SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
องค์การบริหารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                        Student Government of Chulalongkorn University
                           ชั้น 3 อาคารจุลจักรพงษ์ ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ 10330 โทรศัพท์/โทรสาร (02) 218-7040

ที่ อจช.001-024 /2553                                                                        ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท
                                                                                             หน่วยจุฬาฯ-ชนบท
                                                                                             จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                                                     21 มกราคม 2553

เรื่ อง ขอความอนุเคราะห์งบประมาณสนับสนุนโครงการค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทครั้งที่ 22
เรี ยน คณะกรรมการพิจารณาทุน
สิ่ งที่ส่งมาด้วย รายละเอียดโครงการค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ครั้งที่ 22 ปี การศึกษา 2553

         เนื่องด้วยกลุ่มนิสิตโครงการจุฬาฯ-ชนบท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษาและการทา
กิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อสังคม จึงมีการรวมกลุ่มกันเพื่อจัดโครงการค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทขึ้นเป็ นประจาทุกปี เริ่ มตั้งแต่
พ.ศ. 2531 มาจนถึงปัจจุบน ซึ่งในปี การศึกษา 2553 นี้ ทางค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท จะได้จดโครงการค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-
                          ั                                                               ั
ชนบท ครั้งที่ 22 ขึ้นที่โรงเรี ยนบ้านน้ ากระโทม บ้านน้ ากระโทม ตาบลท่าลี่ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย ในระหว่างวันที่ 16 - 31
มีนาคม 2554 โดยมีวตถุประสงค์เพื่อปลูกสร้างอาคารเอนกประสงค์
                        ั                                               ตลอดจนมีการจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อเป็ นประโยชน์ต่อ
หมู่บาน ชุมชน และนามาซึ่งการพัฒนาศักยภาพของนิสิตต่อไป
     ้
         ดังนั้น ทางค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท จึงขอความอนุเคราะห์มายังท่านในการพิจารณางบประมาณเพื่อสนับสนุน
โครงการ ทั้งนี้เพื่อให้การดาเนินโครงการในครั้งนี้บรรลุความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ (ดังรายละเอียดที่แนบมานี้)

        จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุเคราะห์ ทางคณะผูปฏิบติงานหวังเป็ นอย่างยิงว่าจะได้รับการสนับสนุนจากท่านเป็ นอย่าง
                                                      ้ ั                      ่
ดีและขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้

                                                                              ขอแสดงความนับถือ


                                                                           ( นายปิ ยะณัฐ เชื้อบัณฑิต )
                                                                 ประธานค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ครั้งที่ 22




        ( รศ.น.สพ.ดร.มานพ ม่วงใหญ่ )
         หัวหน้าหน่วยจุฬาฯ-ชนบท
           อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ
หมายเหตุ ; โทรศัพท์ 089-7821321 ประธานค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ครั้งที่ 22
ชื่อโครงการ              ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท
หน่ วยงานทีรับผิดชอบ
            ่            กลุ่มนิสิตจุฬาฯ-ชนบท ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ฝ่ ายพัฒนาสังคมและบาเพ็ญประโยชน์
                         องค์การบริ หารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาจารย์ ทปรึกษาโครงการ รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.มานพ ม่วงใหญ่
           ี่
                         หัวหน้าหน่วยจุฬาฯ-ชนบท
นิสิตผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายปิ ยะณัฐ เชื้อบัณฑิต         รหัสนิสิต 513 77600 39 (08-9782-1321)
                         2.นายซุฟยาน       สิ นา           รหัสนิสิต 514 35585 27 (08-3184-4831)
                         3.นายชาญชัย       ม่วงดี          รหัสนิสิต 513 77250 39 (08-0613-1448)

หลักการและเหตุผล
          จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีโครงการรับนักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนดีที่แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์จากชนบท โดยให้การ
สนับสนุนทุนการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเริ่ มดาเนินโครงการมาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2525 เป็ นต้น
มา ซึ่งรับสมัครนิสิตเข้าศึกษาในคณะต่างๆ ดังนี้ สัตวแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ สหเวชศาสตร์ พาณิ ชศาสตร์
และการบัญชี รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ ครุ ศาสตร์ จิตวิทยา นิเทศศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์การกีฬา โดยมีวตถุประสงค์เพื่อส่งเสริ มการศึกษาและเพื่อให้บณฑิตออกไปพัฒนาสังคม ขณะที่ระบบการศึกษาใน
                              ั                                         ั
มหาวิทยาลัยมุ่งเน้นการศึกษาในห้องเรี ยนมากกว่าที่จะเสริ มสร้างความรู ้และประสบการณ์จากการปฏิบติจริ ง โครงการจุฬาฯ-
                                                                                                    ั
ชนบทจึงได้เล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาศักยภาพของนิสิตเพือนาความรู ้ไปใช้ปฏิบติจริ งในการพัฒนาชนบท ด้วยการจัด
                                                                ่                  ั
กิจกรรมเพื่อสร้างเสริ มประสบการณ์นอกรั้วสถานศึกษา
          ทั้งนั้น โครงการจุฬาฯ-ชนบทจึงได้จดทาค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทขึ้น เมื่อปี พุทธศักราช 2531 เพื่อให้นิสิตได้การ
                                             ั
ร่ วมกันทางานตามกระบวนการ เพื่อศึกษาปั ญหาและความต้องการของชุมชนในชนบทเพื่อให้นิสิตได้ตระหนักรู ้ถึงความยากจน
ของชาวบ้านในชนบท ทั้งนี้เป็ นการนาความรู ้เพื่อกลับไปใช้ในการพัฒนาชุมชนด้วยการถ่ายทอดความรู ้ สร้างสัมพันธ์ชาวบ้าน
และกระตุนให้เกิดจิตสานึกรักษ์บานเกิด เพื่อเป็ นการพัฒนาศักยภาพของชาวบ้านในชุมชนตลอดจนนิสิตผูร่วมปฏิบติงาน อีกทั้งยัง
           ้                      ้                                                                   ้         ั
เป็ นการส่งเสริ มให้ประชาชนในสังคมตระหนักรู ้และเห็นคุณค่าของการทางานร่ วมกัน
          ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทซึ่งได้ดาเนินกิจกรรมมาตลอดเป็ นประจาทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิงปี พุทธศักราช 2553 นี้ ค่าย
                                                                                                  ่
อาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทได้จดขึ้นเป็ นครั้งที่ 22 ณ โรงเรี ยนบ้านน้ ากระโทม ตาบลท่าลี่ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย เพื่อเป็ นการสร้าง
                                ั
โอกาสให้แก่ชนทุกภูมิภาคตลอดจนเป็ นการเสริ มสร้างประสบการณ์ทางานร่ วมกับการพัฒนาสังคมและชุมชน ตามปณิ ธานของ
                            ่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่วา “เกียรติภูมิจุฬาฯ คือเกียรติแห่งการรับใช้ประชาชน”

