดียวทั้งหมด เป็นแรงจูงใจที่ทำให้เกิดกำรอพยพย้ำยถิ่นฐำนของประชำกร
ชนบทย้ำยเข้ำมำสู่เมืองจำนวนมำก อีกทั้งกำรพัฒนำเมืองโดยไม่วำงแผนรองรับกำรขยำยตัวของเมือง
ทำให้เมืองเกิดกำรขยำยตัวอย่ำงไร้ทิศทำง โดยสำมำรถสรุปปัจจัยกำรขยำยตัวของเมืองอย่ำงไร้
ทิศทำง (Urban sprawl) ได้ 3 ปัจจัย (ภำพที่ 2) ดังนี้
 การเก็งกาไรจากที่ดิน (Land speculation) กำรขยำยตัวของเมืองที่ไม่มีทิศทำง ส่วนหนึ่งเป็น
กำรไม่มีแผนจัดกำรกำรขยำยตัวของเมือง โดยเฉพำะกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน ทำให้ที่ดินสำมำรถ
เปลี่ยนมือของเจ้ำของที่ดินกลำยเป็นของเอกชนได้ง่ำยดำย จำกนั้นเอกชนเจ้ำของที่เปลี่ยนกำรใช้
ประโยชน์ทีดิน จำกพื้นทีป่ำเป็นพื้นที่เกษตร เปลี่ยนพื้นที่เกษตรเป็นพื้นที่อยู่อำศัย เปลี่ยนพื้นที่ที่
อยู่อำศัยเป็นพื้นที่อำศัยหนำแน่นสูง และพำณิชกรรมตำมลำดับ โดยเฉพำะพื้นที่ของปริมณฑล ซึ่ง
รัฐไม่มีนโยบำยเกี่ยวกับกำรใช้ที่ดิน ไม่มีกำรวำงแผน ไม่มีผังเมืองมำก่อน โดยผังเมืองของ
2
ที่ดินตำบอด คือ ที่ดินที่ไม่มีทำงออกสู่ทำงสำธำรณะ โดยต้องเดินทำงเข้ำออกผ่ำนที่ดินของผู้อื่น ทำให้เจ้ำของที่ดินไม่สำมำรถใช้ที่ดินตนเอง
ทำประโยชน์ได้เต็มที่
5
เมืองไทยเป็นผังเมืองที่อธิบำยถึงปัจจุบัน แต่ไม่ใช่ผังเมืองที่อธิบำยถึงอนำคตของพื้นที่ เป็นผลทำ
ให้เกิดกำรขยำยของเมือง เมื่อเอกชนไปซื้อที่จำกชำวบ้ำนมำกขึ้น ในรำคำถูก เปลี่ยนกำรใช้
ประโยชน์ ทำให้ภำครัฐต้องจำใจลงทุนสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำน ไปยังพื้นที่บริเวณนั้น โดยไม่มี
โอกำสได้กำหนดกำรพัฒนำ นั่นหมำยควำมว่ำทุนเป็นตัวกำหนดกำรพัฒนำของรัฐ เป็นผลทำให้
เมืองเกิดกำรขยำยตัวโดยไม่มีแผนรองรับใดๆ ทั้งสิ้น เพรำะพัฒนำไปตำมทุนของเอกชน
 การพัฒนาที่ไม่สมดุลของเมืองและชนบท (Urban-rural economic disparity) รัฐส่งเสริม
เมืองมำกกว่ำชนบท กำรลงทุนภำคอุตสำหกรรม มำกกว่ำภำคเกษตรกรรม โดยเฉพำะพื้นที่ใน
เมือง กลำยเป็นจุดศูนย์รวมควำมสะดวกสบำยต่ำงๆ ซึ่งเป็นผลทำให้เกิดกำรเพิ่มขึ้นของประชำกร
สูงขึ้นมำก เมื่อประชำกรหลั่งไหลเข้ำมำกระจุกตัวในพื้นที่หนึ่งมำกๆ ก็เกิดกำรขยำยตัวของเมือง
ไปตำมพื้นที่ต่ำงๆ เมืองจึงกระจำยมีกำรขยำยตัวออกไป
 ข้อจากัดในการกระจายอานาจ (Limit of decentralization) ระบบกำรปกครองของประเทศ
ไทยแบบรวมศูนย์ ทำให้อำนำจกำรปกครองทุกอย่ำงอยู่ที่ส่วนกลำง โดยมีข้อจำกัดในกำรกระจำย
อำนำจ ทำให้ท้องถิ่นและภูมิภำคเกิดข้อจำกัดในกำรพัฒนำท้องถิ่นของตนเอง ปัจจุบันท้องถิ่นจะ
ได้รับงบประมำณเพียง 20 เปอร์เซ็นต์ของงบรำชกำรทั้งหมด ทำให้ขำดงบประมำณในกำรพัฒนำ
เมื่อมีกำรกระจำยอำนำจ ก็เกิดควำมไม่ไว้ใจในท้องถิ่น ทำให้เกิดสภำวะที่ไม่สำมำรถเลือกอะไรได้
(dilemma) คงสภำพของปัญหำกำรกระจำยอำนำจสู่ท้องถิ่น มำกว่ำ 40 ปี ตั้งแต่เปลี่ยนเป็น
ประชำธิปไตย
ภำพที่ 2 ปัจจัยกำรขยำยตัวของเมือง
6
4. การขยายตัวของกรุงเทพฯ : การขยายตัวของที่อยู่อาศัย
เนื่องจำกพื้นที่ของที่อยู่อำศัย เป็นภำค (Sector) ที่ขยำยตัวมำกที่สุดในจังหวัดนนทบุรี อีกทั้ง
วิสัยทัศน์และนโยบำยของจังหวัดนนทบุรีจะเน้นเกี่ยวกับนโยบำยที่อยู่อำศัยชั้นดี จึงต้องอธิบำยกำร
ขยำยตัวควำมเป็นเมืองของกรุงเทพมหำนครโดยเฉพำะเรื่องที่อยู่อำศัย ที่มีควำมหนำแน่นจนกระจำย
ตัวออกไปจังหวัดนนทบุรี
กำรขยำยตัวของกรุงเทพฯ ในช่วง 100 กว่ำปีที่ผ่ำนมำตั้งแต่ปี ค.ศ. 1850 – 2002 (ภำพที่ 3)
ขยำยตัวอย่ำงมำก จำกกำรส่งเสริมด้ำนอุตสำหกรรม กำรพัฒนำในด้ำนต่ำงๆ ยิ่งในช่วงหลังปี ค.ศ.
1980 เกิดกำรขยำยตัวของเมืองอย่ำงรวดเร็ว โดยเฉพำะกำรขยำยตัวของที่อยู่อำศัย เป็นประเด็นที่
น่ำสนใจในกำรขยำยตัวของกรุงเทพฯ เนื่องจำกที่อยู่อำศัยเป็นส่วนพื้นที่ที่กินพื้นที่ของเมืองมำกที่สุด
คือประมำณ 75 – 80 เปอร์เซ็นต์ เป็นที่อยู่อำศัยของประชำชน ไม่ว่ำจะเป็นอำคำรต่ำงๆ แฟลต
โครงกำรหมู่บ้ำนจัดสรร ทำวน์โฮม ทำวเฮำท์
ในช่วงก่อนปี 1980 กำรขยำยตัวของเมืองไม่ได้เกิดอย่ำงรวดเร็ว โดยเฉพำะที่อยู่อำศัย เพรำะ
เอกชนกว่ำจะมีเงินจำนวนหนึ่ง ซื้อที่ดิน สร้ำงตึกแถว หรือสร้ำงบ้ำนของตัวเองต้องใช้เวลำนำน
พอสมควร แต่หลังปี ค.ศ. 1980 เกิดกำรขำดแคลนที่อยู่อำศัยอย่ำงรุนแรง เนื่องจำก รัฐส่งเสริม
อุตสำหกรรม มีกำรลงทุนเศรษฐกิจอย่ำงหนำแน่นมำก แต่ไม่มีระบบของกำรรองรับเรื่องที่อยู่อำศัย ไม่
มีนโยบำยด้ำนที่อยู่อำศัย และเนื่องจำกเกิดกำรขำดแคลนที่อยู่อำศัยมำกขึ้น ทำให้สำนักงำน
คณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ หรือเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่ำ สภำพัฒน์ฯ เห็น
ถึงปัญหำ จึงก่อตั้งกำรเคหะแห่งชำติขึ้นมำ เพื่อจัดกำรดูแลเรื่องที่อยู่อำศัยในเมือง ในตอนแรกมีกำร
จัดกำรในลักษณะรัฐสวัสดิกำร คือสร้ำงบ้ำนให้อยู่ แต่ระยะหลังโครงกำรไม่สำมำรถดำเนินกำรต่อได้
ภำพที่ 3 กำรขยำยตัวของกรุงเทพมหำนคร ปี ค.ศ. 1850 – 2002
7
เนื่องจำกมีภำระค่ำใช้จ่ำยที่สูงมำก ระยะหลังกำรเคหะแห่งชำติ ร่วมกับ องค์กำรสหประชำชำติ (UN)
และธนำคำรโลก (World bank) ที่สนับสนุนงบประมำณ จำกนโยบำยโลกเรื่องโครงกำรที่อยู่อำศัย
สงเครำะห์ ส่งเสริมให้เกิดกำรตั้งถิ่นฐำนอย่ำงเหมำะสม เพื่อแก้ไขปัญหำที่อยู่อำศัยในประเทศไทย ทำ
ให้เกิดโครงกำรที่อยู่อำศัยรำคำถูก (Affordable housing) (ภำพที่ 4) เป็นกำรเคหะชุมชน ให้คนที่มี
รำยได้น้อยได้เช่ำที่อยู่อำศัยรำคำถูก หำกมีรำยได้ที่สูงขึ้นต้องย้ำยออก
ตำมหลักของโครงกำรที่อยู่อำศัยรำคำถูก (Affordable housing) คือให้คนที่มีรำยได้น้อยได้เช่ำ
ที่อยู่อำศัยในรำคำถูก เมื่อมีรำยได้ที่สูงขึ้นต้องย้ำยออก แต่ในทำงปฏิบัติมีปัญหำอยู่มำก เพรำะไม่
สำมำรถเปลี่ยนมือผู้เช่ำได้ ซึ่งตำมเจตจำนงของกำรเคหะชุมชนต้องกำรให้ผู้ที่มีรำยได้น้อยได้มีที่อยู่
อำศัย แต่ผู้มีรำยได้น้อยไม่ได้หมำยควำมว่ำเขำจะต้องมีรำยได้น้อยตลอดไป หำกในอนำคตมีรำยได้ที่
มำกขึ้น ควรต้องย้ำยออกไป แต่ปัจจุบันผู้เช่ำยังคงเป็นรำยเดิม แม้มีรำยได้เพิ่มสูงขึ้น ส่วนหนึ่งเป็น
เพรำะกฎหมำยของไทยไม่สำมำรถบังคับใช้ได้อย่ำงจริงจัง อีกทั้งไม่มีกำหนดในกำรเช่ำ ไม่เหมือนที่
ต่ำงประเทศอย่ำงมำเลเซีย ที่มีกำหนดในกำรเช่ำ 5 ปี หำกครบกำหนดแล้วต้องย้ำยออกไป
ภำพที่ 4 พัฒนำกำรนโยบำยที่อยู่อำศัยในประเทศไทย
8
4.1.ปัจจัยการขยายตัวที่อยู่อาศัย : ส่งเสริมเอกชนลงทุนที่อยู่อาศัย
ปัจจัยกำรขยำยตัวของที่อยู่อำศัยที่สำคัญ คือ กำรส่งเสริมให้เอกชนลงทุนด้ำนที่อยู่อำศัย
สำหรับภำคเอกชนในกำรลงทุนเรื่องที่อยู่อำศัย ในช่วงแรกเป็นช่วงเริ่มสะสมเงินเพื่อซื้อที่ดิน ยังไม่เกิด
โครงกำรบ้ำนจัดสรรทำที่อยู่อำศัย แต่จะลงทุนทำตึกแถวเล็กๆ ขนำด 3 – 4 ห้อง เป็นส่วนใหญ่ ในช่วง
ปี ค.ศ. 1980 เป็นช่วงที่เศรษฐกิจดีมำก เพรำะรัฐส่งเสริมภำคเศรษฐกิจมำก มำถึงช่วงที่พลเอกชำติ
ชำย ชุนหะวัน นำยกรัฐมนตรี ในสมัยนั้นที่มีนโยบำยเปลี่ยนสนำมรบให้เป็นสนำมกำรค้ำ เพดำน
กลไกกำรเปิดเมืองได้เปิดกว้ำงมำกขึ้น มีนโยบำยส่งเสริมบทบำทให้ภำคเอกชนจัดกำรเรื่องที่อยู่อำศัย
มำกขึ้น เช่น กำรให้ธนำคำรสำมำรถปล่อยกู้ให้กับเอกชนในกำรลงทุนทำที่อยู่อำศัย ซึ่งเมื่อก่อน
ธนำคำรจะปล่อยให้เอกชนกู้เงินเฉพำะกำรลงทุนด้ำนอุตสำหกรรม ทำให้ภำคเอกชนมำลงทุนทำที่อยู่
อำศัยมำกขึ้น เกิดกำรซื้อขำยที่ดิน เอกชนซื้อที่ดินที่ทำกำรเกษตรจำกชำวบ้ำน ทำให้เกิด
เปลี่ยนแปลงที่ดินในยุคปี ค.ศ. 1980 และเกิดกำรขยำยตัวของเมืองอย่ำงรวดเร็ว ช่วงนั้นจึงเกิด
โครงกำรหมู่บ้ำนจัดสรรขึ้น เช่น หมู่บ้ำนสัมมำกร พฤกษชำติ วิบูลย์เวช เป็นต้น ทำให้พื้นที่ทำงทิศ
เหนือ ทิศตะวันออกของกรุงเทพฯ เปลี่ยนเป็นที่อยู่อำศัยมำกขึ้น
นโยบำยส่งเสริมให้ภำคเอกชนสำมำรถลงทุนด้ำนที่อยู่อำศัย ทำให้เกิดที่อยู่อำศัยเพิ่มขึ้นมำก
เป็นผลดีทำให้มีที่อยู่อำศัยรองรับกำรหลั่งไหลของคนจำกชนบทได้ คนบำงส่วนสำมำรถซื้อที่อยู่อำศัย
โดยกำรผ่อนชำระ 20 ปีได้ ทำให้คนชั้นกลำงสำมำรถซื้อบ้ำน และชนชั้นแรงงำนที่ต้องเช่ำบ้ำนตลอด
สำมำรถผ่อนซื้อบ้ำนได้ ยิ่งทำให้เกิดกำรขยำยตัวของเมืองและประชำกรมำกยิ่งขึ้น จำกสมัยก่อน
ประมำณปี ค.ศ. 1950 กรุงเทพฯ จะมีประชำกรประมำณ 2 ล้ำนกว่ำคน ปัจจุบันหำกรวมกับปริมณฑล
แล้ว มีประชำกรประมำณ 12 ล้ำนคน ซึ่งไม่ได้เกิดจำกปัจจัยที่มีอัตรำกำรเกิดมำกกว่ำอัตรำกำรตำย
อย่ำงแน่นอน แต่เกิดจำกปัจจัยกำรย้ำยถิ่นฐำนเข้ำมำในเมือง
ในขณะเดียวกันนโยบำยส่งเสริมให้ภำคเอกชนลงทุนด้ำนที่อยู่อำศัย ได้เกิดผลเสียตำมมำ คือ
เอกชนเกิดกำรกว้ำนซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไร (Speculate) สำมำรถซื้อที่ดินทิ้งไว้ โดยรอสำธำรณูปโภคขั้น
พื้นฐำนจำกรัฐ ทำให้รำคำที่ดินสูงขึ้นมำก เป็นกำรลงทุนที่มีควำมน่ำสนใจอย่ำงยิ่งสำหรับเอกชน เพรำะ
ได้เงินทุนกลับมำ (Capital gain) ที่ดีมำก เพรำะเมื่อลงทุนซื้อที่ดินไว้ เมื่อเกิดกำรสร้ำงสำธำรณูปโภค
ขั้นพื้นฐำน จะทำให้รำคำที่ดินเพิ่มขึ้นกว่ำ 15 เท่ำ ที่ดินหลำยร้อยไร่ จึงถูกเปลี่ยนมำยังภำคกำรลงทุน
ที่สำคัญเรำส่งเสริมนโยบำยที่อยู่อำศัย แต่ไม่มีระบบกำรเก็บภำษีที่ดิน (Land tax) ที่มี
ประสิทธิภำพ และไม่มีกลไกกำรควบคุมกำรซื้อที่ดิน ทำให้เอกชนสำมำรถเป็นเจ้ำของที่ดินไม่จำกัดเป็น
หมื่นไร่ได้ ทำให้เกิดควำมยำกลำบำก หำกรัฐต้องกำรจัดรูปที่ดิน (Land Re-adjustment) เพื่อ
ประโยชน์สำธำรณะอื่นๆ เพรำะที่ดินอยู่ในกรรมสิทธิ์ของเอกชน ซึ่งขึ้นอยู่กับเอกชนในกำรจัดกำรที่ดิน
บำงคนอำจต้องกำรเก็บไว้ บำงคนต้องกำรขำย ซึ่งทำให้กำรจัดรูปที่ดินของรัฐทำได้ยำกมำก ไม่
สำมำรถดำเนินกำรสร้ำงโครงสร้ำงพื้นฐำน หรือแก้ปัญหำที่ดินตำบอดได้ กำรเกิดปัญหำเช่นนี้ส่วนหนึ่ง
เป็นเพรำะกฎหมำย หรือกลไกต่ำงๆ ในไทยค่อนข้ำงเอื้อควำมเป็นเสรีนิยมสูง เปิดช่องให้ควำมเป็น
9
ปัจเจก (Individualism) มีมำกกว่ำทำงสังคม (Communalism) ซึ่งทำให้สิทธิ์ในที่ดินของปัจเจก
(Individualism) รวมกับกำรนำมำใช้ให้เกิดประโยชน์ (Capitalize) ทำให้รัฐแก้ปัญหำกำรพัฒนำเมืองได้
ยำกยิ่ง
4.2.ปัจจัยการขยายตัวที่อยู่อาศัย : ผังเมืองไทย
ในช่วง ปี ค.ศ. 1980 รัฐเปิดโอกำสให้ภำคเอกชนลงทุนทำเรื่องที่อยู่อำศัย ทำให้เกิดกำร
ขยำยตัวของที่อยู่อำศัยเพิ่มมำกขึ้น และประกอบกับอีกปัจจัยหนึ่งคือ ประเทศไทยยังคงใช้ผังเมืองที่
เป็นควำมรู้ชุดเก่ำอยู่ เป็นลักษณะผังเมืองแบบ Spatial planning คือ กำรใช้ประโยชน์ของที่ดินที่ไม่ได้
มองควำมสัมพันธ์ของกำยภำพ ระบบกำรเมือง สังคม เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นแผนผัง (Planning) ที่ใช้ตำม
ของต่ำงชำติ แต่ต่ำงชำติได้พัฒนำควำมรู้แผนผังไปมำกแล้ว แต่ไทยยังคงใช้ควำมรู้แผนผังแบบนี้อยู่
อย่ำงกรณีที่เกิดกับย่ำนแจ้งวัฒนะ มีคอนโดมิเนียมเกิดขึ้นมำกมำย มีศูนย์รำชกำร เกิดรถติด ถ้ำมอง
ในลักษณะของนักผังเมือง คือ กฎหมำยไม่ได้มองเป็นลักษณะของภำพรวม แต่มองแบบเป็นส่วน
(Sectoral) เช่น กฎหมำยอำคำร กำหนดถึงจำนวนที่จอดรถของอำคำรคอนโดมิเนียม จริงๆ แล้ว
กฎหมำยต้องมองเรื่องควำมสำมำรถ (Capacity) ของถนนเส้นนี้ด้วยว่ำสำมำรถรองรับรถได้จำนวน
เท่ำใด เมื่อกฎหมำยไม่ได้วิเครำะห์เรื่องควำมสำมำรถของถนนในกำรรองรับรถ จึงเกิดกำรอนุมัติกำร