วัตถุประสงค์ โครงการ
         1.เพื่อให้นิสิตมีโอกาสเรี ยนรู ้ ทาความเข้าใจและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับปั ญหาของสังคม เพื่อหาแนวทางในการ
แก้ปัญหาร่ วมกันเท่าที่ความสามารถและโอกาสจะเอื้ออานวยและเป็ นประโยชน์ต่อวิถีการดาเนินงานรับใช้สงคมชนบทที่ถกต้อง
                                                                                                      ั           ู
         2.เพื่อกระตุนและเสริ มสร้างความรู ้ความเข้าใจในการพัฒนาตนเองและสังคม อีกทั้งยังเป็ นการบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
                       ้
ชนบทที่ห่างไกล
         3.เพื่อให้นิสิตนาความรู ้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชนบทได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดความรู ้และประสบการณ์พร้อมทั้ง
                     ั
สร้างความเจริ ญให้กบชนบท
         4.เพื่อให้นิสิตได้ประสบการณ์การทางานเป็ นหมู่คณะ รวมถึงการใช้ชีวตร่ วมกับผูอื่น
                                                                             ิ          ้
         5.เพื่อปลูกฝังจิตสานึกให้นิสิตได้รู้จกการเสี ยสละและการทางานรับใช้สงคม
                                               ั                               ั
รู ปแบบกิจกรรม
                                                                         ั
          1.โครงสร้าง: ดูแล ควบคุม และสนับสนุนในการสร้างวัตถุถาวรให้กบโรงเรี ยน
          2.โครงพัฒนาชุมชน
          3.โครงสวัสดิ การ: จัดเตรี ยมและประกอบอาหารแก่ ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ รวมทั้งสถานที่ พก ห้องน้ า ห้องส้วม และสิ่ ง
                                                                                               ั
อานวยความสะดวกต่างๆตลอดโครงการ
          4.โครงสอน: ให้ความรู ้แนวประยุกต์ดานวิชาการ ปลูกฝั กจิ ตสานึ กในการเรี ยนรู ้และจัดกิ จกรรมนันทนาการแก่เด็ก
                                                ้
นักเรี ยน
          5.โครงสัมพันธ์ชาวบ้าน: ออกไปพบปะพูดคุยกับชาวบ้าน เพื่อศึกษาความเป็ นอยู่ และขนบธรรมเนี ยมประเพณี และเพื่อ
                    ั ั
สร้างความสัมพันธ์อนดีกบชาวบ้าน
          6.โครงสัมพันธ์ชาวค่าย: เตรี ยมกิจกรรมและจัดกิจกรรมเพื่อให้ชาวค่ายเกิดความสนิทสนมคุนเคยกัน
                                                                                             ้
          7.โครงสาธารณสุข: เผยแพร่ ความรู ้ดานสาธารณสุขพื้นฐานและออกหน่วยบริ การสุขภาพแก่ชาวบ้าน
                                             ้
          8.โครงสนับสนุนการศึกษา: จัดหาอุปกรณ์การเรี ยนและอุปกรณ์กีฬาเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของโครงสอน
          9.โครงหาทุน: จัดหางบประมาณและสิ่ งของจาเป็ นเพื่อใช้ในการดาเนินกิจกรรมในค่าย
          10.โครงประชาสัมพันธ์: ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของค่าย

ความสอดคล้ องกับเอกลักษณ์ นิสิตจุฬาฯ ทีพงประสงค์
                                       ่ ึ
       1.การบริ หารการจัดการ (2.1)
       2.มีวฒนธรรมในการดารงชีวต (3.3)
              ั                    ิ
       3.รับผิดชอบตนเอง และตระหนักในบทบาทของตนเองต่อสังคม (4.1)
       4.เสี ยสละเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม (4.2)

ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ
    ่
        นิสิตผู้ปฎิบัตงาน ิ
        1.นิสิตผูปฏิบติงานได้พฒนาศักยภาพด้านความเป็ นผูนา ซึ่งสามารถนามาใช้ประยุกต์ในชีวตการทางานได้ในอนาคต
                     ้ ั          ั                          ้                                  ิ
        2.นิสิตผูปฏิบติงานได้เรี ยนรู ้และได้รับประสบการณ์การทางานเป็ นกลุ่ม ความสามัคคี รวมทั้งได้เรี ยนรู ้วถีชีวตชนบทไทย
                      ้ ั                                                                                     ิ ิ
        นิสิตผู้เข้ าร่ วมโครงการ
        1.นิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการได้มีโอกาสพัฒนาตนเองในด้านจิตสานึกที่ดีต่อสังคม และรับรู ้ถึงสภาพสังคมในชุมชนที่ได้เข้า
ไปทากิจกรรม
        2.นิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมีทกษะและความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมมากขึ้น
                                       ั
        ผู้เข้ าร่ วมโครงการ
        1.ชาวบ้านได้รับความรู ้เพิ่มเติมหลายประการเช่น การดูแลสัตว์เลี้ยง การสาธารณสุขขั้นพื้นฐานตลอดจนความรู ้เกี่ยวกับ
แนวทางการศึกษาต่อของบุตรหลาน
        2.ชาวบ้านมีความรักและหวงแหนและต้องการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
        3.เป็ นการเสริ มสร้างความสามัคคี และความสัมพันธ์อนดีระหว่างผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ ทั้งนิสิตกับนิสิตและนิสิตกับ
                                                               ั
ชาวบ้าน
                                                                                   ่
        4.ชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์จากสิ่ งก่อสร้างที่ได้สร้างขึ้น นามาซึ่งความเป็ นอยูที่ดีข้ ึน
ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ
         ขั้นตอนการเตรี ยมงาน           วันที่ 16 พฤษภาคม 2553 – 15 มีนาคม 2554
         ขั้นตอนการดาเนินการ            วันที่ 16 มีนาคม – 31 มีนาคม 2554
         ขั้นตอนการประเมินผล            วันที่ 1 เมษายน – 14 เมษายน 2554
จานวนนิสิตผู้ปฏิบตงาน กลุ่มนิสิตจุฬาฯ-ชนบท ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท
                     ั ิ                                                              30 คน
1.นายปิ ยะณัฐ                เชือบัณฑิต
                                 ้                          ประธานค่าย
2.นายชาญชัย                  ม่วงดี                         รองประธานค่าย
3.นายซุฟยาน                  สินา                           รองประธานค่าย
4.นางสาวกนกวรรณ              คาแคว่น                        เลขานุการ
5.นางสาวณัชชา                อุปชัย                         เหรัญญิก
6.นางสาววริยา                สัตตัง                         คณะกรรมการ
7.นางสาวนุชติยา              สาลีสี                         คณะกรรมการ
8.นายกฤตกร                   เจริญรัมย์                     คณะกรรมการ
9.นายจตุพร                   แก้วอ่อน                       คณะกรรมการ
10.นางสาวรวิวรรณ             บรรจบพุดซา                     คณะกรรมการ
11.นายสุรสั                  ถึงปชชา ั                      หัวหน้าโครงสร้าง
12.นายประพันธ์               ชัยหงษ์                        หัวหน้าโครงสร้าง
13.นายพรชัย                  ยวนยี                          หัวหน้าโครงพัฒนาชุมชน
14.นายอภิชาติ                อินธิปีก                       หัวหน้าโครงพัฒนาชุมชน
15.นางสาวจารุวรรณ            ไชยถา                          หัวหน้าโครงสวัสดิการ
16.นางสาวกรนิกา              ติวทอง                         หัวหน้าโครงสวัสดิการ
17.นางสาวพิมพร               บุตตะ                          หัวหน้าโครงสอน
18.นางสาวจินตนา              สุขวารี                        หัวหน้าโครงสอน
19.นางสาวจันทร์จรา    ิ      สีหะวงษ์                       หัวหน้าโครงสาธารณสุข
20.นางสาวสรัญรส              ทรัพย์ชนะสิทธิ ์               หัวหน้าโครงสาธารณสุข
21.นายแพน                    ธะนนไชย                        หัวหน้าโครงสัมพันธ์ชาวบ้าน
22.นางสาวจรูญลักษณ์ คงคาเรียน                               หัวหน้าโครงสัมพันธ์ชาวบ้าน
23.นางสาวเดือนเพ็ญ           วงละคร                         หัวหน้าโครงสัมพันธ์ชาวค่าย
24.นายสุวรรณ                 รัตนาแพง                       หัวหน้าโครงสัมพันธ์ชาวค่าย
25.นายชาญณรงค์               ศรีสะอาด                       หัวหน้าโครงหาทุน
26.นางสาวพลอยไพลิน คชะเกษตริน                               หัวหน้าโครงหาทุน
27.นางสาวมธุรส               วันสิทธิ ์
                               ่                            หัวหน้าโครงสนับสนุนการศึกษา
28.นางสาวเดือนเพ็ญ           ดอกอินทร์                      หัวหน้าโครงสนับสนุนการศึกษา
29.นางสาวอาจรีย์             อยู่ทวม
                                   ้                        หัวหน้าโครงประชาสัมพันธ์
30.นางสาวสุภทรา
              ั              คาสอน                          หัวหน้าโครงประชาสัมพันธ์
จานวนนิสิตผู้เข้ าร่ วมโครงการ          กลุ่มนิสิตจุฬาฯ-ชนบท                          30 คน
                                        ชาวบ้านหมู่บานน้ ากระโทม
                                                       ้                              50 คน
สถานทีปฏิบัตงาน
      ่     ิ                          บ้านน้ ากระโทม ตาบลท่าลี่ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย
แผนทีการเดินทาง
     ่
อาเภอเมืองเลย อยูห่างจากกรุ งเทพฯ ประมาณ 520 กิโลเมตร
                  ่
อาเภอท่าลี่ ห่างจากอาเภอเมืองเลย 47 กิโลเมตร
ประวัตโดยสังเขปของหมู่บ้าน
       ิ
         -จานวนประชากรของบ้านน้ ากระโทม มีท้ งสิ้น 143 คน แบ่งเป็ นชาย 75 คน และหญิง 68 คน
                                                       ั
         -มีจานวน 28 ครัวเรื อน
         -ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทานา และทาไร่
         -มีสถานศึกษา 1 แห่ง คือ โรงเรี ยนบ้านน้ ากระโทม
         -มีแหล่งน้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภคได้แก่ ประปา 1 แห่ง
         -ปั จจุบนมีผใหญ่บานคือ นายวิเศษ ศิลาเลข
                 ั ู้        ้
ด้ านสภาพทางภูมศาสตร์
                  ิ
         1.อาณาเขต
         ทิศเหนือ              ติดต่อกับ บ้านวังขาม
         ทิศตะวันตก            ติดต่อกับ อาเภอภูเรื อ
         ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อาเภอภูเรื อ
         ทิศใต้                 ติดต่อกับ อาเภอภูเรื อ
         2.การคมนาคม
         ระยะทางจากกรุ งเทพฯ – จังหวัดเลย ประมาณ 520 กิโลเมตร
         ระยะทางจากอาเภอท่าลี่ – บ้านน้ ากระโทม ประมาณ 47 กิโลเมตร
         3.ลักษณะทัวไปของหมู่บ้าน
                      ่
                                        ่                 ่                          ่ ้                          ็ั
         ลักษณะของบ้านเรื อนตั้งอยูบนเนินเขา ปลูกบ้านอยูติดๆกันไป สภาพโดยรอบของหมูบานเป็ นป่ าที่อุดมสมบูรณ์ แต่กยง
มีปัญหาการตัดไม้ทาลายป่ าอยูบาง ในหมูบานมีโรงเรี ยนประถมศึกษาอยู่ 1 แห่ง เปิ ดทาการเรี ยนการสอนตั้งแต่ช้ นอนุบาลจนถึง
                                ่ ้        ่ ้                                                           ั
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีจานวนนักเรี ยนทั้งสิ้น 23 คน

ข้ อมูลทัวไปของโรงเรียน โรงเรี ยนบ้านน้ ากระโทม หมู่ 8 ตาบลท่าลี่ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย มีพ้ืนที่ 4 ไร่ เป็ นโรงเรี ยนขนาดเล็ก
         ่
           ่
สุด ตั้งอยูบนภูเขาห่างไกลและกันดาร มีประชากร 145 คน จานวน 32 ครัวเรื อน ประชากรส่วนใหญ่จะมีอาชีพทาไร่ และมีฐานะ
ยากจน ที่ทากินมีนอย จึงทาให้นกเรี ยนมีฐานะยากจน โรงเรี ยนก็มการบริ หารงานตามอัตภาพของตนเอง
                      ้             ั                                ี
แบบอาคารเรียน อาคารเรี ยนถาวร มี 1 หลัง 2 ห้อง ใช้เป็ นห้องเรี ยน และห้องพักครู
อาคารประกอบ
      - อาคารประกอบถาวร มี 1 หลัง 1 ห้อง ใช้เป็ นห้องเรี ยน
      - โรงอาหาร เป็ นห้องเรี ยนชัวคราว และที่รับประทานอาหารของนักเรี ยน
                                         ่
      - บ้านพักครู มี 1 หลัง ใช้เป็ นที่พกของครู
                                           ั
      - ห้องน้ า มี 2 หลัง 4 ที่นง    ั่
ข้ อมูลบุคลากร
             ปี การศึกษา 2553 เปิ ดทาการสอนตั้งแต่ช้ นอนุบาลปี ที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีจานวนนักเรี ยนทั้งสิ้น 23 คน ครู
                                                     ั
ประจาการ 2 คน ครู อตราจ้าง 1 คน และนักการภารโรงอัตราจ้าง 1 คน รวมมีบุคลากร จานวน 4 คน แยกเป็ นชาย 3 คน หญิง 1 คน
                         ั
จานวนนักเรียนแยกชาย-หญิง มีดงนี้
                                                                   ั
                                              ตารางแยกรายชั้น
         ชั้น                      ชาย                  หญิง                       รวม
        อบ. 1                       2                     3                         5
        อบ. 2                       -                     2                         2
        ป. 1                        1                     2                         3
        ป. 2                        3                     2                         5
        ป. 3                        2                     -                         2
        ป. 4                        1                     2                         3
        ป. 5                        2                     -                         2
        ป. 6                        -                     1                         1
        รวม                        11                    12                         23

โครงสร้ างการดาเนินงาน

                                                 ประธานค่าย


                                                 รองประธาน



                                  เลขานุการ                       เหรัญญิก



                  โครงสร้าง                                                  โครงสัมพันธ์ชาวค่าย


            โครงสัมพันธ์ชาวบ้าน                                               โครงสาธารณสุข


           โครงสนับสนุนการศึกษา                                               โครงสอนหนังสื อ