สร้ำงที่อยู่อำศัยโดยเกินกำลังของโครงสร้ำงพื้นฐำนที่รับได้
ประเด็นส่วนหนึ่งเกิดจำกเรื่องของผังเมือง คือไทยมีผังเมืองรวม (Comprehensive plan) มี
ลักษณะครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด แต่ไม่มีกำรทำผังเมืองเฉพำะ (Specific plan) ซึ่งระบบผังเมืองควรเป็น
ผังเมืองเฉพำะ (Specific plan) ประเมินในแต่ละเขตถึงควำมสัมพันธ์ในด้ำนต่ำงๆ โดยเฉพำะ
ควำมสำมำรถของโครงสร้ำงพื้นฐำนในกำรรองรับคน เช่น ย่ำนหลักสี่ บำงเขน หำกกฎหมำยให้สำมำรถ
สร้ำงคอนโดได้ แต่ถ้ำทั้ง 30 กิโลเมตรของถนน เป็นคอนโดมิเนียมทั้งหมด ถนนเส้นนี้อำจจะไม่
สำมำรถรองรับจำนวนรถได้ ซึ่งควรมีกำรทำแผนผังเฉพำะ (Specific plan) เพื่อให้มีข้อมูลประเมิน
ควำมสัมพันธ์ในทุกด้ำน แต่ปัจจุบันไม่ได้ทำแผนผังประเมินควำมสำมำรถของพื้นที่ ทำให้สำมำรถสร้ำง
คอนโดได้ตลอดของพื้นที่ เพรำะมีพื้นที่ (Land use) ขนำดใหญ่ กำรขำดกำรทำแผนผังเฉพำะ
(Specific plan) ทำให้มีกำรอนุมัติกำรทำที่อยู่อำศัย ที่มักจะประเมินเป็นโครงกำร เมื่อแต่ละโครงกำร
ผ่ำนกำรอนุมัติ มำอยู่ในพื้นที่เดียวกัน จึงเกิดกำรกระจุกตัวของที่อยู่อำศัย และถนนไม่สำมำรถรองรับ
กำรหลั่งไหล และกำรเดินทำงของผู้คนได้ กลำยเป็นปัญหำควำมสัมพันธ์ที่ไม่สมดุลกันระหว่ำงกำรใช้
ประโยชน์ของพื้นที่ และโครงสร้ำงพื้นฐำนที่ไม่สำมำรถรองรับผู้คนได้
10
ส่วนที่ 2 ความเป็นเมืองของนนทบุรีและทิศทางการพัฒนาในอนาคต
จำกเมืองใหญ่อย่ำงกรุงเทพมหำนคร ที่มีควำมเป็นเมืองแบบโตเดี่ยวของไทย ได้กระจำยขยำยตัว
ควำมเป็นเมือง(Urbanization) ตำมธรรมชำติ เข้ำสู่พื้นที่ปริมณฑลที่ติดกับกรุงเทพมหำนคร โดยเฉพำะ
จังหวัดนนทบุรี ที่รับกำรขยำยตัวควำมเป็นเมืองจำกกรุงเทพมหำนคร ทำให้ปัจจุบันนี้จะสังเกตได้ว่ำจังหวัด
นนทบุรี เป็นจังหวัดที่มีควำมเป็นเมืองใกล้เคียงกับกรุงเทพมหำนครมำก จนไม่สำมำรถแยกได้ว่ำเขตพื้นที่
กรุงเทพกับนนทบุรีมีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงไร เกิดกำรขยำยตัวของที่อยู่อำศัยสูงมำก มีประชำกรอำศัยอยู่
เป็นจำนวนมำก โดยเฉพำะบนถนนแจ้งวัฒนะ ปำกเกร็ด เป็นที่ตั้งของศูนย์รำชกำร หัวข้อนี้จะนำเสนอถึง
ลักษณะของพื้นที่จังหวัดนนทบุรี กำรใช้ประโยชน์ของที่ดิน และแนวโน้มในอนำคตของจังหวัดนนทบุรี กับ
ควำมเป็นเมืองที่กำลังเกิดขึ้น
1. ลักษณะพื้นที่การใช้ประโยชน์ของจังหวัดนนทบุรี
ลักษณะกำรใช้ประโยชน์ของพื้นที่จังหวัดนนทบุรีมีหลำยแบบ ยังคงมีกำรใช้ประโยชน์เป็นที่อยู่
อำศัยหนำแน่น ที่ตั้งของพำณิชย์และกำรบริกำร ศูนย์รำชกำร และยังคงมีพื้นที่เกษตรกรรมอยู่ โดย
สำมำรถแบ่งลักษณะพื้นที่ของจังหวัดนนทบุรี ได้ 3 ส่วนตำมผังเมืองและกำรใช้ประโยชน์ (ภำพที่ 5)
 ส่วนที่ 1 บริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้ำพระยำ บริเวณบำงส่วนของอำเภอเมืองนนทบุรีและ
อำเภอปำกเกร็ด เป็นพื้นที่ที่ต่อจำกกรุงเทพมหำนคร ติดต่อกับทิศเหนือของกรุงเทพฯ คือ แจ้ง
วัฒนะด้ำนบน รัตนำธิเบศร์ ติวำนนท์ แครำย บริเวณส่วนที่ 1 นี้มีควำมเป็นเมือง และมีควำมเจริญ
มำก เหมือนกรุงเทพฯ มีสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำน ถ้ำดูทำงกำยภำพแทบไม่สำมำรถแยกพื้นที่
บริเวณนี้ของนนทบุรีกับกรุงเทพมหำนครได้
 ส่วนที่ 2 บริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้ำพระยำ บริเวณบำงส่วนของอำเภอปำกเกร็ด อำเภอเมือง
นนทบุรี และอำเภอบำงใหญ่ และบริเวณอำเภอบำงบัวทอง พื้นที่บริเวณนี้เริ่มเป็นพื้นที่ที่เปลี่ยน
กำรใช้ประโยชน์ ซึ่งพื้นที่ 95 เปอร์เซ็นต์ของจังหวัดนนทบุรีเป็นของเอกชน จำกเดิมเคยเป็นสวน
ผลไม้ เปลี่ยนกำรใช้ประโยชน์ริมถนนใหญ่ สร้ำงอำคำรพำณิชย์ สำนักงำนใหญ่ คอนโดมิเนียม
พื้นที่ข้ำงใน เนื่องจำกโครงสร้ำงเดิมเป็นพื้นที่เก่ำเป็นพื้นที่สวน แถวบำงบัวทอง มีถนนหลักเพียง
ไม่กี่เส้น คือ กำญจนำภิเษก รำชพฤกษ์ แจ้งวัฒนะ รัตนำธิเบศร์ พื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่เกิดกำร
พัฒนำแบบไร้ทิศทำงอย่ำงสิ้นเชิง มีถนนน้อยมำก ทำให้เกิดเป็นพื้นที่ Super block ขนำดใหญ่
โครงสร้ำงข้ำงใน เป็นถนนเป็นสองเลนเล็กๆ หำกขับรถอยู่ถนน รัตนำธิเบศร์ ถนนยังคงเป็นแปด
เลน แต่หำกขับรถเข้ำถนนในท่ำอิฐ ถนนจะเป็นสองเลนทันที ซึ่งไม่มีระบบกำรจัดถนนที่ดี เพรำะ
เป็นที่เอกชนเกือบทั้งหมด ไม่มีแผนกำรใช้ที่ดิน (Land use) ไม่มีกำรวำงผังเมืองเฉพำะ (Specific
plan) สำมำรถถม เปลี่ยนพื้นที่ท่อระบำยต่ำงๆได้ เกิดกำรถมทำงน้ำ เมื่อเวลำน้ำไหลมำไม่
สำมำรถไหลผ่ำนได้ พื้นที่บริเวณนี้จึงเกิดน้ำเน่ำ น้ำท่วม เป็นต้น ทำให้พื้นที่เกษตรไม่สำมำรถทำ
ประโยชน์ได้ แม้ในแผนกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land use) สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ แต่ใน
11
ควำมเป็นจริงไม่สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เป็นพื้นที่เปล่ำ ได้เปลี่ยนกำรใช้ประโยชน์จำกเกษตร
เป็นพื้นที่เพื่อกำรอยู่อำศัยเกือบทั้งหมดแล้ว
 ส่วนที่ 3 บริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้ำพระยำ บริเวณอำเภอไทรน้อย อำเภอบำงกรวย และ
บำงส่วนของอำเภอบำงใหญ่ พื้นที่บริเวณนี้ยังคงเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เนื่องจำกกำรคมนำคม
และสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำนยังไม่พร้อมมำก
2. แนวโน้มในอนาคตในของจังหวัดนนทบุรี
2.1.แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม-เศรษฐกิจ
 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ผลิตภาพของจังหวัดมีแนวโน้มที่จะเติบโตไปสู่ความเป็นเมือง โดย
มีฐำนทำงเศรษฐกิจที่สำคัญในภำคบริกำร ซึ่งมีดัชนีมวลรวมในสัดส่วนที่สูงขึ้น ในขณะที่ดัชนีมวล
รวมในภำคกำรเกษตรมีแนวโน้มลดลง สำมำรถวิเครำะห์ได้ว่ำ จังหวัดนนทบุรีมีแนวโน้มเข้ำสู่
ควำมเป็นเมืองที่ต้องกำรระบบสำธำรณูปโภค สำธำรณูปกำร และกำรคมนำคมที่มีควำมเพียงพอ
 กิจกรรมทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมมีแนวโน้มลดลง ซึ่งเป็นข้อมูลที่ตรงกับข้อมูลของ
หอกำรค้ำจังหวัด และข้อมูลจำกอุตสำหกรรมจังหวัด ส่วนหนึ่งเพรำะที่ดินมีรำคำแพงขึ้น ทำให้
หลำยโรงงำนปิดตัวลง ส่วนใหญ่จะเป็นอุตสำหกรรมที่ไม่มีมลพิษที่ยังดำเนินต่อได้ และภำค
บริกำรและค้ำปลีกพำณิชย์แนวโน้มสูงขึ้น เป็นผลิตภำพที่สูงของจังหวัดนนทบุรี ในขณะที่
เกษตรกรรมเหลือเพียงไม่ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดนนทบุรี (GPP) ทำให้
ภำพที่ 5 ลักษณะพื้นที่ของจังหวัดนนทบุรี
12
นโยบำยและวิสัยทัศน์ของจังหวัดนนทบุรี จึงไม่ใช่เรื่องของเศรษฐกิจ แต่เป็นนโยบำยเกี่ยวกับ
นโยบำยที่อยู่อำศัยชั้นดี เพรำะที่อยู่อำศัยขยำยตัวในจังหวัดนนทบุรีจำนวนมำก
 ลักษณะโครงสร้างประชากร พบว่าจังหวัดนนทบุรีมีลักษณะพึ่งพิง ในเชิงพื้นที่กับ
กรุงเทพมหานครในฐานะเป็นแหล่งจ้างงาน จังหวัดนนทบุรีมีประชำกรแฝงเพิ่มขึ้น ซึ่งอำจจะ
มำกกว่ำประชำกรในทะเบียนรำษฎร์ ในทะเบียนรำษฎร์มีประชำกรประมำณ 1,400,000 คน หำก
รวมกับประชำกรแฝงจะสูงถึง 2 ล้ำนกว่ำคน และมีแนวโน้มจำนวนประชำกรของจังหวัดเพิ่มสูงขึ้น
อย่ำงต่อเนื่อง ในขณะที่อัตรำกำรเกิดและอัตรำกำรตำยมีควำมเปลี่ยนแปลงน้อย อีกทั้งอำยุเฉลี่ย
ของประชำกรในจังหวัดนนทบุรีกลับมีแนวโน้มลดลง เหล่ำนี้แสดงให้เห็นกำรเปลี่ยนแปลงของ
ประชำกรในจังหวัดที่มำจำกปัจจัยกำรย้ำยถิ่นเป็นสำคัญ หมำยถึงกำรเพิ่มขึ้นมำกของคนในวัย
ทำงำน นอกจำกนี้ประชำกรในจังหวัดนนทบุรีมีลักษณะพึ่งพิงกรุงเทพฯ สูง เพรำะเข้ำมำทำงำน
ในกรุงเทพฯ จำนวนมำก ทำให้มีปริมำณกำรใช้รถเข้ำมำทำงำนในกรุงเทพฯ สูง
2.2.แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นที่อยู่อาศัยและรูปร่างเมือง
 ราคาที่ดินในจังหวัดนนทบุรีมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างมาก เนื่องจำกกำรขยำยตัวของเมืองเพื่อ
กำรอยู่อำศัยที่เกิดขึ้น เพื่อรองรับแหล่งจ้ำงงำนรอบกรุงเทพมหำนคร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งที่ดินตำม
แนวระบบถนนสำยหลักและกำรขนส่งมวลชนสำธำรณะระบบรำง ทำให้รำคำที่ดินเพิ่มสูงขึ้นส่งผล
ต่อรูปร่ำงและควำมหนำแน่นเพื่อให้กลุ่มคนผู้มีรำยได้น้อย-ปำนกลำงสำมำรถเข้ำถึงกำรมีที่อยู่
อำศัยได้ตำมกลไกตลำด อีกทั้งกำรถือครองที่ดินในจังหวัดนนทบุรีร้อยละ 95 เป็นกำรถือครอง
โดยเอกชน ส่วนรำชกำรมีพื้นที่ เพียง ร้อยละ 5 ของพื้นที่ทั้งหมด (ภำพที่ 6 สีเหลืองแสดงถึง
พื้นที่ของเอกชน และสีฟ้ำแสดงถึงพื้นที่ในกำรครอบของรัฐ) ส่งผลให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงกำรใช้
ประโยชน์ที่ดินเพื่อกำรอยู่อำศัยมำกขึ้น เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้รำคำที่ดินรำคำสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้
มีรำยได้น้อยไม่สำมำรถเข้ำถึงแหล่งที่อยู่อำศัยรำคำถูกได้
 เกิดความหนาแน่นของพื้นที่รอบสถานีรถไฟ เนื่องจำกกำรพัฒนำระบบขนส่งมวลชน
สำธำรณะระบบรำงที่เชื่อมต่อจำกกรุงเทพมหำนครสู่จังหวัดนนทบุรี ทั้งโครงกำรรถไฟฟ้ำสำยสี
ม่วง และสำยสีชมพู ส่งผลให้เกิดกำรเร่งให้มีกำรเปลี่ยนแปลงของควำมหนำแน่นโดยรอบสถำนี
อย่ำงมีนัยยะสำคัญ โดยมีแนวโน้มสูงขึ้นมำก โดยเฉพำะควำมหนำแน่นที่อยู่อำศัย เนื่องมำจำกอยู่
ใกล้กับสถำนี เพื่อควำมสะดวกในกำรเดินทำง เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ยิ่งกระตุ้นให้เกิดกำรขยำยตัว
ของเมือง (ภำพที่ 7)
13
ภำพที่ 6 กำรถือครองที่ดินในจังหวัดนนทบุรี
ภำพที่ 7 บริเวณที่มีแนวโน้มในกำรขยำยตัวควำมเป็นเมือง
14
3. นโยบายที่อยู่อาศัยของจังหวัดนนทบุรี
กำรขยำยตัวของประชำกรในจังหวัดนนทบุรี ทำให้มีกำรลงทุนด้ำนที่อยู่อำศัยเพิ่มจำนวนมำก
โดยเฉพำะบริเวณที่ติดกับกรุงเทพมหำนคร อย่ำงอำเภอเมืองนนทบุรี ปำกเกร็ด อีกทั้งมีกำรกระจำยตัว
ของประชำกรและที่อยู่อำศัยในอำเภอบำงบัวทอง ทำให้มีกำรกำหนดเป้ำประสงค์และวิสัยทัศน์ในข้อมูล
แผนพัฒนำจังหวัดนนทบุรี ให้จังหวัดนนทบุรีเป็นแหล่งที่อำศัยชั้นดีของคนทุกระดับ รองรับกำรขยำยตัว
ของประชำกร เมื่อคณะศึกษำ3 ได้ศึกษำแผนนโยบำยด้ำนที่อยู่อำศัยของจังหวัดนนทบุรี โดยใช้วิธีกำร
รวบรวม ศึกษำ (Review) จำกแผนนโยบำยขององค์กรส่วนท้องถิ่น 3 ปี พ.ศ.2557-2559 ซึ่งมีอยู่
ประมำณ 1,000 กว่ำแผน (ตำรำงที่ 1) พบว่ำไม่มีแผนงำนเกี่ยวกับกำรพัฒนำด้ำนที่อยู่อำศัยตำม
นโยบำยที่วำงไว้ มีเพียงแผนงำนที่เกี่ยวกับกำรสร้ำงโครงสร้ำงพื้นฐำน กำรซ่อมถนน ทำท่อระบำย
พัฒนำด้ำนสิ่งแวดล้อม เป็นต้น โดยไม่มีกำรกำหนดเกี่ยวกับทิศทำงเรื่องที่อยู่อำศัยชั้นดี
เมื่อศึกษำเพิ่มเติมมำกขึ้น พบว่ำจังหวัดนนทบุรียังไม่สำมำรถดำเนินกำรด้ำนที่อยู่อำศัย เนื่องจำก
ติดปัญหำของพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเอกชน ไม่มีงบประมำณไปเวนคืนที่ของเอกชน ไม่มี พ.ร.บ.ด้ำนกำรผัง
เมือง จึงทำได้เพียงซ่อมพื้นผิว ทำท่อระบำย ลงทุนด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำนได้เท่ำนั้น
3 ทีมงำนที่ศึกษำกำรวำงมำตรฐำนที่อยู่อำศัยชุมชนแออัด และวำงแผนภัยพิบัติในจังหวัดนนทบุรี ร่วมกับ สถำบันพัฒนำองค์กรชุมชน (พอช.) ปี
2556