                โครงพัฒนาชุมชน                                                 โครงสวัสดิการ


                  โครงหาทุน                                                  โครงประชาสัมพันธ์
แผนการดาเนินงาน
   กิจกรรม                     ขั้นตอนในการดาเนินการ                 วัสดุอุปกรณ์ ทต้องใช้
                                                                                   ี่                   จานวน
1.เตรียมการ        -การสารวจหมู่บานเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ คัดเลือก
                                      ้                              -ค่าสวัสดิการนิสิต                 4 คน
                   หมู่บานที่จะเข้าร่ วมโครงการและเตรี ยมการหาทุน
                           ้
                   -การสารวจหมู่บานที่คดเลือก เก็บข้อมูลอย่างละเอียด
                                        ้ ั
                   ประกอบการทาโครงการต่าง ๆ ในหมู่บานและพื้นที่
                                                         ้
                   ใกล้เคียง
                   -ติดต่อสถานที่ราชการ และหน่วยงานของทาง--ราชการ
                   ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานด้านต่าง ๆ
                   -ส่งตัวแทนไปเตรี ยมค่ายและประสานงานกับหน่วยงาน
                   ที่ได้ติดต่อไว้
2.การเดินทาง       -ติดต่อรถเดินทางจากหน่วยงานราชการ หรื อแขวงการ -รถเดินทาง                            3 คัน
                   ทาง เมื่อทราบสถานที่และกาหนดการต่าง ๆ ยืนหนังสื อ
                                                             ่
                   ขอลดค่าโดยสาร
3.โครงงานต่ าง ๆ
1)โครงสร้าง        -ร่ วมมือกันระหว่างชาวบ้านกับชาวค่ายผูเ้ ข้าร่ วม     -วัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง     1 หลัง
                   โครงการ ในการทางานโครงงานโครงสร้างโดยการ              อาคารเอนกประสงค์
                   สร้างอาคารเอนกประสงค์
2)โครงสัมพันธ์     -ออกไปพบปะพูดคุยกับชาวบ้านแต่ละหลังคาเรื อน เพื่อ     -กระดาษ
ชาวบ้าน                               ่
                   ศึกษาความเป็ นอยูและขนบธรรมเนียมประเพณี และ           -ดินสอ
                   เพื่อเป็ นการสร้างความสัมพันธ์อนดีระหว่างชาวค่ายกับ
                                                    ั                    -ปากกา
                   ชาวบ้าน
                   -ทาการศึกษาและกระตุนแนวคิดในการพัฒนาตนเอง
                                            ้
                   ของชาวบ้าน
                   -ช่วยเหลือชาวบ้านในส่วนที่ทาได้
3)โครงสาธารณสุข    -มีการเผยแพร่ ความรู ้ดานสาธารณสุขทางด้านยาและ
                                          ้                              -ชุดเครื่ องฉายสไลด์          1 ชุด
                   ทันตสุขภาพ และเน้นเรื่ องสุขภาพอนามัย การ             -กล้องจุลทรรศน์               5 ชุด
                   สาธารณสุขขั้นพื้นฐานที่จาเป็ น                        -ยาฆ่าพยาธิ
                   -ติดต่อขอยืมเครื่ องมืออุปกรณ์ต่างๆ                   -สไลด์และกระจกปิ ดสไลด์
                                                                         -กล่องใส่อุจจาระ
                                                                                                      500 กล่อง

4)โครงสอนหนังสื อ -ติดต่อโรงเรี ยนประถมศึกษาในหมู่บาน
                                                   ้                     -โปสเตอร์ความรู ้
-สอนหนังสื อแก่เด็ก ๆ ให้ความรู ้และความสนุกสนาน         -อุปกรณ์การกีฬา
                      แก่เด็กให้มีความคิดสร้างสรรค์กล้าแสดงออกและสร้าง         -วัสดุในการทาสื่ อการสอน
                      สื่ อการเรี ยนการสอน
5)โครงสวัสดิการ       -จัดเตรี ยมและประกอบอาหารแก่นิสิตผูเ้ ข้าร่ วม           -ค่าอาหารและผลไม้สาหรับ          60 คน
                      โครงการ                                                  นิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ
                      -ทาการยืมภาชนะ เครื่ องครัวที่ใช้ในการประกอบอาหาร        -เครื่ องครัวและภาชนะใน
                      และอุปกรณ์สาหรับรับประทานอาหาร                           การประกอบอาหาร
                      -เตรี ยมสถานที่พก ห้องน้ า ห้องส้วม และสิ่ งอานวย
                                        ั
                      ความสะดวกต่าง ๆ

6)โครงสัมพันธ์ชาว     -จัดเตรี ยมเนื้อหากิจกรรม อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา            -เครื่ องขยายเสี ยง                2 เครื่ อง
ค่าย                  กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ชาวค่าย                               -กลอง                               2 อัน
                      -ดาเนินการกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์โดยมุ่งเน้นให้ทุกคน -อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ในการ
                      เกิดความสนิทสนมคุนเคยกัน
                                            ้                                   ทากิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
7)โครงสนับสนุน        -ประชุมวางแผนงานและงบประมาณที่ใช้                         -ชุดนักเรี ยนและอุปกรณ์การ 100 ชุด
การศึกษา              -หาทุนและติดต่อขอความอนุเคราะห์ชุดนักเรี ยน               เรี ยน
                      อุปกรณ์การเรี ยน                                          -ค่าอาหารกลางวันสาหรับ             100 คน
                      -ดาเนินการมอบชุดนักเรี ยนและกิจกรรมสัมพันธ์               นักเรี ยนรวมทั้งนิสิต
                      ผูปกครอง
                        ้                                                       ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ (1มื้อ)
8)โครงพัฒนาชุมชน สารวจหมู่บานและโรงเรี ยนว่ามีสิ่งใดที่ใช้งานได้ไม่
                                     ้                                          -คราด,จอบ,มีดพร้า
                      เต็มที่และน่าจะมีการซ่อมแซมหรื อปรับปรุ งให้ดีข้ ึน
                      -ขอความอนุเคราะห์ชาวบ้านในด้านอุปกรณ์การพัฒนา
9)โครงหาทุน           -ประชุมวางแผนงานและคานวณงบประมาณในการ                     -ค่าใช้จ่ายในการติดต่อ
                      ออกค่าย                                                   ประสานงาน
                      -ติดต่อขอความอนุเคราะห์งบประมาณและ สิ่ งของที่
                      จาเป็ น
10)โครง               -ติดต่อกาหนดการวาระในการประชุมค่ายและขอ                   -ค่าใช้จ่ายในการทาใบ
ประชาสัมพันธ์         สถานที่ใช้ในการประชุมค่าย                                 ประกาศประชาสัมพันธ์
                      -ออกแบบใบประกาศและติดประกาศประชาสัมพันธ์
                      การประชุมค่าย
4.ประเมินผล           -ประชุมสมาชิกที่เข้าร่ วมโครงการที่ร่วมประเมินผล          -สมาชิกที่เข้าร่ วมโครงการ         60 คน
โครงการ
เป้ าหมายโครงการ
         เชิงปริมาณ
                                                                                                                 ่
         วัดจากปริ มาณผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมในแต่ละวันทั้งนิสิต ชาวบ้าน และเด็กนักเรี ยน คือ 80 คน ขึ้นไป จัดว่าอยูในเกณฑ์ดี โดย
วัดจากการลงทะเบียนในแต่ละวัน
         เชิงคุณภาพ
่
         วัดเปอร์เซ็นต์ความพึงพอใจของนิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและชาวบ้าน คือ ร้อยละ 80 ขึ้นไป จัดว่าอยูในเกณฑ์ดี โดยวัดจาก
แบบสอบถาม
งบประมาณการดาเนินการ
ลาดับที่                             รายการ                    ราคาต่ อหน่ วย จานวน           หน่ วย        รวม(บาท)
                                                                  (บาท)
  1.       ค่าใช้จ่ายในการสารวจข้อมูลครั้งที่ 1 (3วัน)
           -ค่าเดินทาง ไป-กลับ                                           840           4             คน           3360.00
           -ค่ารถประจาทางรวม                                                                                       140.00
           -ค่าอาหาร จานวน 6 มื้อ                                        240           4             คน          1,280.00
  2.       ค่าใช้จ่ายในการสารวจข้อมูลครั้งที่ 2 (2วัน)
           -ค่าเดินทาง ไป-กลับ                                           840           7             คน           5880.00
           -ค่ารถประจาทางรวม                                                                                       280.00
           -ค่าอาหาร จานวน 4 มื้อ                                        160           7             คน          1,120.00
  3.       ค่าบัตรโทรศัพท์                                               300           4             ใบ          1,200.00
  4.       ค่าเดินทางไป-กลับกรุ งเทพ                                     591          60             คน
           -จานวน 60 คน                                                                                        35,460.00
  5.       โครงสวัสดิการ                                                 758          60             คน        45,480.00
           -ค่าอาหารนิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ
  6.       โครงสาธารณสุข
            -น้ ายาฆ่าเชื้อ,สไลด์และกระจกปิ ดสไลด์,ยาฆ่า                                                         1,000.00
           พยาธิ,ค่าเช่า เครื่ องชังน้ าหนักและอื่น ๆ
                                   ่
           -ค่าเอกสารด้านสาธารณสุข                                          20 ๓๐๐ 25 บาท ชุด                      500.00
           -แผ่นตรวจโรคเบาหวาน                                              15       200            แผ่น         3,000.00
  7.       ค่าล้างอัดรู ป                                                    4       200             รู ป          800.00
  8.       โครงสอนหนังสื อ
           -ค่าอุปกรณ์ในการจัดทาสื่ อการสอนต่างๆ                         100           5             ชุด           500.00
   9.     โครงสนับสนุนการศึกษา
          -ค่าชุดนักเรี ยนระดับประถมศึกษาและค่าอุปกรณ์
          การเรี ยน                                                     300           50           ชุด           15,000.00
          -ค่าใช้จ่ายกิจกรรมพัฒนา-ส่งเสริ มเยาวชน                                                                 1,000.00
          -ค่าใช้จ่ายติดต่อประสานงาน                                                                              1,000.00
                                                 รวม                                                            117,000.00
                                                                                               (เก้ าหมืนเก้ าพันบาทถ้ วน)
                                                                                                        ่
10.โครงงานโครงสร้าง
ลาดับที่                      รายการ                          ราคาต่ อหน่ วย    จานวน          หน่ วย          รวม(บาท)
                                                                 (บาท)
1    เสาคอนกรี ตอัด แรงขนาด 3.50 ม.          560      10             ต้น     5,600.00
2    กระเบื้องมุงหลังคาลอนคู่                  58    550            แผ่น    31,900.00
3    ขอยึดขากระเบื้องขนาด 6 นิ้ว             4.80    550              ตัว    2,640.00
4    ตะปูขนาด 3 นิ้ว                           30     10             กก.       300.00
5    ตะปูขนาด 4 นิ้ว                           40     10             กก.       400.00
6    บานประตูขนาด 1 คูณ 2 เมตร               800       1            บาน        800.00
7    วงกบประตูขนาด 1 คูณ 1.2 เมตร            580       1             ชุด       580.00
8    บานหน้าต่างขนาด 50 คูณ 110 ซม.          280      10            บาน      2,800.00
9    วงกบหน้าต่าง                            520       5             ชุด     2,600.00
10   ลวดผูกเหล็ก ศก. 1.25 มม. (เบอร์ 28)    37.38      5             กก.       186.90
11   เหล็กเส้นกลมข้ออ้อย ขนาด 12            253.4     20            เส้น     5,068.00
      มิลลิเมตร ยาว 10 ม.
12   เหล็กปลอกยาวขนาด 6 มิลลิเมตร           183.4     25             เส้น    4,585.00
     ยาว 10 ม.
13   ปูนซีเมนต์                              110      150             ถุง   16,500.00
14   ทรายหยาบ                                340       12          ลบ.ม.     4,080.00
15   ทรายละเอียด                             350        5          ลบ.ม.     1,750.00
16   อิฐบล็อก                                4.35   1,200           ก้อน     5,220.00
17   อิฐมอญ                                  0.65     300           ก้อน       195.00
18   บานพับประตูขนาด 6 นิ้ว                 39.72       3            อัน       119.16
19   บานพับ ขนาด 4 นิ้ว                        19      30            อัน       570.00
20   กลอน ขนาด 4 นิ้ว                          24      16            อัน       384.00
21   กลอน ขนาด 6 นิ้ว                          28      2              อัน       56.00
22   มือจับ ขนาด 5 นิ้ว                        28     10              อัน      280.00
23   สี ทากันมอด                           420.56      3        แกลลอน       1,261.68
24   สี พลาสติกทาภายใน                       600       4              ถัง    2,400.00
25   สี น้ ามัน                            529.91      4        แกลลอน       2,119.64
26   สี รองพื้น                              180       4              ถัง      720.00
27   ไม้ขนาด 6 นิ้ว                            98     42           เมตร      4,116.00
28   ไม้ขนาด 4 นิ้ว                            75    110           เมตร      8,250.00
29   ไม้ขนาด 3 นิ้ว                            36    220           เมตร      7,920.00
30   ไม้เชิงชาย หน้า 6 นิ้ว ขนาด 6 เมตร      300      12              ตัว    3,600.00
31   กระเบื้องแผ่นเรี ยบ                       56     10             แผ่น      560.00
32   อิฐบล็อกช่องลม                             7     60            ก้อน       420.00
33   หิ นภูเขา                               350      15    ลูกบาศก์เมตร     5,250.00
34   ครอบสันหลังคา                             68     36              ตัว    2,448.00
รวม                                                             224,683.18
                                                         (หนึ่งแสนสองหมืนห้ าพันหกร้ อยแปดสิบสามบาทสิบแปดสตางค์)
                                                                        ่
                                                        รวมงบประมาณในการดาเนินงานทั้งสิ้น         224,683.18 บาท
                                                          (สองแสนสองหมืนสี่พนหกร้ อยแปดสิบสามบาทสิบแปดสตางค์ )
                                                                          ่ ั

แหล่ งงบประมาณ
1.งบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก                                                           206,683.18 บาท
2.งบประมาณจากนิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ (60คน คนละ 300 บาท)                                     18,000.00 บาท
                                                                 รวมทั้งสิ้น                  224,683.18 บาท
                                                             (สองแสนสองหมืนสี่พนหกร้ อยแปดสิบสามบาทสิบแปดสตางค์)
                                                                             ่ ั




                                                                     (นายปิ ยะณัฐ เชื้อบัณฑิต)
                                                                     นิสิตผูรับผิดชอบโครงการ
                                                                            ้




                                                                     (นายซุฟยาน          สิ นา)
                                                                      นิสิตผูรับผิดชอบโครงการ
                                                                             ้



                                                                     (นายชาญชัย         ม่วงดี)
                                                                      นิสิตผูรับผิดชอบโครงการ
                                                                             ้




                                                                (นายศานนท์ หวังสร้างบุญ)
                                                                      นายกสโมสรนิสิต
                                                       องค์การบริ หารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




   (รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.มานพ ม่วงใหญ่)
           อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ
หมายเหตุ
อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ
รศ.น.สพ.ดร.มานพ ม่วงใหญ่
อีเมล์: mmanop@chula.ac.th
หมายเลขโทรศัพท์ : 081-7533676
ผูที่จะให้สมภาษณ์
  ้         ั
นางสาววริ ยา สัตตัง นิสิตชั้นปี ที่ 3 คณะสหเวชศาสตร์ สาขาเทคนิคการแพทย์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อีเมล์:register_t@hotmail.com
หมายเลขโทรศัพท์ : 081-6657552
กฎค่ ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ครั้งที่ 22