ตำรำงที่ 1 ทบทวนแผนพัฒนำ 3 ปี (พ.ศ. 2557-2559) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.)
15
4. แผนพัฒนาจังหวัดนนทบุรี
จำกแนวโน้มในอนำคตของจังหวัดนนทบุรี คำดว่ำจะมีประชำกรและที่อยู่อำศัยเพิ่มขึ้น ส่งผลถึง
ควำมหนำแน่นของกำรใช้พื้นที่ในจังหวัดนนทบุรี ประกอบกับปัจจุบันกำรพัฒนำเมืองในจังหวัดนนทบุรี
เป็นกำรพัฒนำเมืองอย่ำงไร้ทิศทำง เนื่องจำกติดปัญหำหลำยอย่ำง โดยเฉพำะกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่เป็น
ของเอกชน ทำให้ดำเนินกำรติดปัญหำมำก อีกทั้งมีปัญหำเรื่องผังเมือง เนื่องจำกผังเมืองไม่ว่ำจะระดับ
จังหวัดหรือผังเมืองรวม จะถูกส่งขึ้นไปที่ผังเมืองระดับชำติ โดยมีคณะกรรมกำรผังเมืองพิจำรณำ ทำให้
อำนำจตัดสินใจเรื่องผังเมืองไม่ได้อยู่ท้องถิ่นหรือชุมชน ซึ่งต่ำงประเทศมีกลไกให้ท้องถิ่นดูแลเรื่องผัง
เมืองเพื่อจะได้ตัดสินใจและสำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที คณะศึกษำจึงเสนอแผนพัฒนำที่อยู่อำศัย
ในจังหวัดนนทบุรี เพื่อปรับให้พื้นที่ให้จังหวัดนนทบุรีสำมำรถรองรับที่อยู่อำศัย และแผนกำรใช้ที่ดิน
(Land use) อย่ำงเหมำะสมได้
จำกแผนผังกำรวำงแผนกำรพัฒนำที่อยู่อำศัยระดับเมือง (ภำพที่ 8) ในอนำคตช่วงสีน้ำตำลและ
สีส้มจะเป็นพื้นที่ควำมหนำแน่นสูง มีประชำกรและที่อยู่อำศัยจำนวนมำก รำคำที่ดินค่อนข้ำงสูง และ
กำลังจะมีรถไฟฟ้ำผ่ำนเข้ำไปในตัวจังหวัด เมื่อมีกำรคมนำคมอย่ำงรถไฟฟ้ำ จังหวัดนนทบุรีควรมี
แผนกำรทำแผนนโยบำยพัฒนำพื้นที่รอบสถำนีขนส่งมวลชน หรือ Transit oriented development
(TOD) ในกำรใช้พื้นที่ให้มีควำมเหมำะสม เน้นกำรออกแบบกำรเข้ำถึงระบบขนส่งมวลชนอย่ำงมี
ประสิทธิภำพ เช่น มีกำรเชื่อมต่อระหว่ำงรถโดยสำรอื่นๆ เช่น แท็กซี่ มอเตอร์ไซด์ ออกแบบสถำนี
จอดรถขนส่งมวลชน (transit station) หรือที่หยุดรถ (transit stop) ให้มีควำมสะดวก สบำย และ
ปลอดภัย เช่น มีทำงเดินเข้ำถึงสถำนีที่กว้ำงขวำงได้มำตรฐำน มีที่กันแดดฝน มีป้ำยสัญลักษณ์ที่
จำเป็นสำหรับคนเดินทำง มีมุมขำยเครื่องดื่มหรือสิ่งพิมพ์ ห้องน้ำ และมีไฟส่องสว่ำงที่เพียงพอ เป็น
ต้น
กำรพัฒนำพื้นที่โดยรอบสถำนีขนส่งมวลชน หรือ Transit oriented development (TOD) จะ
ช่วยลดปัญหำด้ำนกำรจรำจรและขนส่งอย่ำงมีประสิทธิภำพ และจัดกำรที่ต้นเหตุคือพฤติกรรมกำร
เดินทำงของคน โดยอำศัยองค์ประกอบด้ำนกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land use) ประกอบกำรพัฒนำ
และออกแบบพื้นที่เมืองหรือชุมชนบริเวณโดยรอบสถำนี สร้ำงชุมชนที่ลดกำรพึ่งพำพลังงำน
เชื้อเพลิงและลดมลพิษทำงอำกำศจำกกำรใช้รถยนต์ที่มำกเกิน ลดกำรเติบโตเมืองอย่ำงไร้ทิศทำง
(Urban sprawl) ส่งเสริมชุมชนให้เป็นชุมชนแห่งสุขภำวะ (Healthy communities) ที่ประชำกรมี
ทำงเลือกในกำรเดินทำงและดีต่อสุขภำพของตน เช่น กำรเดิน และขี่จักรยำน มำกขึ้น ด้วยเหตุนี้
จังหวัดนนทบุรีควรมีแผน TOD สำหรับกำรมีรถไฟฟ้ำ จำกแผนผังของจังหวัดนนทบุรี(ภำพที่ 9)
พื้นที่สีแดงควรเป็นพื้นที่ในกำรพัฒนำพื้นที่โดยรอบสถำนีขนส่งมวลชน (TOD)
แผนการทาแผนนโยบายพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD)
16
ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาที่อยู่อาศัยในพื้นที่นาร่อง : ตาบลท่าอิฐ และข้อเสนอการพัฒนาเมือง
คณะศึกษำได้ศึกษำ และวำงแผนพัฒนำที่อยู่อำศัยในพื้นที่นำร่อง เพื่อเป็นที่ต้นแบบในกำรพัฒนำที่
อยู่อำศัยของจังหวัดนนทบุรี โดยเลือกพื้นที่นำร่อง คือ ตำบลท่ำอิฐ ซึ่งมีอำณำบริเวณอยู่ในพื้นที่ฝั่ง
ตะวันตกของแม่น้ำเจ้ำพระยำอยู่ในเขตกำรปกครองของอำเภอปำกเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ครอบคลุมพื้นที่
จำนวนทั้งสิ้น 5.76 ตำรำงกิโลเมตร สำเหตุที่เลือกพื้นที่ตำบลท่ำอิฐเป็นพื้นที่วำงแผนพัฒนำที่อยู่อำศัยนำ
ร่อง เนื่องจำกพื้นที่ตำบลท่ำอิฐ มีลักษณะพื้นที่จำลองโครงสร้ำงของจังหวัดนนทบุรี คือเปลี่ยนกำรใช้
ประโยชน์ของพื้นที่จำกเกษตรกรรมสู่กำรทำที่อยู่อำศัยและกำรทำพำณิชยกรรม
1. ลักษณะพื้นที่นาร่อง : ตาบลท่าอิฐ
จำกข้อมูลพื้นฐำนและกำรสำรวจพื้นที่จริง สำมำรถสรุปรูปแบบของชุมชนพักอำศัยในตำบลท่ำอิฐ
ได้เป็น 4 รูปแบบ คล้ำยกับโครงสร้ำงพื้นที่จังหวัดนนทบุรีที่มีทั้งควำมเป็นเมือง และชนบท ดังต่อไปนี้
 ชุมชนดั้งเดิม (ภำพที่ 9 -10) แบ่งออกเป็นชุมชนริมแม่น้ำเจ้ำพระยำ และชุมชนที่
ขยำยตัวจำกชุมชนริมน้ำในอดีต ชุมชนดั้งเดิมนี้ส่วนใหญ่จะมีกำรตั้งถิ่นฐำนในหมู่ 4 หมู่
5 หมู่ 6 หมู่ 7 หมู่ 8 หมู่ 9 และหมู่ 10
(ภำพที่ 8) แผนผังกำรพัฒนำที่อยู่อำศัยในจังหวัดนนทบุรี
17
 ชุมชนเกษตรกรรม (ภำพที่ 11-12) ส่วนใหญ่เป็นลักษณะประเภทบ้ำนเดี่ยว ที่มีควำม
หนำแน่นน้อย กระจำยตัวตำมที่ดินที่ใช้เพื่อกำรเกษตรกรรม จะมีกำรตั้งถิ่นฐำนในหมู่ 1
หมู่ 2 หมู่ 3 หมู่ 6 และหมู่ 9
 ชุมชนหมู่บ้านจัดสรร (ภำพที่ 13 -14 ) เป็นชุมชนใหม่ที่เกิดจำกกำรพัฒนำเมืองและ
กำรขยำยตัวของเมือง ชุมชนหมู่บ้ำนจัดสรรนี้ส่วนใหญ่จะมีกำรตั้งถิ่นฐำนในหมู่ 1 หมู่ 2
หมู่ 3 หมู่ 5 หมู่ 6
ภำพที่ 9 -10 ชุมชนดั้งเดิมในตำบลท่ำอิฐ
ภำพที่ 11-12 ชุมชนเกษตรกรรมในตำบลท่ำอิฐ
ภำพที่ 13 -14 ชุมชนหมู่บ้ำนจัดสรรในตำบลท่ำอิฐ
18
 ชุมชนพักอาศัยกึ่งพาณิชยกรรม (ภำพที่ 15 -16) เป็นกำรผสมระหว่ำงค้ำขำยและพัก
อำศัย จะมีกำรตั้งถิ่นฐำนในหมู่ 1 และหมู่ 6
2. การจัดทาแผนที่อยู่อาศัยระดับพื้นที่นาร่อง
กำรจัดทำแผนที่อยู่อำศัยนำร่องของตำบลท่ำอิฐ คณะศึกษำใช้แนวคิดกำรทำผังเมืองเฉพำะ
(Specific plan) ประสำนควำมร่วมมือให้ท้องถิ่นและชุมชนประชุมระดมควำมคิดเห็นจัดทำแผนผัง
เมืองเฉพำะ (Specific plan) เพื่อกำรจัดสรรพื้นที่ (Zoning) ที่อยู่อำศัยของตนเอง (ภำพที่ 17-18) โดย
ปกติผังเมืองรวมที่มีอยู่ จะมีรำยละเอียด Zoning เกี่ยวกับที่อยู่อำศัย พำณิชยกรรม เกษตรกรรม
อุตสำหกรรม แต่กำรวำงเมืองเฉพำะ (Specific plan) ที่อยู่อำศัย ควรจะมีรำยละเอียดของที่อยู่อำศัย
เอง เช่น กำรจัดสรรพื้นที่ริมน้ำ พื้นที่ในกำรสร้ำงคอนโด พื้นที่เกษตร ชุมชนดั้งเดิม สำธำรณูปโภค
ต่ำงๆ ควรอยู่ตรงไหนอย่ำงไร ต้องมีรำยละเอียดที่ชัดเจน เป็นข้อตกลงร่วมกัน โดยให้ท้องถิ่นและ
ชุมชนเป็นคนออกแบบด้วยตนเอง เพื่อนำไปสู่โครงกำรกำรปรับปรุงจัดสรรพื้นที่ของตนเอง
ภำพที่ 15 -16 ชุมชนพักอำศัยกึ่งพำณิชยกรรมในตำบลท่ำอิฐ
(ภำพที่ 17-18) กำรระดมควำมคิดเห็นของชุมชนในกำรจัดทำ Zoning ที่อยู่อำศัย
19
นอกจำกกำรกำรจัดสรรพื้นที่ (Zoning) ที่อยู่อำศัยแล้ว ท้องถิ่นและชุมชนเอง มีแผนปฏิบัติกำร
กำรปรับปรุงที่อยู่อำศัยบนที่ดินเดิมของตนเองด้วย เช่น กำรขยำยทำงเดิมในชุมชน เชื่อมบ้ำนริมน้ำ
และทำงเดิมริมน้ำ เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหำต่ำงๆ เช่น อำชญำกรรม กำรเกิดอัคคีภัย หรือโครงกำร
เพิ่มพื้นที่สีเขียวในที่ว่ำงของชุมชน เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของคนในชุมชน รวมทั้งจัดสรรเป็นพื้นที่จอด
รถจักรยำนยนตร์เพื่อควำมเป็นระเบียบของชุมชน และมีโครงกำรพัฒนำพื้นที่อยู่อำศัยอีกมำกมำย
เช่น กำรสร้ำงแนวเขื่อน กำรสร้ำงกระเช้ำข้ำมฟำก กำรปรับปรุงที่อยู่อำศัยเชิงรำบและเชิงสูง ปรับปรุง
ทำงเดินริมน้ำ เป็นต้น รวมไปถึงแผนโครงกำรท่องเที่ยวท่ำอิฐ (ภำพที่ 19) สร้ำงท่ำอิฐให้เป็นสถำนที่
ท่องเที่ยว เพิ่มรำยได้ให้ชุมชน จึงต้องมีกำรปรับพื้นที่บริเวณนั้นให้มีควำมพร้อมในกำรต้อนรับ
นักท่องเที่ยวด้วย
3. ข้อเสนอแนะการพัฒนาเมือง
จังหวัดนนทบุรี มีวิสัยทัศน์และนโยบำยพัฒนำที่อยู่อำศัยชั้นดี จำกกำรเป็นพื้นที่รองรับกำร
ขยำยตัวของประชำกรจำกกรุงเทพมหำนคร มีประชำกรหนำแน่นสูง และเป็นพื้นที่ที่เปลี่ยนกำรใช้
ประโยชน์จำกพื้นที่เกษตร กลำยเป็นพื้นที่สำหรับที่อยู่อำศัย แม้จะมีวิสัยทัศน์และนโยบำยเกี่ยวกับ
กำรพัฒนำที่อยู่อำศัยชั้นดี แต่จำกแผนกำรดำเนินงำนยังไม่มีควำมเกี่ยวข้องกับที่กำรพัฒนำที่อยู่อำศัย
ชั้นดี เนื่องจำกไม่มีกลไกที่จะสำมำรถดำเนินกำรได้ ติดปัญหำพื้นที่เป็นของเอกชนเกือบทั้งหมด
ท้องถิ่นและชุมชนไม่มีอำนำจตัดสินใจเรื่องผังเมือง คณะศึกษำจึงมีข้อเสนอแนะกำรพัฒนำเมืองดังนี้
3.1. ข้อเสนอแนะระดับเมือง : การจัดตั้งมีคณะกรรมการบริหารเมืองเฉพาะเรื่อง
ในกำรดำเนินกำรด้ำนยุทธศำสตร์ของจังหวัดนนทบุรี มีกลไกสำคัญที่ช่วยดูแลและควบคุม
ยุทธศำสตร์ในด้ำนต่ำงๆ คือ คณะกรรมกำรบริหำรยุทธศำสตร์จังหวัด (กบจ.) ซึ่งมีนโยบำยด้ำน
กำรพัฒนำที่อยู่อำศัย ซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบำยที่สำคัญของจังหวัดนนทบุรี จึงควรมีกำรจัดตั้ง
(ภำพที่ 19) แผนโครงกำรท่องเที่ยวท่ำอิฐ
20
อนุกรรมกำรภำยใต้คณะกรรมกำรบริหำรยุทธศำสตร์จังหวัด เพื่อมีบทบำทสำคัญในกำรควบคุม
ดูแล และนำแผนงำนด้ำนที่อยู่อำศัยไปสู่กำรปฏิบัติ ได้อย่ำงสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของจังหวัด
โดยเฉพำะ และก่อให้เกิดประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำรที่อยู่อำศัย และบรรเทำปัญหำชุมชน
แออัด และกำรขำดแคลนที่อยู่อำศัยของผู้มีรำยได้น้อยได้ (ภำพที่ 20)
3.2. ข้อเสนอแนะระดับพื้นที่ : แนะนาองค์ความรู้ด้านการวางและจัดทาผังเมืองรวมให้ชุมชน
องค์กำรบริหำรส่วนตำบลท่ำอิฐเป็นพื้นที่ที่กำลังประสบปัญหำกำรจัดสรรที่ดินเพื่อกำรอยู่
อำศัยเกิดขึ้นอย่ำงรวดเร็วและขยำยตัวไร้ทิศทำงตำมกลไกตลำด กลไกหรือเครื่องมือในทำง
กฎหมำยที่ท้องถิ่นสำมำรถดำเนินกำรเพื่อควบคุมกำรเติบโตทำงด้ำนที่อยู่อำศัยเช่นนี้ จำเป็น
จะต้องเรียนรู้และทำควำมเข้ำใจในด้ำนกำรวำงผังชุมชนหรือผัง อบต. เพื่อใช้ควบคุมและชี้นำ
กำรพัฒนำอย่ำงเหมำะสม สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของตำบล ในเบื้องต้นทำงคณะศึกษำได้แนะนำ
องค์ควำมรู้ด้ำนกำรวำงและจัดทำผังเมืองรวมชุมชน จัดทำแผนผังเฉพำะ (Specific plan) เพื่อ
กระตุ้นให้ท้องถิ่นรับทรำบถึงช่องทำงในกำรใช้งำนเครื่องมือทำงกฎหมำยเพื่อใช้ควบคุมและชี้นำ
กำรพัฒนำด้ำนที่อยู่อำศัยภำยในพื้นที่ตนเอง โดยกำรวำงแผนกำรใช้ประโยชน์ที่ดินที่สอดคล้อง
กับปัจจุบัน และสำมำรถรองรับในอนำคตได้
3.3. ข้อเสนอแนะเชิงกลไก : ควรมี พ.ร.บ. การพัฒนาเมือง
ควรมีกลไกเชิงกฎหมำยในกำรส่งเสริมกำรพัฒนำเมืองอย่ำงเหมำะสมในรูปแบบของ พ.ร.บ.
กำรพัฒนำเมือง โดยใช้อำนำจกลไกจังหวัดในกำรแก้ไขปัญหำ โดยมีคณะกรรมกำรที่มำจำก
หลำยภำคส่วน จำกจังหวัด ท้องถิ่น ชุมชน ภำคประชำสังคม เป็นภำคีเครือข่ำยมีอำนำจใช้กลไก
ในกำรแก้ไขปัญหำ เพรำะปัจจุบันท้องถิ่นไม่มีอำนำจในกำรดูแลเรื่องผังเมือง ทำให้ไม่สำมำรถ
ตัดสินใจดำเนินกำรได้ด้วยตนเอง จึงควรมีกลไกอย่ำง พ.ร.บ.กำรพัฒนำเมือง โดยมีสำระสำคัญ
ทำงด้ำนแนวคิด ประกอบด้วย
 เติมเต็มช่องว่ำงของกำรพัฒนำเมืองระหว่ำงกำรควบคุมในระดับมหภำค (อำทิ ผังเมือง
รวม และกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำยภำพต่ำงๆ) และควำมต้องกำรกำรส่งเสริมกำร
พัฒนำจำกคนในท้องถิ่น
 กำรสร้ำงทิศทำงควำมเหมำะสมของกำรพัฒนำที่ดินและควำมต่อเนื่องของที่ดินขนำดใหญ่
 หลักกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรฟื้นฟูและพัฒนำเมือง
21
ภำพที่ 20 แผนผังกลไกกำรพัฒนำเมือง