       1.   ชาวค่ายทุกคนต้องปฏิบติตาม กฎระเบียบของค่ายทุกข้ออย่างเคร่ งครัด
                                 ั
       2.   ห้ามออกนอกบริ เวณค่ายโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผูอานวยการค่ายหรื อรองผูอานวยการค่าย
                                                            ้                     ้
       3.   อย่าเดินไปไหนมาไหนคนเดียว ควรหาเพื่อนไปด้วยโดยเฉพาะเวลากลางคืน
       4.   ไม่นาของมีค่าติดตัวไปค่าย เช่น โทรศัพท์มือถือ กล้องถ่ายรู ป
       5.   ห้ามคุยโทรศัพท์ในเวลาทากิจกรรม เว้นมีเหตุจาเป็ น ให้แจ้งผูอานวยการค่ายหรื อรองผูอานวยการค่าย
                                                                        ้                   ้
ก่อน
    6. ไม่อนุญาตให้ใช้เงินในค่าย
    7. ควรแต่งกายสุ ภาพ เรี ยบร้อย และสะดวกในการทากิจกรรมต่างๆ ห้ามใส่ กางเกงสั้นเหนือเข่า แขนกุด
    8. ใช้วาจาสุ ภาพในการติดต่อสื่ อสาร
    9. ชาวค่ายทุกคนต้องช่วยรักษาความสะอาดทั้งสถานที่ภายในค่ายและนอกค่าย
    10. ห้ามมีเรื่ องชูสาว ภายในหรื อนอกบริ เวณค่าย
                       ้
    11. ห้ามดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ถ้าชาวบ้านเชิญชวนควรหลีกเลี่ยงอย่างสุ ภาพ และห้ามสู บบุหรี่
    12. ห้ามเล่นการพนันทุกชนิด
    13. กฎ ระเบียบที่จะแจ้งเพิ่มเติมในค่าย ต้องปฏิบติตามอย่างเคร่ งครัด
                                                    ั
    14. ทาตามตารางเวลาที่กาหนดให้อย่างเคร่ งครัด
    15. ชาวค่ายทุกคนต้องตื่นนอนพร้อมกันเวลา 06.30 น. รับประทานอาหารเช้าเวลา 07.00 น. อาหาร
กลางวันเวลา 17.00 น. อาหารเย็นเวลา 18.00 น. และประชุมเวลา 19.00 น.

More Related Content

What's hot

รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดรายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดphattanakron
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายshaimat
 
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นหลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นTum Meng
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ Nichatcha Aryowong
 
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยาประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยาDuangnapa Inyayot
 
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 Duangnapa Inyayot
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 

What's hot (15)

รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดรายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
 
แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์
 
5 3-4
5 3-45 3-4
5 3-4
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
 
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นหลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
6 1-2
6 1-26 1-2
6 1-2
 
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยาประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
 
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 

Similar to 2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒

โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมโครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมJustarn Pd
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...kaewpanya km
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 

Similar to 2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒ (20)

โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมโครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
โครงการ56
โครงการ56โครงการ56
โครงการ56
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แผนปฏิบัติงาน 2553
แผนปฏิบัติงาน 2553แผนปฏิบัติงาน 2553
แผนปฏิบัติงาน 2553
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท

หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทองmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียงmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบังmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op kumahaoath พระมหาโอ๊ท
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท (20)

หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
 
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
 
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
 

2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒

  • 1. องค์การบริหารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Student Government of Chulalongkorn University ชั้น 3 อาคารจุลจักรพงษ์ ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ 10330 โทรศัพท์/โทรสาร (02) 218-7040 ที่ อจช.001-024 /2553 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท หน่วยจุฬาฯ-ชนบท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 21 มกราคม 2553 เรื่ อง ขอความอนุเคราะห์งบประมาณสนับสนุนโครงการค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทครั้งที่ 22 เรี ยน คณะกรรมการพิจารณาทุน สิ่ งที่ส่งมาด้วย รายละเอียดโครงการค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ครั้งที่ 22 ปี การศึกษา 2553 เนื่องด้วยกลุ่มนิสิตโครงการจุฬาฯ-ชนบท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษาและการทา กิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อสังคม จึงมีการรวมกลุ่มกันเพื่อจัดโครงการค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทขึ้นเป็ นประจาทุกปี เริ่ มตั้งแต่ พ.ศ. 2531 มาจนถึงปัจจุบน ซึ่งในปี การศึกษา 2553 นี้ ทางค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท จะได้จดโครงการค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ- ั ั ชนบท ครั้งที่ 22 ขึ้นที่โรงเรี ยนบ้านน้ ากระโทม บ้านน้ ากระโทม ตาบลท่าลี่ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย ในระหว่างวันที่ 16 - 31 มีนาคม 2554 โดยมีวตถุประสงค์เพื่อปลูกสร้างอาคารเอนกประสงค์ ั ตลอดจนมีการจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อเป็ นประโยชน์ต่อ หมู่บาน ชุมชน และนามาซึ่งการพัฒนาศักยภาพของนิสิตต่อไป ้ ดังนั้น ทางค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท จึงขอความอนุเคราะห์มายังท่านในการพิจารณางบประมาณเพื่อสนับสนุน โครงการ ทั้งนี้เพื่อให้การดาเนินโครงการในครั้งนี้บรรลุความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ (ดังรายละเอียดที่แนบมานี้) จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุเคราะห์ ทางคณะผูปฏิบติงานหวังเป็ นอย่างยิงว่าจะได้รับการสนับสนุนจากท่านเป็ นอย่าง ้ ั ่ ดีและขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ ( นายปิ ยะณัฐ เชื้อบัณฑิต ) ประธานค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ครั้งที่ 22 ( รศ.น.สพ.ดร.มานพ ม่วงใหญ่ ) หัวหน้าหน่วยจุฬาฯ-ชนบท อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ หมายเหตุ ; โทรศัพท์ 089-7821321 ประธานค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ครั้งที่ 22
  • 2. ชื่อโครงการ ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท หน่ วยงานทีรับผิดชอบ ่ กลุ่มนิสิตจุฬาฯ-ชนบท ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ฝ่ ายพัฒนาสังคมและบาเพ็ญประโยชน์ องค์การบริ หารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ ทปรึกษาโครงการ รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.มานพ ม่วงใหญ่ ี่ หัวหน้าหน่วยจุฬาฯ-ชนบท นิสิตผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายปิ ยะณัฐ เชื้อบัณฑิต รหัสนิสิต 513 77600 39 (08-9782-1321) 2.นายซุฟยาน สิ นา รหัสนิสิต 514 35585 27 (08-3184-4831) 3.นายชาญชัย ม่วงดี รหัสนิสิต 513 77250 39 (08-0613-1448) หลักการและเหตุผล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีโครงการรับนักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนดีที่แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์จากชนบท โดยให้การ สนับสนุนทุนการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเริ่ มดาเนินโครงการมาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2525 เป็ นต้น มา ซึ่งรับสมัครนิสิตเข้าศึกษาในคณะต่างๆ ดังนี้ สัตวแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ สหเวชศาสตร์ พาณิ ชศาสตร์ และการบัญชี รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ ครุ ศาสตร์ จิตวิทยา นิเทศศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์การกีฬา โดยมีวตถุประสงค์เพื่อส่งเสริ มการศึกษาและเพื่อให้บณฑิตออกไปพัฒนาสังคม ขณะที่ระบบการศึกษาใน ั ั มหาวิทยาลัยมุ่งเน้นการศึกษาในห้องเรี ยนมากกว่าที่จะเสริ มสร้างความรู ้และประสบการณ์จากการปฏิบติจริ ง โครงการจุฬาฯ- ั ชนบทจึงได้เล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาศักยภาพของนิสิตเพือนาความรู ้ไปใช้ปฏิบติจริ งในการพัฒนาชนบท ด้วยการจัด ่ ั กิจกรรมเพื่อสร้างเสริ มประสบการณ์นอกรั้วสถานศึกษา ทั้งนั้น โครงการจุฬาฯ-ชนบทจึงได้จดทาค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทขึ้น เมื่อปี พุทธศักราช 2531 เพื่อให้นิสิตได้การ ั ร่ วมกันทางานตามกระบวนการ เพื่อศึกษาปั ญหาและความต้องการของชุมชนในชนบทเพื่อให้นิสิตได้ตระหนักรู ้ถึงความยากจน ของชาวบ้านในชนบท ทั้งนี้เป็ นการนาความรู ้เพื่อกลับไปใช้ในการพัฒนาชุมชนด้วยการถ่ายทอดความรู ้ สร้างสัมพันธ์ชาวบ้าน และกระตุนให้เกิดจิตสานึกรักษ์บานเกิด เพื่อเป็ นการพัฒนาศักยภาพของชาวบ้านในชุมชนตลอดจนนิสิตผูร่วมปฏิบติงาน อีกทั้งยัง ้ ้ ้ ั เป็ นการส่งเสริ มให้ประชาชนในสังคมตระหนักรู ้และเห็นคุณค่าของการทางานร่ วมกัน ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทซึ่งได้ดาเนินกิจกรรมมาตลอดเป็ นประจาทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิงปี พุทธศักราช 2553 นี้ ค่าย ่ อาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบทได้จดขึ้นเป็ นครั้งที่ 22 ณ โรงเรี ยนบ้านน้ ากระโทม ตาบลท่าลี่ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย เพื่อเป็ นการสร้าง ั โอกาสให้แก่ชนทุกภูมิภาคตลอดจนเป็ นการเสริ มสร้างประสบการณ์ทางานร่ วมกับการพัฒนาสังคมและชุมชน ตามปณิ ธานของ ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่วา “เกียรติภูมิจุฬาฯ คือเกียรติแห่งการรับใช้ประชาชน” วัตถุประสงค์ โครงการ 1.เพื่อให้นิสิตมีโอกาสเรี ยนรู ้ ทาความเข้าใจและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับปั ญหาของสังคม เพื่อหาแนวทางในการ แก้ปัญหาร่ วมกันเท่าที่ความสามารถและโอกาสจะเอื้ออานวยและเป็ นประโยชน์ต่อวิถีการดาเนินงานรับใช้สงคมชนบทที่ถกต้อง ั ู 2.เพื่อกระตุนและเสริ มสร้างความรู ้ความเข้าใจในการพัฒนาตนเองและสังคม อีกทั้งยังเป็ นการบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ้ ชนบทที่ห่างไกล 3.เพื่อให้นิสิตนาความรู ้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชนบทได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดความรู ้และประสบการณ์พร้อมทั้ง ั สร้างความเจริ ญให้กบชนบท 4.เพื่อให้นิสิตได้ประสบการณ์การทางานเป็ นหมู่คณะ รวมถึงการใช้ชีวตร่ วมกับผูอื่น ิ ้ 5.เพื่อปลูกฝังจิตสานึกให้นิสิตได้รู้จกการเสี ยสละและการทางานรับใช้สงคม ั ั