More Related Content

What's hot

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
วีระยศ เพชรภักดี
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
หรร 'ษๅ
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
surakitsiin
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้ารวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
thepower mancity
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
Similun_maya
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
chakaew4524
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองNatthachai Nimnual
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1whanpree
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตDashodragon KaoKaen
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 

What's hot (20)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้วขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้ารวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 

Similar to Urbanization ของนครนนทบุรี

CPMO e-NEWS 12-2552
CPMO e-NEWS 12-2552CPMO e-NEWS 12-2552
CPMO-NSTDA e-News
CPMO-NSTDA e-NewsCPMO-NSTDA e-News
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
เมืองน่าอยู่ติดดาว
เมืองน่าอยู่ติดดาวเมืองน่าอยู่ติดดาว
เมืองน่าอยู่ติดดาวdtschool
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556Saravit eMagazine 3/2556
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
FURD_RSU
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
tongsuchart
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ความร่วมมือมาตรวิทยาประเทศไทย-สปป.ลาว
ความร่วมมือมาตรวิทยาประเทศไทย-สปป.ลาวความร่วมมือมาตรวิทยาประเทศไทย-สปป.ลาว
ความร่วมมือมาตรวิทยาประเทศไทย-สปป.ลาวguest1b35ec18
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
CPMO e-News Jan 2010
CPMO e-News Jan 2010CPMO e-News Jan 2010

Similar to Urbanization ของนครนนทบุรี (17)

V 288
V 288V 288
V 288
 
Qlf forum may2014
Qlf forum may2014Qlf forum may2014
Qlf forum may2014
 
V 298
V 298V 298
V 298
 
CPMO e-NEWS 12-2552
CPMO e-NEWS 12-2552CPMO e-NEWS 12-2552
CPMO e-NEWS 12-2552
 
CPMO-NSTDA e-News
CPMO-NSTDA e-NewsCPMO-NSTDA e-News
CPMO-NSTDA e-News
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
เมืองน่าอยู่ติดดาว
เมืองน่าอยู่ติดดาวเมืองน่าอยู่ติดดาว
เมืองน่าอยู่ติดดาว
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
ความร่วมมือมาตรวิทยาประเทศไทย-สปป.ลาว
ความร่วมมือมาตรวิทยาประเทศไทย-สปป.ลาวความร่วมมือมาตรวิทยาประเทศไทย-สปป.ลาว
ความร่วมมือมาตรวิทยาประเทศไทย-สปป.ลาว
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
Information2012
Information2012Information2012
Information2012
 
CPMO e-News Jan 2010
CPMO e-News Jan 2010CPMO e-News Jan 2010
CPMO e-News Jan 2010
 
V 297
V 297V 297
V 297
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

Urbanization ของนครนนทบุรี

  • 1.
  • 3. ผู้เขียน : ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ บรรณาธิการบริหาร : นำงสำวยุวดี คำดกำรณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นำงสำวยุวดี คำดกำรณ์ไกล ผู้ถอดความ : นำงสำวณัฐธิดำ เย็นบำรุง กองบรรณาธิการ : นำยอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน, นำยฮำกีม ผูหำดำ, นำงสำวณัฐธิดำ เย็นบำรุง, นำยอรุณ สถิตพงศ์สถำพร ปก : นำยอรุณ สถิตพงศ์สถำพร รูปเล่ม : นำงสำวณัฐธิดำ เย็นบำรุง ปีที่เผยแพร่ : ธันวำคม พ.ศ. 2557 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง มหำวิทยำลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญำสำธำรณะ (CPWI) ภำยใต้ แผนงำนนโยบำยสำธำรณะเพื่อกำรพัฒนำอนำคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.)
  • 4. สารบัญ ส่วนที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของเมืองในประเทศไทย 1 1. นิยำมควำมเป็นเมือง 1 2. พัฒนำควำมเป็นเมืองในประเทศไทย 2 3. ปัจจัยกำรขยำยตัวของเมือง 3 4. กำรขยำยตัวของกรุงเทพฯ : กำรขยำยตัวของที่อยู่อำศัย 6 ส่วนที่ 2 ความเป็นเมืองนนทบุรีและทิศทางการพัฒนาในอนาคต 10 1. ลักษณะพื้นที่กำรใช้ประโยชน์ของจังหวัดนนทบุรี 10 2. แนวโน้มในอนำคตในของจังหวัดนนทบุรี 11 3. นโยบำยที่อยู่อำศัยในจังหวัดนนทบุรี 14 4. แผนพัฒนำจังหวัดนนทบุรี 15 ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาที่อยู่อาศัยในพื้นที่นาร่อง : ตาบลท่าอิฐ และข้อเสนอการพัฒนาเมือง 16 1. ลักษณะพื้นที่นำร่อง : ตำบลท่ำอิฐ 16 2. กำรจัดทำแผนที่อยู่อำศัยระดับพื้นที่นำร่อง 18 3. ข้อเสนอแนะกำรพัฒนำเมือง 19
  • 5. 1 Urbanization ของนครนนทบุรี ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์1 ผู้อำนวยกำรศูนย์วิจัยบูรณำกำรภำพพื้นที่และสังคม มหำวิทยำลัยศรีปทุม เมื่อพูดถึงเรื่องเมือง (City) ของประเทศไทย หลำยคนมักนึกถึงกรุงเทพมหำนคร ที่มีผู้คนอำศัย อย่ำงหนำแน่น มีระบบคมนำคม สำธำรณูปโภคที่พร้อมทุกด้ำน แต่ปัจจุบันควำมเป็นเมือง (Urbanization) ไม่ได้กระจุกอยู่เพียงพื้นที่ในกรุงเทพมหำนคร ได้กระจำยตัวออกไปยังพื้นที่ต่ำงๆ ตำมธรรมชำติ นนทบุรี เป็นพื้นที่ปริมณฑล เป็นหนึ่งจังหวัดที่ได้รับควำมเป็นเมืองที่กระจำยออกมำจำกกรุงเทพฯ จนวันนี้มีควำม เป็นเมืองใกล้เคียงกับกรุงเทพมหำนครจนแทบไม่สำมำรถแยกออกได้ ทั้งกิจกรรมทำงเศรษฐกิจในด้ำน กำรเกษตรที่ลดลงจำกเดิมมำก มีประชำกรหนำแน่น และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เป็นที่ตั้งรวมศูนย์รำชกำร ทำ ให้นนทบุรีกลำยเป็นพื้นที่เมืองที่น่ำสนใจในกำรศึกษำ โดยบทควำมนี้จะนำเสนอให้เห็นภำพควำมเป็นเมือง นนทบุรี 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 อธิบำยกระบวนกำรกำรพัฒนำควำมเป็นเมือง (Process of urbanisation and urban sprawl) กำรขยำยตัวที่อยู่อำศัยในประเทศไทย ส่วนที่ 2 อธิบำยควำมเป็นเมืองนนทบุรีและทิศ ทำงกำรพัฒนำในอนำคต และส่วนที่ 3 คือ กำรพัฒนำพื้นที่นำร่องในจังหวัดนนทบุรี และข้อเสนอในกำร พัฒนำเมือง ส่วนที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของเมืองในประเทศไทย (Process of urbanisation and urban sprawl) 1. นิยามความเป็นเมือง (Urban definition) นิยำมควำมเป็นเมือง (Urban definition) หำกอธิบำยในมุมมองของนักผังเมือง จะมีคำนิยำมที่วัด เกี่ยวกับควำมเป็นเมือง 3 ส่วน คือ  นิยามจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ นิยำมควำมเป็นเมืองที่วัดจำกกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ คือ กำรที่พื้นที่ๆ หนึ่ง มีกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ ที่มีภำคอุตสำหกรรมและกำรบริกำร มำกกว่ำภำค เกษตร จะถูกนิยำมให้กลำยเป็นเมือง ไม่ว่ำจะเป็น ในด้ำนกำรท่องเที่ยว กำรค้ำ หรือโรงงำน อุตสำหกรรม 1 ถอดควำมจำกกำรประชุมเวทีวิชำกำร “Urbanization ของนครนนทบุรี ในปัจจุบันและอนาคต” เมื่อวันศุกร์ ที่ 14 ธันวำคม 2557 ณ อำคำรพร้อมพันธ์ 1 ชั้น 4 ระหว่ำงเวลำ 09.30 – 12.00 น จัดโดยแผนงำนนโยบำยสำธำรณะเพื่อกำรพัฒนำอนำคตของเมือง ภำยใต้ศูนย์ ศึกษำมหำนครและเมือง ร่วมกับมูลนิธิสถำบันสร้ำงสรรค์ปัญญำสำธำรณะ โดยกำรสนับสนุนของสำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริม สุขภำพ (สสส.)
  • 6. 2  นิยามตามความหนาแน่นในเมือง ควำมเป็นเมืองมักนิยำมตำมควำมหนำแน่นของ ประชำกรในพื้นที่ ซึ่งไม่มีกำรกำหนดสัดส่วนที่เป็นมำตรฐำน ขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศจะนิยำม ควำมหนำแน่นเฉพำะของประเทศนั้น โดยส่วนใหญ่เมืองที่มีควำมหนำแน่นของผู้คนสูง เมือง นั้นมักจะมีสำธำรณูปโภคที่พร้อม ซึ่งกำรวัดควำมเป็นเมือง ต้องให้ควำมสนใจข้อมูลเกี่ยวกับ ควำมพร้อมของสำธำรณูปโภคด้วย ไม่ว่ำจะเป็นถนน ไฟฟ้ำ ประปำ หรือบริกำรต่ำงๆ เช่น ไปรษณีย์ คลินิก โรงเรียน  นิยามจากเขตปกครอง ซึ่งเป็นเกณฑ์กำรแบ่งที่รัฐบำลได้กำหนดขึ้นตำมกฎหมำย สำหรับ ประเทศไทย หำกนิยำมควำมเป็นเมืองจำกเขตกำรปกครอง เมือง คือ พื้นที่ในเขตของกรุงเทพฯ หรืออยู่ในเขตของเทศบำล พื้นที่ชนบทจะอยู่ในเขตกำรปกครองขององค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) 2. พัฒนาความเป็นเมืองในประเทศไทย พัฒนำควำมเป็นเมืองในประเทศไทย (ภำพที่ 1) อธิบำยได้ตั้งแต่สมัยรัชกำลที่ 5 มีกำรล่ำ อำณำนิคมของต่ำงชำติ ที่มักใช้ข้ออ้ำงควำมล้ำหลังของประเทศในกำรครอบงำชำติเล็กๆ รัชกำลที่ 5 จึงต้องใช้กลยุทธ์กำรนำประเทศไทยเข้ำสู่ควำมทันสมัย (Modernization) ทุกด้ำน เพื่อหลีกเลี่ยงกำรถูก ล่ำอำณำนิคมของต่ำงชำติ ปรับประเทศไทยให้ระบบสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำนที่ดีมำกขึ้น มีไฟฟ้ำ น้ำประปำ มีกำรขุดคลอง มีระบบชลประทำน มีระบบกำรคมนำคม สร้ำงรถไฟขึ้นครั้งแรก เพื่อกำร ขนส่งสินค้ำ และเพื่อกำรเกษตร เริ่มจัดสรรพื้นที่ทำกำรเกษตร มีกำรทำอุตสำหกรรมมำก มีกำรติดต่อ กำรค้ำระหว่ำงประเทศ เริ่มมีกำรลงทุนมำกขึ้น แต่เนื่องจำกขณะนั้นประเทศไทยใช้ระบอบสมบูรณำญำ สิทธิรำช (Absolute monarchy) ผู้ลงทุนจึงเป็นเจ้ำพระยำจำกหัวเมืองต่ำงๆ ทำให้เกิดกำรกระจำยกำร ลงทุนไปยังพื้นที่ต่ำงๆ ในประเทศไทยมำกขึ้น เมื่อมีกำรเปลี่ยนกำรปกครองจำกระบอบสมบูรณำสิทธิรำช เป็นระบอบประชำธิปไตย ในสมัย รัชกำลที่ 7 ทำให้ไทยมีรัฐบำลประชำธิปไตย มีลักษณะกำรพัฒนำสู่ควำมทันสมัยมำกยิ่งขึ้นจำกเดิม เกิดกำรพัฒนำอุตสำหกรรม ช่วงนั้นเป็นอุตสำหกรรมลักษณะของกำรรับจ้ำงผลิต มีลักษณะกำรผลิตที่ ใช้เทคโนโลยีไม่สูงมำก เช่น กำรผลิตชิ้นส่วนของตะปู น็อต หรือแปรรูปสีข้ำว คล้ำยเวียดนำม และ กัมพูชำ ทำให้เกิดลักษณะของกลไกกำรค้ำขึ้น มีกำรลงทุนโครงสร้ำงพื้นฐำนและกำรคมนำคมมำกขึ้น ต่อเนื่องอย่ำงจำกสมัยรัชกำลที่ 5 เมื่อมองในเชิงพื้นที่ จะเห็นว่ำสมัยก่อน บริเวณพื้นที่ที่มีควำมเป็น เมือง มีเพียงกรุงเทพชั้นใน อย่ำงเกำะรัตนโกสินทร์ เมื่อมีกำรขยำยคลองชลประทำน และระบบ คมนำคมมำกขึ้น ทำให้พื้นที่ทำงตะวันออกของกรุงเทพฯ เช่น บำงกะปิ มีนบุรี แต่เดิมที่เคยเป็นป่ำ เริ่ม มีกำรเปลี่ยนกำรใช้ประโยชน์ของที่ดิน มำสู่กำรใช้พื้นที่เพื่อกำรเกษตรมำกขึ้น ควำมเป็นเมืองในประเทศไทยยิ่งขยำยตัวเพิ่มมำกขึ้น โดยเฉพำะในเมืองหลวงอย่ำงกรุงเทพฯ เมื่อสำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ได้กำหนดแผนพัฒนำเศรษฐกิจ
  • 7. 3 สังคมและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2504 ในช่วงที่ได้เกิดระบบกำรค้ำระดับสำกล (International trade) ขึ้น ที่กำหนดให้กิจกรรมที่มีกำรซื้อขำยแลกเปลี่ยน (Exchange) สินค้ำและบริกำรระหว่ำง ประเทศขึ้น ทำให้ประเทศไทยต้องผลักดันตัวเองเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก โดนทิศทำงของแผนพัฒนำ เศรษฐกิจสังคมและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 1 และ 2 เน้นกำรกระจำยเมือง กำรสร้ำงเมืองชั้นรอง มีกำร ตั้งเมืองอย่ำงขอนแก่น สงขลำ เชียงใหม่ เป็นศูนย์กลำงภูมิภำค มีกำรลงทุนโครงกำรสร้ำงพื้นฐำน ภำครัฐมำกขึ้น ส่งเสริมภำคอุตสำหกรรม ให้มีกำรผลิตมำกขึ้น เกิดโรงงำนมำกขึ้น ทำให้ประเทศไทย จำกเดิมที่มีภำคเกษตรกรรม ร้อยละ 90 ของ GDP ประเทศ เริ่มลดลง 2.1.กรุงเทพฯ : เมืองโตเดี่ยว (Primate city) ในขณะที่รัฐส่งเสริมพัฒนำด้ำนอุตสำหกรรม ให้กระจำยในเมือง แต่ละเลยกำรพัฒนำพื้นที่ใน ชนบท ไม่มีกำรส่งเสริมกำรพัฒนำ และกำรจ้ำงงำนในภูมิภำค อีกทั้งอำนำจกำรปกครองของประเทศ ไทยมีลักษณะแบบรวมศูนย์ ทำให้อำนำจกำรบริหำรเมืองทั้งหมดอยู่ที่ส่วนกลำง ทำให้กำรกระจำย อำนำจกำรบริหำรไปยังพื้นที่ต่ำงๆ เป็นไปได้ค่อนข้ำงยำก ส่งผลต่อกำรพัฒนำของแต่ละพื้นจึงมีควำม แตกต่ำงกัน พื้นที่ในเมืองมีสำธำรณปูโภคที่ดี มีระบบคมนำคมที่สะดวกสบำย มีโรงงำนอุตสำหกรรม เกิดกำรจ้ำงงำนเพิ่มมำกขึ้น ซึ่งแตกต่ำงจำกพื้นที่ชนบท ด้วยเหตุนี้ทำให้กรุงเทพฯมีลักษณะของกำร เติบโตของเมืองแบบ เมืองโตเดี่ยว (Primate city) คือ ลักษณะของเมืองที่มีขนำดใหญ่อย่ำงมำก มี ขนำดใหญ่ห่ำงจำกเมืองที่ใหญ่รองลงมำอย่ำงลิบลับ เป็นกำรเติบโตแต่เพียงเมืองเดียวล้ำหน้ำเมืองอื่นๆ ควำมแตกต่ำงของกำรพัฒนำระหว่ำงเมืองกับชนบท ทำให้ประชำกรจำกชนบทหลั่งไหล ย้ำย ถิ่นฐำนเข้ำมำแสวงหำควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจเมือง เพรำะเห็นว่ำรำยได้จำกกำรทำงำนในเมืองอำจ ภำพที่ 1 กระบวนกำรขยำยตัวของควำมเป็นเมือง
  • 8. 4 ดีกว่ำพื้นที่ในชนบท ยิ่งทำให้กรุงเทพฯ มีกำรเติบโตของเมืองอย่ำงรวดเร็ว เมื่อเทียบสัดส่วนกำรเติบโต ของประชำกรของกรุงเทพฯ กับเมืองอันดับ 2 อย่ำงเชียงใหม่ พบว่ำกรุงเทพมีสัดส่วนกำรเติบโตของ ประชำกรมำกกว่ำเชียงใหม่ถึง 20 เท่ำ ในขณะที่มีกำรพัฒนำส่งเสริมเศรษฐกิจเมือง มีกำรลงทุน เกิดอุตสำหกรรม มีโรงงำนมำกมำย มีกำรเติบโตของเมืองอย่ำงไม่หยุดหย่อน แต่ในช่วงนั้นรัฐบำลไม่ให้ให้ควำมสำคัญในเรื่องของกำรตั้งถิ่น ฐำน ให้ควำมสำคัญแต่กำรส่งเสริมอุตสำหกรรมให้เกิดขึ้นมำกที่สุด แต่ไม่ได้มีแผนในกำรจัดพื้นที่รอบ อุตสำหกรรมให้มีที่อยู่อำศัยรองรับกำรหลั่งไหลของประชำกรจำกชนบท ซึ่งปัจจุบันกำรพัฒนำ อุตสำหกรรมที่พม่ำกำลังเผชิญกับปัญหำนี้เช่นเดียวกันกับประเทศไทย ทำให้เกิดกำรเจริญเติบโตของ เมืองอุตสำหกรรม เป็นไปอย่ำงไร้ทิศทำง ทำให้พื้นที่บริเวณรอบอุตสำหกรรมเกิดสลัม อย่ำงท่ำเรือ คลองเตย เกิดกำรตั้งถิ่นฐำน (Settlement) บริเวณนั้นจำนวนมำก เป็นตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัดจำกกำรไม่มี แผนกำรจัดพื้นที่ที่เป็นผลพวงจำกกำรพัฒนำเมือง นอกจำกนี้ หลังจำกเกิดกำรปฏิรูปที่ดิน ทำให้ที่ดินสมัยที่เป็นของขุนนำงในสมัยก่อน เปลี่ยนมือ เป็นที่ดินของเอกชนมำกขึ้น เกิดระบบโฉลดที่ดิน ยิ่งมีกำรขยำยตัวของเมืองกระจำยออกไป ผู้คนได้บุก รุกพื้นที่ต่ำงๆ มำกขึ้น ทำให้พื้นที่ปริมณฑลซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรมกลำยเป็นพื้นที่ของเอกชนเกือบ ทั้งหมด ในขณะเดียวกันรัฐก็ไม่อำจลงทุนโครงสร้ำงพื้นฐำนอย่ำงรวดเร็วได้ เนื่องจำกกำรเก็บภำษี ต่ำงๆ ยังไม่เข้ำรูปเข้ำรอยนัก เกิดเป็นที่ดินตำบอด2 ขึ้นจำนวนมำก 3. ปัจจัยการขยายตัวของเมือง (The causes of urban sprawl) กำรเร่งพัฒนำเมือง โดยกระจุกกำรพัฒนำอยู่เพียงแค่พื้นที่ในเมืองหลวง ทำให้ทรัพยำกรด้ำน เศรษฐกิจ อำนำจกำรปกครอง และกำรพัฒนำทุกด้ำน ไม่ว่ำจะเป็นกำรสำธำรณสุข กำรศึกษำ ช่อง ทำงกำรมีชีวิตที่ดี รวมอยู่ที่เดียวทั้งหมด เป็นแรงจูงใจที่ทำให้เกิดกำรอพยพย้ำยถิ่นฐำนของประชำกร ชนบทย้ำยเข้ำมำสู่เมืองจำนวนมำก อีกทั้งกำรพัฒนำเมืองโดยไม่วำงแผนรองรับกำรขยำยตัวของเมือง ทำให้เมืองเกิดกำรขยำยตัวอย่ำงไร้ทิศทำง โดยสำมำรถสรุปปัจจัยกำรขยำยตัวของเมืองอย่ำงไร้ ทิศทำง (Urban sprawl) ได้ 3 ปัจจัย (ภำพที่ 2) ดังนี้  การเก็งกาไรจากที่ดิน (Land speculation) กำรขยำยตัวของเมืองที่ไม่มีทิศทำง ส่วนหนึ่งเป็น กำรไม่มีแผนจัดกำรกำรขยำยตัวของเมือง โดยเฉพำะกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน ทำให้ที่ดินสำมำรถ เปลี่ยนมือของเจ้ำของที่ดินกลำยเป็นของเอกชนได้ง่ำยดำย จำกนั้นเอกชนเจ้ำของที่เปลี่ยนกำรใช้ ประโยชน์ทีดิน จำกพื้นทีป่ำเป็นพื้นที่เกษตร เปลี่ยนพื้นที่เกษตรเป็นพื้นที่อยู่อำศัย เปลี่ยนพื้นที่ที่ อยู่อำศัยเป็นพื้นที่อำศัยหนำแน่นสูง และพำณิชกรรมตำมลำดับ โดยเฉพำะพื้นที่ของปริมณฑล ซึ่ง รัฐไม่มีนโยบำยเกี่ยวกับกำรใช้ที่ดิน ไม่มีกำรวำงแผน ไม่มีผังเมืองมำก่อน โดยผังเมืองของ 2 ที่ดินตำบอด คือ ที่ดินที่ไม่มีทำงออกสู่ทำงสำธำรณะ โดยต้องเดินทำงเข้ำออกผ่ำนที่ดินของผู้อื่น ทำให้เจ้ำของที่ดินไม่สำมำรถใช้ที่ดินตนเอง ทำประโยชน์ได้เต็มที่
  • 9. 5 เมืองไทยเป็นผังเมืองที่อธิบำยถึงปัจจุบัน แต่ไม่ใช่ผังเมืองที่อธิบำยถึงอนำคตของพื้นที่ เป็นผลทำ ให้เกิดกำรขยำยของเมือง เมื่อเอกชนไปซื้อที่จำกชำวบ้ำนมำกขึ้น ในรำคำถูก เปลี่ยนกำรใช้ ประโยชน์ ทำให้ภำครัฐต้องจำใจลงทุนสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำน ไปยังพื้นที่บริเวณนั้น โดยไม่มี โอกำสได้กำหนดกำรพัฒนำ นั่นหมำยควำมว่ำทุนเป็นตัวกำหนดกำรพัฒนำของรัฐ เป็นผลทำให้ เมืองเกิดกำรขยำยตัวโดยไม่มีแผนรองรับใดๆ ทั้งสิ้น เพรำะพัฒนำไปตำมทุนของเอกชน  การพัฒนาที่ไม่สมดุลของเมืองและชนบท (Urban-rural economic disparity) รัฐส่งเสริม เมืองมำกกว่ำชนบท กำรลงทุนภำคอุตสำหกรรม มำกกว่ำภำคเกษตรกรรม โดยเฉพำะพื้นที่ใน เมือง กลำยเป็นจุดศูนย์รวมควำมสะดวกสบำยต่ำงๆ ซึ่งเป็นผลทำให้เกิดกำรเพิ่มขึ้นของประชำกร สูงขึ้นมำก เมื่อประชำกรหลั่งไหลเข้ำมำกระจุกตัวในพื้นที่หนึ่งมำกๆ ก็เกิดกำรขยำยตัวของเมือง ไปตำมพื้นที่ต่ำงๆ เมืองจึงกระจำยมีกำรขยำยตัวออกไป  ข้อจากัดในการกระจายอานาจ (Limit of decentralization) ระบบกำรปกครองของประเทศ ไทยแบบรวมศูนย์ ทำให้อำนำจกำรปกครองทุกอย่ำงอยู่ที่ส่วนกลำง โดยมีข้อจำกัดในกำรกระจำย อำนำจ ทำให้ท้องถิ่นและภูมิภำคเกิดข้อจำกัดในกำรพัฒนำท้องถิ่นของตนเอง ปัจจุบันท้องถิ่นจะ ได้รับงบประมำณเพียง 20 เปอร์เซ็นต์ของงบรำชกำรทั้งหมด ทำให้ขำดงบประมำณในกำรพัฒนำ เมื่อมีกำรกระจำยอำนำจ ก็เกิดควำมไม่ไว้ใจในท้องถิ่น ทำให้เกิดสภำวะที่ไม่สำมำรถเลือกอะไรได้ (dilemma) คงสภำพของปัญหำกำรกระจำยอำนำจสู่ท้องถิ่น มำกว่ำ 40 ปี ตั้งแต่เปลี่ยนเป็น ประชำธิปไตย ภำพที่ 2 ปัจจัยกำรขยำยตัวของเมือง
  • 10. 6 4. การขยายตัวของกรุงเทพฯ : การขยายตัวของที่อยู่อาศัย เนื่องจำกพื้นที่ของที่อยู่อำศัย เป็นภำค (Sector) ที่ขยำยตัวมำกที่สุดในจังหวัดนนทบุรี อีกทั้ง วิสัยทัศน์และนโยบำยของจังหวัดนนทบุรีจะเน้นเกี่ยวกับนโยบำยที่อยู่อำศัยชั้นดี จึงต้องอธิบำยกำร ขยำยตัวควำมเป็นเมืองของกรุงเทพมหำนครโดยเฉพำะเรื่องที่อยู่อำศัย ที่มีควำมหนำแน่นจนกระจำย ตัวออกไปจังหวัดนนทบุรี กำรขยำยตัวของกรุงเทพฯ ในช่วง 100 กว่ำปีที่ผ่ำนมำตั้งแต่ปี ค.ศ. 1850 – 2002 (ภำพที่ 3) ขยำยตัวอย่ำงมำก จำกกำรส่งเสริมด้ำนอุตสำหกรรม กำรพัฒนำในด้ำนต่ำงๆ ยิ่งในช่วงหลังปี ค.ศ. 1980 เกิดกำรขยำยตัวของเมืองอย่ำงรวดเร็ว โดยเฉพำะกำรขยำยตัวของที่อยู่อำศัย เป็นประเด็นที่ น่ำสนใจในกำรขยำยตัวของกรุงเทพฯ เนื่องจำกที่อยู่อำศัยเป็นส่วนพื้นที่ที่กินพื้นที่ของเมืองมำกที่สุด คือประมำณ 75 – 80 เปอร์เซ็นต์ เป็นที่อยู่อำศัยของประชำชน ไม่ว่ำจะเป็นอำคำรต่ำงๆ แฟลต โครงกำรหมู่บ้ำนจัดสรร ทำวน์โฮม ทำวเฮำท์ ในช่วงก่อนปี 1980 กำรขยำยตัวของเมืองไม่ได้เกิดอย่ำงรวดเร็ว โดยเฉพำะที่อยู่อำศัย เพรำะ เอกชนกว่ำจะมีเงินจำนวนหนึ่ง ซื้อที่ดิน สร้ำงตึกแถว หรือสร้ำงบ้ำนของตัวเองต้องใช้เวลำนำน พอสมควร แต่หลังปี ค.ศ. 1980 เกิดกำรขำดแคลนที่อยู่อำศัยอย่ำงรุนแรง เนื่องจำก รัฐส่งเสริม อุตสำหกรรม มีกำรลงทุนเศรษฐกิจอย่ำงหนำแน่นมำก แต่ไม่มีระบบของกำรรองรับเรื่องที่อยู่อำศัย ไม่ มีนโยบำยด้ำนที่อยู่อำศัย และเนื่องจำกเกิดกำรขำดแคลนที่อยู่อำศัยมำกขึ้น ทำให้สำนักงำน คณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ หรือเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่ำ สภำพัฒน์ฯ เห็น ถึงปัญหำ จึงก่อตั้งกำรเคหะแห่งชำติขึ้นมำ เพื่อจัดกำรดูแลเรื่องที่อยู่อำศัยในเมือง ในตอนแรกมีกำร จัดกำรในลักษณะรัฐสวัสดิกำร คือสร้ำงบ้ำนให้อยู่ แต่ระยะหลังโครงกำรไม่สำมำรถดำเนินกำรต่อได้ ภำพที่ 3 กำรขยำยตัวของกรุงเทพมหำนคร ปี ค.ศ. 1850 – 2002
  • 11. 7 เนื่องจำกมีภำระค่ำใช้จ่ำยที่สูงมำก ระยะหลังกำรเคหะแห่งชำติ ร่วมกับ องค์กำรสหประชำชำติ (UN) และธนำคำรโลก (World bank) ที่สนับสนุนงบประมำณ จำกนโยบำยโลกเรื่องโครงกำรที่อยู่อำศัย สงเครำะห์ ส่งเสริมให้เกิดกำรตั้งถิ่นฐำนอย่ำงเหมำะสม เพื่อแก้ไขปัญหำที่อยู่อำศัยในประเทศไทย ทำ ให้เกิดโครงกำรที่อยู่อำศัยรำคำถูก (Affordable housing) (ภำพที่ 4) เป็นกำรเคหะชุมชน ให้คนที่มี รำยได้น้อยได้เช่ำที่อยู่อำศัยรำคำถูก หำกมีรำยได้ที่สูงขึ้นต้องย้ำยออก ตำมหลักของโครงกำรที่อยู่อำศัยรำคำถูก (Affordable housing) คือให้คนที่มีรำยได้น้อยได้เช่ำ ที่อยู่อำศัยในรำคำถูก เมื่อมีรำยได้ที่สูงขึ้นต้องย้ำยออก แต่ในทำงปฏิบัติมีปัญหำอยู่มำก เพรำะไม่ สำมำรถเปลี่ยนมือผู้เช่ำได้ ซึ่งตำมเจตจำนงของกำรเคหะชุมชนต้องกำรให้ผู้ที่มีรำยได้น้อยได้มีที่อยู่ อำศัย แต่ผู้มีรำยได้น้อยไม่ได้หมำยควำมว่ำเขำจะต้องมีรำยได้น้อยตลอดไป หำกในอนำคตมีรำยได้ที่ มำกขึ้น ควรต้องย้ำยออกไป แต่ปัจจุบันผู้เช่ำยังคงเป็นรำยเดิม แม้มีรำยได้เพิ่มสูงขึ้น ส่วนหนึ่งเป็น เพรำะกฎหมำยของไทยไม่สำมำรถบังคับใช้ได้อย่ำงจริงจัง อีกทั้งไม่มีกำหนดในกำรเช่ำ ไม่เหมือนที่ ต่ำงประเทศอย่ำงมำเลเซีย ที่มีกำหนดในกำรเช่ำ 5 ปี หำกครบกำหนดแล้วต้องย้ำยออกไป ภำพที่ 4 พัฒนำกำรนโยบำยที่อยู่อำศัยในประเทศไทย
  • 12. 8 4.1.ปัจจัยการขยายตัวที่อยู่อาศัย : ส่งเสริมเอกชนลงทุนที่อยู่อาศัย ปัจจัยกำรขยำยตัวของที่อยู่อำศัยที่สำคัญ คือ กำรส่งเสริมให้เอกชนลงทุนด้ำนที่อยู่อำศัย สำหรับภำคเอกชนในกำรลงทุนเรื่องที่อยู่อำศัย ในช่วงแรกเป็นช่วงเริ่มสะสมเงินเพื่อซื้อที่ดิน ยังไม่เกิด โครงกำรบ้ำนจัดสรรทำที่อยู่อำศัย แต่จะลงทุนทำตึกแถวเล็กๆ ขนำด 3 – 4 ห้อง เป็นส่วนใหญ่ ในช่วง ปี ค.ศ. 1980 เป็นช่วงที่เศรษฐกิจดีมำก เพรำะรัฐส่งเสริมภำคเศรษฐกิจมำก มำถึงช่วงที่พลเอกชำติ ชำย ชุนหะวัน นำยกรัฐมนตรี ในสมัยนั้นที่มีนโยบำยเปลี่ยนสนำมรบให้เป็นสนำมกำรค้ำ เพดำน กลไกกำรเปิดเมืองได้เปิดกว้ำงมำกขึ้น มีนโยบำยส่งเสริมบทบำทให้ภำคเอกชนจัดกำรเรื่องที่อยู่อำศัย มำกขึ้น เช่น กำรให้ธนำคำรสำมำรถปล่อยกู้ให้กับเอกชนในกำรลงทุนทำที่อยู่อำศัย ซึ่งเมื่อก่อน ธนำคำรจะปล่อยให้เอกชนกู้เงินเฉพำะกำรลงทุนด้ำนอุตสำหกรรม ทำให้ภำคเอกชนมำลงทุนทำที่อยู่ อำศัยมำกขึ้น เกิดกำรซื้อขำยที่ดิน เอกชนซื้อที่ดินที่ทำกำรเกษตรจำกชำวบ้ำน ทำให้เกิด เปลี่ยนแปลงที่ดินในยุคปี ค.ศ. 1980 และเกิดกำรขยำยตัวของเมืองอย่ำงรวดเร็ว ช่วงนั้นจึงเกิด โครงกำรหมู่บ้ำนจัดสรรขึ้น เช่น หมู่บ้ำนสัมมำกร พฤกษชำติ วิบูลย์เวช เป็นต้น ทำให้พื้นที่ทำงทิศ เหนือ ทิศตะวันออกของกรุงเทพฯ เปลี่ยนเป็นที่อยู่อำศัยมำกขึ้น นโยบำยส่งเสริมให้ภำคเอกชนสำมำรถลงทุนด้ำนที่อยู่อำศัย ทำให้เกิดที่อยู่อำศัยเพิ่มขึ้นมำก เป็นผลดีทำให้มีที่อยู่อำศัยรองรับกำรหลั่งไหลของคนจำกชนบทได้ คนบำงส่วนสำมำรถซื้อที่อยู่อำศัย โดยกำรผ่อนชำระ 20 ปีได้ ทำให้คนชั้นกลำงสำมำรถซื้อบ้ำน และชนชั้นแรงงำนที่ต้องเช่ำบ้ำนตลอด สำมำรถผ่อนซื้อบ้ำนได้ ยิ่งทำให้เกิดกำรขยำยตัวของเมืองและประชำกรมำกยิ่งขึ้น จำกสมัยก่อน ประมำณปี ค.ศ. 1950 กรุงเทพฯ จะมีประชำกรประมำณ 2 ล้ำนกว่ำคน ปัจจุบันหำกรวมกับปริมณฑล แล้ว มีประชำกรประมำณ 12 ล้ำนคน ซึ่งไม่ได้เกิดจำกปัจจัยที่มีอัตรำกำรเกิดมำกกว่ำอัตรำกำรตำย อย่ำงแน่นอน แต่เกิดจำกปัจจัยกำรย้ำยถิ่นฐำนเข้ำมำในเมือง ในขณะเดียวกันนโยบำยส่งเสริมให้ภำคเอกชนลงทุนด้ำนที่อยู่อำศัย ได้เกิดผลเสียตำมมำ คือ เอกชนเกิดกำรกว้ำนซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไร (Speculate) สำมำรถซื้อที่ดินทิ้งไว้ โดยรอสำธำรณูปโภคขั้น พื้นฐำนจำกรัฐ ทำให้รำคำที่ดินสูงขึ้นมำก เป็นกำรลงทุนที่มีควำมน่ำสนใจอย่ำงยิ่งสำหรับเอกชน เพรำะ ได้เงินทุนกลับมำ (Capital gain) ที่ดีมำก เพรำะเมื่อลงทุนซื้อที่ดินไว้ เมื่อเกิดกำรสร้ำงสำธำรณูปโภค ขั้นพื้นฐำน จะทำให้รำคำที่ดินเพิ่มขึ้นกว่ำ 15 เท่ำ ที่ดินหลำยร้อยไร่ จึงถูกเปลี่ยนมำยังภำคกำรลงทุน ที่สำคัญเรำส่งเสริมนโยบำยที่อยู่อำศัย แต่ไม่มีระบบกำรเก็บภำษีที่ดิน (Land tax) ที่มี ประสิทธิภำพ และไม่มีกลไกกำรควบคุมกำรซื้อที่ดิน ทำให้เอกชนสำมำรถเป็นเจ้ำของที่ดินไม่จำกัดเป็น หมื่นไร่ได้ ทำให้เกิดควำมยำกลำบำก หำกรัฐต้องกำรจัดรูปที่ดิน (Land Re-adjustment) เพื่อ ประโยชน์สำธำรณะอื่นๆ เพรำะที่ดินอยู่ในกรรมสิทธิ์ของเอกชน ซึ่งขึ้นอยู่กับเอกชนในกำรจัดกำรที่ดิน บำงคนอำจต้องกำรเก็บไว้ บำงคนต้องกำรขำย ซึ่งทำให้กำรจัดรูปที่ดินของรัฐทำได้ยำกมำก ไม่ สำมำรถดำเนินกำรสร้ำงโครงสร้ำงพื้นฐำน หรือแก้ปัญหำที่ดินตำบอดได้ กำรเกิดปัญหำเช่นนี้ส่วนหนึ่ง เป็นเพรำะกฎหมำย หรือกลไกต่ำงๆ ในไทยค่อนข้ำงเอื้อควำมเป็นเสรีนิยมสูง เปิดช่องให้ควำมเป็น
  • 13. 9 ปัจเจก (Individualism) มีมำกกว่ำทำงสังคม (Communalism) ซึ่งทำให้สิทธิ์ในที่ดินของปัจเจก (Individualism) รวมกับกำรนำมำใช้ให้เกิดประโยชน์ (Capitalize) ทำให้รัฐแก้ปัญหำกำรพัฒนำเมืองได้ ยำกยิ่ง 4.2.ปัจจัยการขยายตัวที่อยู่อาศัย : ผังเมืองไทย ในช่วง ปี ค.ศ. 1980 รัฐเปิดโอกำสให้ภำคเอกชนลงทุนทำเรื่องที่อยู่อำศัย ทำให้เกิดกำร ขยำยตัวของที่อยู่อำศัยเพิ่มมำกขึ้น และประกอบกับอีกปัจจัยหนึ่งคือ ประเทศไทยยังคงใช้ผังเมืองที่ เป็นควำมรู้ชุดเก่ำอยู่ เป็นลักษณะผังเมืองแบบ Spatial planning คือ กำรใช้ประโยชน์ของที่ดินที่ไม่ได้ มองควำมสัมพันธ์ของกำยภำพ ระบบกำรเมือง สังคม เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นแผนผัง (Planning) ที่ใช้ตำม ของต่ำงชำติ แต่ต่ำงชำติได้พัฒนำควำมรู้แผนผังไปมำกแล้ว แต่ไทยยังคงใช้ควำมรู้แผนผังแบบนี้อยู่ อย่ำงกรณีที่เกิดกับย่ำนแจ้งวัฒนะ มีคอนโดมิเนียมเกิดขึ้นมำกมำย มีศูนย์รำชกำร เกิดรถติด ถ้ำมอง ในลักษณะของนักผังเมือง คือ กฎหมำยไม่ได้มองเป็นลักษณะของภำพรวม แต่มองแบบเป็นส่วน (Sectoral) เช่น กฎหมำยอำคำร กำหนดถึงจำนวนที่จอดรถของอำคำรคอนโดมิเนียม จริงๆ แล้ว กฎหมำยต้องมองเรื่องควำมสำมำรถ (Capacity) ของถนนเส้นนี้ด้วยว่ำสำมำรถรองรับรถได้จำนวน เท่ำใด เมื่อกฎหมำยไม่ได้วิเครำะห์เรื่องควำมสำมำรถของถนนในกำรรองรับรถ จึงเกิดกำรอนุมัติกำร สร้ำงที่อยู่อำศัยโดยเกินกำลังของโครงสร้ำงพื้นฐำนที่รับได้ ประเด็นส่วนหนึ่งเกิดจำกเรื่องของผังเมือง คือไทยมีผังเมืองรวม (Comprehensive plan) มี ลักษณะครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด แต่ไม่มีกำรทำผังเมืองเฉพำะ (Specific plan) ซึ่งระบบผังเมืองควรเป็น ผังเมืองเฉพำะ (Specific plan) ประเมินในแต่ละเขตถึงควำมสัมพันธ์ในด้ำนต่ำงๆ โดยเฉพำะ ควำมสำมำรถของโครงสร้ำงพื้นฐำนในกำรรองรับคน เช่น ย่ำนหลักสี่ บำงเขน หำกกฎหมำยให้สำมำรถ สร้ำงคอนโดได้ แต่ถ้ำทั้ง 30 กิโลเมตรของถนน เป็นคอนโดมิเนียมทั้งหมด ถนนเส้นนี้อำจจะไม่ สำมำรถรองรับจำนวนรถได้ ซึ่งควรมีกำรทำแผนผังเฉพำะ (Specific plan) เพื่อให้มีข้อมูลประเมิน ควำมสัมพันธ์ในทุกด้ำน แต่ปัจจุบันไม่ได้ทำแผนผังประเมินควำมสำมำรถของพื้นที่ ทำให้สำมำรถสร้ำง คอนโดได้ตลอดของพื้นที่ เพรำะมีพื้นที่ (Land use) ขนำดใหญ่ กำรขำดกำรทำแผนผังเฉพำะ (Specific plan) ทำให้มีกำรอนุมัติกำรทำที่อยู่อำศัย ที่มักจะประเมินเป็นโครงกำร เมื่อแต่ละโครงกำร ผ่ำนกำรอนุมัติ มำอยู่ในพื้นที่เดียวกัน จึงเกิดกำรกระจุกตัวของที่อยู่อำศัย และถนนไม่สำมำรถรองรับ กำรหลั่งไหล และกำรเดินทำงของผู้คนได้ กลำยเป็นปัญหำควำมสัมพันธ์ที่ไม่สมดุลกันระหว่ำงกำรใช้ ประโยชน์ของพื้นที่ และโครงสร้ำงพื้นฐำนที่ไม่สำมำรถรองรับผู้คนได้
  • 14. 10 ส่วนที่ 2 ความเป็นเมืองของนนทบุรีและทิศทางการพัฒนาในอนาคต จำกเมืองใหญ่อย่ำงกรุงเทพมหำนคร ที่มีควำมเป็นเมืองแบบโตเดี่ยวของไทย ได้กระจำยขยำยตัว ควำมเป็นเมือง(Urbanization) ตำมธรรมชำติ เข้ำสู่พื้นที่ปริมณฑลที่ติดกับกรุงเทพมหำนคร โดยเฉพำะ จังหวัดนนทบุรี ที่รับกำรขยำยตัวควำมเป็นเมืองจำกกรุงเทพมหำนคร ทำให้ปัจจุบันนี้จะสังเกตได้ว่ำจังหวัด นนทบุรี เป็นจังหวัดที่มีควำมเป็นเมืองใกล้เคียงกับกรุงเทพมหำนครมำก จนไม่สำมำรถแยกได้ว่ำเขตพื้นที่ กรุงเทพกับนนทบุรีมีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงไร เกิดกำรขยำยตัวของที่อยู่อำศัยสูงมำก มีประชำกรอำศัยอยู่ เป็นจำนวนมำก โดยเฉพำะบนถนนแจ้งวัฒนะ ปำกเกร็ด เป็นที่ตั้งของศูนย์รำชกำร หัวข้อนี้จะนำเสนอถึง ลักษณะของพื้นที่จังหวัดนนทบุรี กำรใช้ประโยชน์ของที่ดิน และแนวโน้มในอนำคตของจังหวัดนนทบุรี กับ ควำมเป็นเมืองที่กำลังเกิดขึ้น 1. ลักษณะพื้นที่การใช้ประโยชน์ของจังหวัดนนทบุรี ลักษณะกำรใช้ประโยชน์ของพื้นที่จังหวัดนนทบุรีมีหลำยแบบ ยังคงมีกำรใช้ประโยชน์เป็นที่อยู่ อำศัยหนำแน่น ที่ตั้งของพำณิชย์และกำรบริกำร ศูนย์รำชกำร และยังคงมีพื้นที่เกษตรกรรมอยู่ โดย สำมำรถแบ่งลักษณะพื้นที่ของจังหวัดนนทบุรี ได้ 3 ส่วนตำมผังเมืองและกำรใช้ประโยชน์ (ภำพที่ 5)  ส่วนที่ 1 บริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้ำพระยำ บริเวณบำงส่วนของอำเภอเมืองนนทบุรีและ อำเภอปำกเกร็ด เป็นพื้นที่ที่ต่อจำกกรุงเทพมหำนคร ติดต่อกับทิศเหนือของกรุงเทพฯ คือ แจ้ง วัฒนะด้ำนบน รัตนำธิเบศร์ ติวำนนท์ แครำย บริเวณส่วนที่ 1 นี้มีควำมเป็นเมือง และมีควำมเจริญ มำก เหมือนกรุงเทพฯ มีสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำน ถ้ำดูทำงกำยภำพแทบไม่สำมำรถแยกพื้นที่ บริเวณนี้ของนนทบุรีกับกรุงเทพมหำนครได้  ส่วนที่ 2 บริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้ำพระยำ บริเวณบำงส่วนของอำเภอปำกเกร็ด อำเภอเมือง นนทบุรี และอำเภอบำงใหญ่ และบริเวณอำเภอบำงบัวทอง พื้นที่บริเวณนี้เริ่มเป็นพื้นที่ที่เปลี่ยน กำรใช้ประโยชน์ ซึ่งพื้นที่ 95 เปอร์เซ็นต์ของจังหวัดนนทบุรีเป็นของเอกชน จำกเดิมเคยเป็นสวน ผลไม้ เปลี่ยนกำรใช้ประโยชน์ริมถนนใหญ่ สร้ำงอำคำรพำณิชย์ สำนักงำนใหญ่ คอนโดมิเนียม พื้นที่ข้ำงใน เนื่องจำกโครงสร้ำงเดิมเป็นพื้นที่เก่ำเป็นพื้นที่สวน แถวบำงบัวทอง มีถนนหลักเพียง ไม่กี่เส้น คือ กำญจนำภิเษก รำชพฤกษ์ แจ้งวัฒนะ รัตนำธิเบศร์ พื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่เกิดกำร พัฒนำแบบไร้ทิศทำงอย่ำงสิ้นเชิง มีถนนน้อยมำก ทำให้เกิดเป็นพื้นที่ Super block ขนำดใหญ่ โครงสร้ำงข้ำงใน เป็นถนนเป็นสองเลนเล็กๆ หำกขับรถอยู่ถนน รัตนำธิเบศร์ ถนนยังคงเป็นแปด เลน แต่หำกขับรถเข้ำถนนในท่ำอิฐ ถนนจะเป็นสองเลนทันที ซึ่งไม่มีระบบกำรจัดถนนที่ดี เพรำะ เป็นที่เอกชนเกือบทั้งหมด ไม่มีแผนกำรใช้ที่ดิน (Land use) ไม่มีกำรวำงผังเมืองเฉพำะ (Specific plan) สำมำรถถม เปลี่ยนพื้นที่ท่อระบำยต่ำงๆได้ เกิดกำรถมทำงน้ำ เมื่อเวลำน้ำไหลมำไม่ สำมำรถไหลผ่ำนได้ พื้นที่บริเวณนี้จึงเกิดน้ำเน่ำ น้ำท่วม เป็นต้น ทำให้พื้นที่เกษตรไม่สำมำรถทำ ประโยชน์ได้ แม้ในแผนกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land use) สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ แต่ใน
  • 15. 11 ควำมเป็นจริงไม่สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เป็นพื้นที่เปล่ำ ได้เปลี่ยนกำรใช้ประโยชน์จำกเกษตร เป็นพื้นที่เพื่อกำรอยู่อำศัยเกือบทั้งหมดแล้ว  ส่วนที่ 3 บริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้ำพระยำ บริเวณอำเภอไทรน้อย อำเภอบำงกรวย และ บำงส่วนของอำเภอบำงใหญ่ พื้นที่บริเวณนี้ยังคงเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เนื่องจำกกำรคมนำคม และสำธำรณูปโภคขั้นพื้นฐำนยังไม่พร้อมมำก 2. แนวโน้มในอนาคตในของจังหวัดนนทบุรี 2.1.แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม-เศรษฐกิจ  กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ผลิตภาพของจังหวัดมีแนวโน้มที่จะเติบโตไปสู่ความเป็นเมือง โดย มีฐำนทำงเศรษฐกิจที่สำคัญในภำคบริกำร ซึ่งมีดัชนีมวลรวมในสัดส่วนที่สูงขึ้น ในขณะที่ดัชนีมวล รวมในภำคกำรเกษตรมีแนวโน้มลดลง สำมำรถวิเครำะห์ได้ว่ำ จังหวัดนนทบุรีมีแนวโน้มเข้ำสู่ ควำมเป็นเมืองที่ต้องกำรระบบสำธำรณูปโภค สำธำรณูปกำร และกำรคมนำคมที่มีควำมเพียงพอ  กิจกรรมทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมมีแนวโน้มลดลง ซึ่งเป็นข้อมูลที่ตรงกับข้อมูลของ หอกำรค้ำจังหวัด และข้อมูลจำกอุตสำหกรรมจังหวัด ส่วนหนึ่งเพรำะที่ดินมีรำคำแพงขึ้น ทำให้ หลำยโรงงำนปิดตัวลง ส่วนใหญ่จะเป็นอุตสำหกรรมที่ไม่มีมลพิษที่ยังดำเนินต่อได้ และภำค บริกำรและค้ำปลีกพำณิชย์แนวโน้มสูงขึ้น เป็นผลิตภำพที่สูงของจังหวัดนนทบุรี ในขณะที่ เกษตรกรรมเหลือเพียงไม่ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดนนทบุรี (GPP) ทำให้ ภำพที่ 5 ลักษณะพื้นที่ของจังหวัดนนทบุรี
  • 16. 12 นโยบำยและวิสัยทัศน์ของจังหวัดนนทบุรี จึงไม่ใช่เรื่องของเศรษฐกิจ แต่เป็นนโยบำยเกี่ยวกับ นโยบำยที่อยู่อำศัยชั้นดี เพรำะที่อยู่อำศัยขยำยตัวในจังหวัดนนทบุรีจำนวนมำก  ลักษณะโครงสร้างประชากร พบว่าจังหวัดนนทบุรีมีลักษณะพึ่งพิง ในเชิงพื้นที่กับ กรุงเทพมหานครในฐานะเป็นแหล่งจ้างงาน จังหวัดนนทบุรีมีประชำกรแฝงเพิ่มขึ้น ซึ่งอำจจะ มำกกว่ำประชำกรในทะเบียนรำษฎร์ ในทะเบียนรำษฎร์มีประชำกรประมำณ 1,400,000 คน หำก รวมกับประชำกรแฝงจะสูงถึง 2 ล้ำนกว่ำคน และมีแนวโน้มจำนวนประชำกรของจังหวัดเพิ่มสูงขึ้น อย่ำงต่อเนื่อง ในขณะที่อัตรำกำรเกิดและอัตรำกำรตำยมีควำมเปลี่ยนแปลงน้อย อีกทั้งอำยุเฉลี่ย ของประชำกรในจังหวัดนนทบุรีกลับมีแนวโน้มลดลง เหล่ำนี้แสดงให้เห็นกำรเปลี่ยนแปลงของ ประชำกรในจังหวัดที่มำจำกปัจจัยกำรย้ำยถิ่นเป็นสำคัญ หมำยถึงกำรเพิ่มขึ้นมำกของคนในวัย ทำงำน นอกจำกนี้ประชำกรในจังหวัดนนทบุรีมีลักษณะพึ่งพิงกรุงเทพฯ สูง เพรำะเข้ำมำทำงำน ในกรุงเทพฯ จำนวนมำก ทำให้มีปริมำณกำรใช้รถเข้ำมำทำงำนในกรุงเทพฯ สูง 2.2.แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นที่อยู่อาศัยและรูปร่างเมือง  ราคาที่ดินในจังหวัดนนทบุรีมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างมาก เนื่องจำกกำรขยำยตัวของเมืองเพื่อ กำรอยู่อำศัยที่เกิดขึ้น เพื่อรองรับแหล่งจ้ำงงำนรอบกรุงเทพมหำนคร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งที่ดินตำม แนวระบบถนนสำยหลักและกำรขนส่งมวลชนสำธำรณะระบบรำง ทำให้รำคำที่ดินเพิ่มสูงขึ้นส่งผล ต่อรูปร่ำงและควำมหนำแน่นเพื่อให้กลุ่มคนผู้มีรำยได้น้อย-ปำนกลำงสำมำรถเข้ำถึงกำรมีที่อยู่ อำศัยได้ตำมกลไกตลำด อีกทั้งกำรถือครองที่ดินในจังหวัดนนทบุรีร้อยละ 95 เป็นกำรถือครอง โดยเอกชน ส่วนรำชกำรมีพื้นที่ เพียง ร้อยละ 5 ของพื้นที่ทั้งหมด (ภำพที่ 6 สีเหลืองแสดงถึง พื้นที่ของเอกชน และสีฟ้ำแสดงถึงพื้นที่ในกำรครอบของรัฐ) ส่งผลให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงกำรใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อกำรอยู่อำศัยมำกขึ้น เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้รำคำที่ดินรำคำสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้ มีรำยได้น้อยไม่สำมำรถเข้ำถึงแหล่งที่อยู่อำศัยรำคำถูกได้  เกิดความหนาแน่นของพื้นที่รอบสถานีรถไฟ เนื่องจำกกำรพัฒนำระบบขนส่งมวลชน สำธำรณะระบบรำงที่เชื่อมต่อจำกกรุงเทพมหำนครสู่จังหวัดนนทบุรี ทั้งโครงกำรรถไฟฟ้ำสำยสี ม่วง และสำยสีชมพู ส่งผลให้เกิดกำรเร่งให้มีกำรเปลี่ยนแปลงของควำมหนำแน่นโดยรอบสถำนี อย่ำงมีนัยยะสำคัญ โดยมีแนวโน้มสูงขึ้นมำก โดยเฉพำะควำมหนำแน่นที่อยู่อำศัย เนื่องมำจำกอยู่ ใกล้กับสถำนี เพื่อควำมสะดวกในกำรเดินทำง เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ยิ่งกระตุ้นให้เกิดกำรขยำยตัว ของเมือง (ภำพที่ 7)
  • 17. 13 ภำพที่ 6 กำรถือครองที่ดินในจังหวัดนนทบุรี ภำพที่ 7 บริเวณที่มีแนวโน้มในกำรขยำยตัวควำมเป็นเมือง
  • 18. 14 3. นโยบายที่อยู่อาศัยของจังหวัดนนทบุรี กำรขยำยตัวของประชำกรในจังหวัดนนทบุรี ทำให้มีกำรลงทุนด้ำนที่อยู่อำศัยเพิ่มจำนวนมำก โดยเฉพำะบริเวณที่ติดกับกรุงเทพมหำนคร อย่ำงอำเภอเมืองนนทบุรี ปำกเกร็ด อีกทั้งมีกำรกระจำยตัว ของประชำกรและที่อยู่อำศัยในอำเภอบำงบัวทอง ทำให้มีกำรกำหนดเป้ำประสงค์และวิสัยทัศน์ในข้อมูล แผนพัฒนำจังหวัดนนทบุรี ให้จังหวัดนนทบุรีเป็นแหล่งที่อำศัยชั้นดีของคนทุกระดับ รองรับกำรขยำยตัว ของประชำกร เมื่อคณะศึกษำ3 ได้ศึกษำแผนนโยบำยด้ำนที่อยู่อำศัยของจังหวัดนนทบุรี โดยใช้วิธีกำร รวบรวม ศึกษำ (Review) จำกแผนนโยบำยขององค์กรส่วนท้องถิ่น 3 ปี พ.ศ.2557-2559 ซึ่งมีอยู่ ประมำณ 1,000 กว่ำแผน (ตำรำงที่ 1) พบว่ำไม่มีแผนงำนเกี่ยวกับกำรพัฒนำด้ำนที่อยู่อำศัยตำม นโยบำยที่วำงไว้ มีเพียงแผนงำนที่เกี่ยวกับกำรสร้ำงโครงสร้ำงพื้นฐำน กำรซ่อมถนน ทำท่อระบำย พัฒนำด้ำนสิ่งแวดล้อม เป็นต้น โดยไม่มีกำรกำหนดเกี่ยวกับทิศทำงเรื่องที่อยู่อำศัยชั้นดี เมื่อศึกษำเพิ่มเติมมำกขึ้น พบว่ำจังหวัดนนทบุรียังไม่สำมำรถดำเนินกำรด้ำนที่อยู่อำศัย เนื่องจำก ติดปัญหำของพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเอกชน ไม่มีงบประมำณไปเวนคืนที่ของเอกชน ไม่มี พ.ร.บ.ด้ำนกำรผัง เมือง จึงทำได้เพียงซ่อมพื้นผิว ทำท่อระบำย ลงทุนด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำนได้เท่ำนั้น 3 ทีมงำนที่ศึกษำกำรวำงมำตรฐำนที่อยู่อำศัยชุมชนแออัด และวำงแผนภัยพิบัติในจังหวัดนนทบุรี ร่วมกับ สถำบันพัฒนำองค์กรชุมชน (พอช.) ปี 2556 ตำรำงที่ 1 ทบทวนแผนพัฒนำ 3 ปี (พ.ศ. 2557-2559) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)
  • 19. 15 4. แผนพัฒนาจังหวัดนนทบุรี จำกแนวโน้มในอนำคตของจังหวัดนนทบุรี คำดว่ำจะมีประชำกรและที่อยู่อำศัยเพิ่มขึ้น ส่งผลถึง ควำมหนำแน่นของกำรใช้พื้นที่ในจังหวัดนนทบุรี ประกอบกับปัจจุบันกำรพัฒนำเมืองในจังหวัดนนทบุรี เป็นกำรพัฒนำเมืองอย่ำงไร้ทิศทำง เนื่องจำกติดปัญหำหลำยอย่ำง โดยเฉพำะกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่เป็น ของเอกชน ทำให้ดำเนินกำรติดปัญหำมำก อีกทั้งมีปัญหำเรื่องผังเมือง เนื่องจำกผังเมืองไม่ว่ำจะระดับ จังหวัดหรือผังเมืองรวม จะถูกส่งขึ้นไปที่ผังเมืองระดับชำติ โดยมีคณะกรรมกำรผังเมืองพิจำรณำ ทำให้ อำนำจตัดสินใจเรื่องผังเมืองไม่ได้อยู่ท้องถิ่นหรือชุมชน ซึ่งต่ำงประเทศมีกลไกให้ท้องถิ่นดูแลเรื่องผัง เมืองเพื่อจะได้ตัดสินใจและสำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที คณะศึกษำจึงเสนอแผนพัฒนำที่อยู่อำศัย ในจังหวัดนนทบุรี เพื่อปรับให้พื้นที่ให้จังหวัดนนทบุรีสำมำรถรองรับที่อยู่อำศัย และแผนกำรใช้ที่ดิน (Land use) อย่ำงเหมำะสมได้ จำกแผนผังกำรวำงแผนกำรพัฒนำที่อยู่อำศัยระดับเมือง (ภำพที่ 8) ในอนำคตช่วงสีน้ำตำลและ สีส้มจะเป็นพื้นที่ควำมหนำแน่นสูง มีประชำกรและที่อยู่อำศัยจำนวนมำก รำคำที่ดินค่อนข้ำงสูง และ กำลังจะมีรถไฟฟ้ำผ่ำนเข้ำไปในตัวจังหวัด เมื่อมีกำรคมนำคมอย่ำงรถไฟฟ้ำ จังหวัดนนทบุรีควรมี แผนกำรทำแผนนโยบำยพัฒนำพื้นที่รอบสถำนีขนส่งมวลชน หรือ Transit oriented development (TOD) ในกำรใช้พื้นที่ให้มีควำมเหมำะสม เน้นกำรออกแบบกำรเข้ำถึงระบบขนส่งมวลชนอย่ำงมี ประสิทธิภำพ เช่น มีกำรเชื่อมต่อระหว่ำงรถโดยสำรอื่นๆ เช่น แท็กซี่ มอเตอร์ไซด์ ออกแบบสถำนี จอดรถขนส่งมวลชน (transit station) หรือที่หยุดรถ (transit stop) ให้มีควำมสะดวก สบำย และ ปลอดภัย เช่น มีทำงเดินเข้ำถึงสถำนีที่กว้ำงขวำงได้มำตรฐำน มีที่กันแดดฝน มีป้ำยสัญลักษณ์ที่ จำเป็นสำหรับคนเดินทำง มีมุมขำยเครื่องดื่มหรือสิ่งพิมพ์ ห้องน้ำ และมีไฟส่องสว่ำงที่เพียงพอ เป็น ต้น กำรพัฒนำพื้นที่โดยรอบสถำนีขนส่งมวลชน หรือ Transit oriented development (TOD) จะ ช่วยลดปัญหำด้ำนกำรจรำจรและขนส่งอย่ำงมีประสิทธิภำพ และจัดกำรที่ต้นเหตุคือพฤติกรรมกำร เดินทำงของคน โดยอำศัยองค์ประกอบด้ำนกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land use) ประกอบกำรพัฒนำ และออกแบบพื้นที่เมืองหรือชุมชนบริเวณโดยรอบสถำนี สร้ำงชุมชนที่ลดกำรพึ่งพำพลังงำน เชื้อเพลิงและลดมลพิษทำงอำกำศจำกกำรใช้รถยนต์ที่มำกเกิน ลดกำรเติบโตเมืองอย่ำงไร้ทิศทำง (Urban sprawl) ส่งเสริมชุมชนให้เป็นชุมชนแห่งสุขภำวะ (Healthy communities) ที่ประชำกรมี ทำงเลือกในกำรเดินทำงและดีต่อสุขภำพของตน เช่น กำรเดิน และขี่จักรยำน มำกขึ้น ด้วยเหตุนี้ จังหวัดนนทบุรีควรมีแผน TOD สำหรับกำรมีรถไฟฟ้ำ จำกแผนผังของจังหวัดนนทบุรี(ภำพที่ 9) พื้นที่สีแดงควรเป็นพื้นที่ในกำรพัฒนำพื้นที่โดยรอบสถำนีขนส่งมวลชน (TOD) แผนการทาแผนนโยบายพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD)
  • 20. 16 ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาที่อยู่อาศัยในพื้นที่นาร่อง : ตาบลท่าอิฐ และข้อเสนอการพัฒนาเมือง คณะศึกษำได้ศึกษำ และวำงแผนพัฒนำที่อยู่อำศัยในพื้นที่นำร่อง เพื่อเป็นที่ต้นแบบในกำรพัฒนำที่ อยู่อำศัยของจังหวัดนนทบุรี โดยเลือกพื้นที่นำร่อง คือ ตำบลท่ำอิฐ ซึ่งมีอำณำบริเวณอยู่ในพื้นที่ฝั่ง ตะวันตกของแม่น้ำเจ้ำพระยำอยู่ในเขตกำรปกครองของอำเภอปำกเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ครอบคลุมพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 5.76 ตำรำงกิโลเมตร สำเหตุที่เลือกพื้นที่ตำบลท่ำอิฐเป็นพื้นที่วำงแผนพัฒนำที่อยู่อำศัยนำ ร่อง เนื่องจำกพื้นที่ตำบลท่ำอิฐ มีลักษณะพื้นที่จำลองโครงสร้ำงของจังหวัดนนทบุรี คือเปลี่ยนกำรใช้ ประโยชน์ของพื้นที่จำกเกษตรกรรมสู่กำรทำที่อยู่อำศัยและกำรทำพำณิชยกรรม 1. ลักษณะพื้นที่นาร่อง : ตาบลท่าอิฐ จำกข้อมูลพื้นฐำนและกำรสำรวจพื้นที่จริง สำมำรถสรุปรูปแบบของชุมชนพักอำศัยในตำบลท่ำอิฐ ได้เป็น 4 รูปแบบ คล้ำยกับโครงสร้ำงพื้นที่จังหวัดนนทบุรีที่มีทั้งควำมเป็นเมือง และชนบท ดังต่อไปนี้  ชุมชนดั้งเดิม (ภำพที่ 9 -10) แบ่งออกเป็นชุมชนริมแม่น้ำเจ้ำพระยำ และชุมชนที่ ขยำยตัวจำกชุมชนริมน้ำในอดีต ชุมชนดั้งเดิมนี้ส่วนใหญ่จะมีกำรตั้งถิ่นฐำนในหมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 6 หมู่ 7 หมู่ 8 หมู่ 9 และหมู่ 10 (ภำพที่ 8) แผนผังกำรพัฒนำที่อยู่อำศัยในจังหวัดนนทบุรี
  • 21. 17  ชุมชนเกษตรกรรม (ภำพที่ 11-12) ส่วนใหญ่เป็นลักษณะประเภทบ้ำนเดี่ยว ที่มีควำม หนำแน่นน้อย กระจำยตัวตำมที่ดินที่ใช้เพื่อกำรเกษตรกรรม จะมีกำรตั้งถิ่นฐำนในหมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 3 หมู่ 6 และหมู่ 9  ชุมชนหมู่บ้านจัดสรร (ภำพที่ 13 -14 ) เป็นชุมชนใหม่ที่เกิดจำกกำรพัฒนำเมืองและ กำรขยำยตัวของเมือง ชุมชนหมู่บ้ำนจัดสรรนี้ส่วนใหญ่จะมีกำรตั้งถิ่นฐำนในหมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 3 หมู่ 5 หมู่ 6 ภำพที่ 9 -10 ชุมชนดั้งเดิมในตำบลท่ำอิฐ ภำพที่ 11-12 ชุมชนเกษตรกรรมในตำบลท่ำอิฐ ภำพที่ 13 -14 ชุมชนหมู่บ้ำนจัดสรรในตำบลท่ำอิฐ
  • 22. 18  ชุมชนพักอาศัยกึ่งพาณิชยกรรม (ภำพที่ 15 -16) เป็นกำรผสมระหว่ำงค้ำขำยและพัก อำศัย จะมีกำรตั้งถิ่นฐำนในหมู่ 1 และหมู่ 6 2. การจัดทาแผนที่อยู่อาศัยระดับพื้นที่นาร่อง กำรจัดทำแผนที่อยู่อำศัยนำร่องของตำบลท่ำอิฐ คณะศึกษำใช้แนวคิดกำรทำผังเมืองเฉพำะ (Specific plan) ประสำนควำมร่วมมือให้ท้องถิ่นและชุมชนประชุมระดมควำมคิดเห็นจัดทำแผนผัง เมืองเฉพำะ (Specific plan) เพื่อกำรจัดสรรพื้นที่ (Zoning) ที่อยู่อำศัยของตนเอง (ภำพที่ 17-18) โดย ปกติผังเมืองรวมที่มีอยู่ จะมีรำยละเอียด Zoning เกี่ยวกับที่อยู่อำศัย พำณิชยกรรม เกษตรกรรม อุตสำหกรรม แต่กำรวำงเมืองเฉพำะ (Specific plan) ที่อยู่อำศัย ควรจะมีรำยละเอียดของที่อยู่อำศัย เอง เช่น กำรจัดสรรพื้นที่ริมน้ำ พื้นที่ในกำรสร้ำงคอนโด พื้นที่เกษตร ชุมชนดั้งเดิม สำธำรณูปโภค ต่ำงๆ ควรอยู่ตรงไหนอย่ำงไร ต้องมีรำยละเอียดที่ชัดเจน เป็นข้อตกลงร่วมกัน โดยให้ท้องถิ่นและ ชุมชนเป็นคนออกแบบด้วยตนเอง เพื่อนำไปสู่โครงกำรกำรปรับปรุงจัดสรรพื้นที่ของตนเอง ภำพที่ 15 -16 ชุมชนพักอำศัยกึ่งพำณิชยกรรมในตำบลท่ำอิฐ (ภำพที่ 17-18) กำรระดมควำมคิดเห็นของชุมชนในกำรจัดทำ Zoning ที่อยู่อำศัย
  • 23. 19 นอกจำกกำรกำรจัดสรรพื้นที่ (Zoning) ที่อยู่อำศัยแล้ว ท้องถิ่นและชุมชนเอง มีแผนปฏิบัติกำร กำรปรับปรุงที่อยู่อำศัยบนที่ดินเดิมของตนเองด้วย เช่น กำรขยำยทำงเดิมในชุมชน เชื่อมบ้ำนริมน้ำ และทำงเดิมริมน้ำ เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหำต่ำงๆ เช่น อำชญำกรรม กำรเกิดอัคคีภัย หรือโครงกำร เพิ่มพื้นที่สีเขียวในที่ว่ำงของชุมชน เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของคนในชุมชน รวมทั้งจัดสรรเป็นพื้นที่จอด รถจักรยำนยนตร์เพื่อควำมเป็นระเบียบของชุมชน และมีโครงกำรพัฒนำพื้นที่อยู่อำศัยอีกมำกมำย เช่น กำรสร้ำงแนวเขื่อน กำรสร้ำงกระเช้ำข้ำมฟำก กำรปรับปรุงที่อยู่อำศัยเชิงรำบและเชิงสูง ปรับปรุง ทำงเดินริมน้ำ เป็นต้น รวมไปถึงแผนโครงกำรท่องเที่ยวท่ำอิฐ (ภำพที่ 19) สร้ำงท่ำอิฐให้เป็นสถำนที่ ท่องเที่ยว เพิ่มรำยได้ให้ชุมชน จึงต้องมีกำรปรับพื้นที่บริเวณนั้นให้มีควำมพร้อมในกำรต้อนรับ นักท่องเที่ยวด้วย 3. ข้อเสนอแนะการพัฒนาเมือง จังหวัดนนทบุรี มีวิสัยทัศน์และนโยบำยพัฒนำที่อยู่อำศัยชั้นดี จำกกำรเป็นพื้นที่รองรับกำร ขยำยตัวของประชำกรจำกกรุงเทพมหำนคร มีประชำกรหนำแน่นสูง และเป็นพื้นที่ที่เปลี่ยนกำรใช้ ประโยชน์จำกพื้นที่เกษตร กลำยเป็นพื้นที่สำหรับที่อยู่อำศัย แม้จะมีวิสัยทัศน์และนโยบำยเกี่ยวกับ กำรพัฒนำที่อยู่อำศัยชั้นดี แต่จำกแผนกำรดำเนินงำนยังไม่มีควำมเกี่ยวข้องกับที่กำรพัฒนำที่อยู่อำศัย ชั้นดี เนื่องจำกไม่มีกลไกที่จะสำมำรถดำเนินกำรได้ ติดปัญหำพื้นที่เป็นของเอกชนเกือบทั้งหมด ท้องถิ่นและชุมชนไม่มีอำนำจตัดสินใจเรื่องผังเมือง คณะศึกษำจึงมีข้อเสนอแนะกำรพัฒนำเมืองดังนี้ 3.1. ข้อเสนอแนะระดับเมือง : การจัดตั้งมีคณะกรรมการบริหารเมืองเฉพาะเรื่อง ในกำรดำเนินกำรด้ำนยุทธศำสตร์ของจังหวัดนนทบุรี มีกลไกสำคัญที่ช่วยดูแลและควบคุม ยุทธศำสตร์ในด้ำนต่ำงๆ คือ คณะกรรมกำรบริหำรยุทธศำสตร์จังหวัด (กบจ.) ซึ่งมีนโยบำยด้ำน กำรพัฒนำที่อยู่อำศัย ซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบำยที่สำคัญของจังหวัดนนทบุรี จึงควรมีกำรจัดตั้ง (ภำพที่ 19) แผนโครงกำรท่องเที่ยวท่ำอิฐ
  • 24. 20 อนุกรรมกำรภำยใต้คณะกรรมกำรบริหำรยุทธศำสตร์จังหวัด เพื่อมีบทบำทสำคัญในกำรควบคุม ดูแล และนำแผนงำนด้ำนที่อยู่อำศัยไปสู่กำรปฏิบัติ ได้อย่ำงสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของจังหวัด โดยเฉพำะ และก่อให้เกิดประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำรที่อยู่อำศัย และบรรเทำปัญหำชุมชน แออัด และกำรขำดแคลนที่อยู่อำศัยของผู้มีรำยได้น้อยได้ (ภำพที่ 20) 3.2. ข้อเสนอแนะระดับพื้นที่ : แนะนาองค์ความรู้ด้านการวางและจัดทาผังเมืองรวมให้ชุมชน องค์กำรบริหำรส่วนตำบลท่ำอิฐเป็นพื้นที่ที่กำลังประสบปัญหำกำรจัดสรรที่ดินเพื่อกำรอยู่ อำศัยเกิดขึ้นอย่ำงรวดเร็วและขยำยตัวไร้ทิศทำงตำมกลไกตลำด กลไกหรือเครื่องมือในทำง กฎหมำยที่ท้องถิ่นสำมำรถดำเนินกำรเพื่อควบคุมกำรเติบโตทำงด้ำนที่อยู่อำศัยเช่นนี้ จำเป็น จะต้องเรียนรู้และทำควำมเข้ำใจในด้ำนกำรวำงผังชุมชนหรือผัง อบต. เพื่อใช้ควบคุมและชี้นำ กำรพัฒนำอย่ำงเหมำะสม สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของตำบล ในเบื้องต้นทำงคณะศึกษำได้แนะนำ องค์ควำมรู้ด้ำนกำรวำงและจัดทำผังเมืองรวมชุมชน จัดทำแผนผังเฉพำะ (Specific plan) เพื่อ กระตุ้นให้ท้องถิ่นรับทรำบถึงช่องทำงในกำรใช้งำนเครื่องมือทำงกฎหมำยเพื่อใช้ควบคุมและชี้นำ กำรพัฒนำด้ำนที่อยู่อำศัยภำยในพื้นที่ตนเอง โดยกำรวำงแผนกำรใช้ประโยชน์ที่ดินที่สอดคล้อง กับปัจจุบัน และสำมำรถรองรับในอนำคตได้ 3.3. ข้อเสนอแนะเชิงกลไก : ควรมี พ.ร.บ. การพัฒนาเมือง ควรมีกลไกเชิงกฎหมำยในกำรส่งเสริมกำรพัฒนำเมืองอย่ำงเหมำะสมในรูปแบบของ พ.ร.บ. กำรพัฒนำเมือง โดยใช้อำนำจกลไกจังหวัดในกำรแก้ไขปัญหำ โดยมีคณะกรรมกำรที่มำจำก หลำยภำคส่วน จำกจังหวัด ท้องถิ่น ชุมชน ภำคประชำสังคม เป็นภำคีเครือข่ำยมีอำนำจใช้กลไก ในกำรแก้ไขปัญหำ เพรำะปัจจุบันท้องถิ่นไม่มีอำนำจในกำรดูแลเรื่องผังเมือง ทำให้ไม่สำมำรถ ตัดสินใจดำเนินกำรได้ด้วยตนเอง จึงควรมีกลไกอย่ำง พ.ร.บ.กำรพัฒนำเมือง โดยมีสำระสำคัญ ทำงด้ำนแนวคิด ประกอบด้วย  เติมเต็มช่องว่ำงของกำรพัฒนำเมืองระหว่ำงกำรควบคุมในระดับมหภำค (อำทิ ผังเมือง รวม และกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำยภำพต่ำงๆ) และควำมต้องกำรกำรส่งเสริมกำร พัฒนำจำกคนในท้องถิ่น  กำรสร้ำงทิศทำงควำมเหมำะสมของกำรพัฒนำที่ดินและควำมต่อเนื่องของที่ดินขนำดใหญ่  หลักกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรฟื้นฟูและพัฒนำเมือง