  • 3. รู ปแบบกิจกรรม ั 1.โครงสร้าง: ดูแล ควบคุม และสนับสนุนในการสร้างวัตถุถาวรให้กบโรงเรี ยน 2.โครงพัฒนาชุมชน 3.โครงสวัสดิ การ: จัดเตรี ยมและประกอบอาหารแก่ ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ รวมทั้งสถานที่ พก ห้องน้ า ห้องส้วม และสิ่ ง ั อานวยความสะดวกต่างๆตลอดโครงการ 4.โครงสอน: ให้ความรู ้แนวประยุกต์ดานวิชาการ ปลูกฝั กจิ ตสานึ กในการเรี ยนรู ้และจัดกิ จกรรมนันทนาการแก่เด็ก ้ นักเรี ยน 5.โครงสัมพันธ์ชาวบ้าน: ออกไปพบปะพูดคุยกับชาวบ้าน เพื่อศึกษาความเป็ นอยู่ และขนบธรรมเนี ยมประเพณี และเพื่อ ั ั สร้างความสัมพันธ์อนดีกบชาวบ้าน 6.โครงสัมพันธ์ชาวค่าย: เตรี ยมกิจกรรมและจัดกิจกรรมเพื่อให้ชาวค่ายเกิดความสนิทสนมคุนเคยกัน ้ 7.โครงสาธารณสุข: เผยแพร่ ความรู ้ดานสาธารณสุขพื้นฐานและออกหน่วยบริ การสุขภาพแก่ชาวบ้าน ้ 8.โครงสนับสนุนการศึกษา: จัดหาอุปกรณ์การเรี ยนและอุปกรณ์กีฬาเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของโครงสอน 9.โครงหาทุน: จัดหางบประมาณและสิ่ งของจาเป็ นเพื่อใช้ในการดาเนินกิจกรรมในค่าย 10.โครงประชาสัมพันธ์: ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของค่าย ความสอดคล้ องกับเอกลักษณ์ นิสิตจุฬาฯ ทีพงประสงค์ ่ ึ 1.การบริ หารการจัดการ (2.1) 2.มีวฒนธรรมในการดารงชีวต (3.3) ั ิ 3.รับผิดชอบตนเอง และตระหนักในบทบาทของตนเองต่อสังคม (4.1) 4.เสี ยสละเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม (4.2) ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ่ นิสิตผู้ปฎิบัตงาน ิ 1.นิสิตผูปฏิบติงานได้พฒนาศักยภาพด้านความเป็ นผูนา ซึ่งสามารถนามาใช้ประยุกต์ในชีวตการทางานได้ในอนาคต ้ ั ั ้ ิ 2.นิสิตผูปฏิบติงานได้เรี ยนรู ้และได้รับประสบการณ์การทางานเป็ นกลุ่ม ความสามัคคี รวมทั้งได้เรี ยนรู ้วถีชีวตชนบทไทย ้ ั ิ ิ นิสิตผู้เข้ าร่ วมโครงการ 1.นิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการได้มีโอกาสพัฒนาตนเองในด้านจิตสานึกที่ดีต่อสังคม และรับรู ้ถึงสภาพสังคมในชุมชนที่ได้เข้า ไปทากิจกรรม 2.นิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมีทกษะและความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมมากขึ้น ั ผู้เข้ าร่ วมโครงการ 1.ชาวบ้านได้รับความรู ้เพิ่มเติมหลายประการเช่น การดูแลสัตว์เลี้ยง การสาธารณสุขขั้นพื้นฐานตลอดจนความรู ้เกี่ยวกับ แนวทางการศึกษาต่อของบุตรหลาน 2.ชาวบ้านมีความรักและหวงแหนและต้องการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง 3.เป็ นการเสริ มสร้างความสามัคคี และความสัมพันธ์อนดีระหว่างผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ ทั้งนิสิตกับนิสิตและนิสิตกับ ั ชาวบ้าน ่ 4.ชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์จากสิ่ งก่อสร้างที่ได้สร้างขึ้น นามาซึ่งความเป็ นอยูที่ดีข้ ึน
  • 4. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ ขั้นตอนการเตรี ยมงาน วันที่ 16 พฤษภาคม 2553 – 15 มีนาคม 2554 ขั้นตอนการดาเนินการ วันที่ 16 มีนาคม – 31 มีนาคม 2554 ขั้นตอนการประเมินผล วันที่ 1 เมษายน – 14 เมษายน 2554 จานวนนิสิตผู้ปฏิบตงาน กลุ่มนิสิตจุฬาฯ-ชนบท ค่ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ั ิ 30 คน 1.นายปิ ยะณัฐ เชือบัณฑิต ้ ประธานค่าย 2.นายชาญชัย ม่วงดี รองประธานค่าย 3.นายซุฟยาน สินา รองประธานค่าย 4.นางสาวกนกวรรณ คาแคว่น เลขานุการ 5.นางสาวณัชชา อุปชัย เหรัญญิก 6.นางสาววริยา สัตตัง คณะกรรมการ 7.นางสาวนุชติยา สาลีสี คณะกรรมการ 8.นายกฤตกร เจริญรัมย์ คณะกรรมการ 9.นายจตุพร แก้วอ่อน คณะกรรมการ 10.นางสาวรวิวรรณ บรรจบพุดซา คณะกรรมการ 11.นายสุรสั ถึงปชชา ั หัวหน้าโครงสร้าง 12.นายประพันธ์ ชัยหงษ์ หัวหน้าโครงสร้าง 13.นายพรชัย ยวนยี หัวหน้าโครงพัฒนาชุมชน 14.นายอภิชาติ อินธิปีก หัวหน้าโครงพัฒนาชุมชน 15.นางสาวจารุวรรณ ไชยถา หัวหน้าโครงสวัสดิการ 16.นางสาวกรนิกา ติวทอง หัวหน้าโครงสวัสดิการ 17.นางสาวพิมพร บุตตะ หัวหน้าโครงสอน 18.นางสาวจินตนา สุขวารี หัวหน้าโครงสอน 19.นางสาวจันทร์จรา ิ สีหะวงษ์ หัวหน้าโครงสาธารณสุข 20.นางสาวสรัญรส ทรัพย์ชนะสิทธิ ์ หัวหน้าโครงสาธารณสุข 21.นายแพน ธะนนไชย หัวหน้าโครงสัมพันธ์ชาวบ้าน 22.นางสาวจรูญลักษณ์ คงคาเรียน หัวหน้าโครงสัมพันธ์ชาวบ้าน 23.นางสาวเดือนเพ็ญ วงละคร หัวหน้าโครงสัมพันธ์ชาวค่าย 24.นายสุวรรณ รัตนาแพง หัวหน้าโครงสัมพันธ์ชาวค่าย 25.นายชาญณรงค์ ศรีสะอาด หัวหน้าโครงหาทุน 26.นางสาวพลอยไพลิน คชะเกษตริน หัวหน้าโครงหาทุน 27.นางสาวมธุรส วันสิทธิ ์ ่ หัวหน้าโครงสนับสนุนการศึกษา 28.นางสาวเดือนเพ็ญ ดอกอินทร์ หัวหน้าโครงสนับสนุนการศึกษา 29.นางสาวอาจรีย์ อยู่ทวม ้ หัวหน้าโครงประชาสัมพันธ์ 30.นางสาวสุภทรา ั คาสอน หัวหน้าโครงประชาสัมพันธ์ จานวนนิสิตผู้เข้ าร่ วมโครงการ กลุ่มนิสิตจุฬาฯ-ชนบท 30 คน ชาวบ้านหมู่บานน้ ากระโทม ้ 50 คน
  • 5. สถานทีปฏิบัตงาน ่ ิ บ้านน้ ากระโทม ตาบลท่าลี่ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย แผนทีการเดินทาง ่ อาเภอเมืองเลย อยูห่างจากกรุ งเทพฯ ประมาณ 520 กิโลเมตร ่ อาเภอท่าลี่ ห่างจากอาเภอเมืองเลย 47 กิโลเมตร
  • 6. ประวัตโดยสังเขปของหมู่บ้าน ิ -จานวนประชากรของบ้านน้ ากระโทม มีท้ งสิ้น 143 คน แบ่งเป็ นชาย 75 คน และหญิง 68 คน ั -มีจานวน 28 ครัวเรื อน -ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทานา และทาไร่ -มีสถานศึกษา 1 แห่ง คือ โรงเรี ยนบ้านน้ ากระโทม -มีแหล่งน้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภคได้แก่ ประปา 1 แห่ง -ปั จจุบนมีผใหญ่บานคือ นายวิเศษ ศิลาเลข ั ู้ ้ ด้ านสภาพทางภูมศาสตร์ ิ 1.อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านวังขาม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อาเภอภูเรื อ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อาเภอภูเรื อ ทิศใต้ ติดต่อกับ อาเภอภูเรื อ 2.การคมนาคม ระยะทางจากกรุ งเทพฯ – จังหวัดเลย ประมาณ 520 กิโลเมตร ระยะทางจากอาเภอท่าลี่ – บ้านน้ ากระโทม ประมาณ 47 กิโลเมตร 3.ลักษณะทัวไปของหมู่บ้าน ่ ่ ่ ่ ้ ็ั ลักษณะของบ้านเรื อนตั้งอยูบนเนินเขา ปลูกบ้านอยูติดๆกันไป สภาพโดยรอบของหมูบานเป็ นป่ าที่อุดมสมบูรณ์ แต่กยง มีปัญหาการตัดไม้ทาลายป่ าอยูบาง ในหมูบานมีโรงเรี ยนประถมศึกษาอยู่ 1 แห่ง เปิ ดทาการเรี ยนการสอนตั้งแต่ช้ นอนุบาลจนถึง ่ ้ ่ ้ ั ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีจานวนนักเรี ยนทั้งสิ้น 23 คน ข้ อมูลทัวไปของโรงเรียน โรงเรี ยนบ้านน้ ากระโทม หมู่ 8 ตาบลท่าลี่ อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย มีพ้ืนที่ 4 ไร่ เป็ นโรงเรี ยนขนาดเล็ก ่ ่ สุด ตั้งอยูบนภูเขาห่างไกลและกันดาร มีประชากร 145 คน จานวน 32 ครัวเรื อน ประชากรส่วนใหญ่จะมีอาชีพทาไร่ และมีฐานะ ยากจน ที่ทากินมีนอย จึงทาให้นกเรี ยนมีฐานะยากจน โรงเรี ยนก็มการบริ หารงานตามอัตภาพของตนเอง ้ ั ี แบบอาคารเรียน อาคารเรี ยนถาวร มี 1 หลัง 2 ห้อง ใช้เป็ นห้องเรี ยน และห้องพักครู อาคารประกอบ - อาคารประกอบถาวร มี 1 หลัง 1 ห้อง ใช้เป็ นห้องเรี ยน - โรงอาหาร เป็ นห้องเรี ยนชัวคราว และที่รับประทานอาหารของนักเรี ยน ่ - บ้านพักครู มี 1 หลัง ใช้เป็ นที่พกของครู ั - ห้องน้ า มี 2 หลัง 4 ที่นง ั่ ข้ อมูลบุคลากร ปี การศึกษา 2553 เปิ ดทาการสอนตั้งแต่ช้ นอนุบาลปี ที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีจานวนนักเรี ยนทั้งสิ้น 23 คน ครู ั ประจาการ 2 คน ครู อตราจ้าง 1 คน และนักการภารโรงอัตราจ้าง 1 คน รวมมีบุคลากร จานวน 4 คน แยกเป็ นชาย 3 คน หญิง 1 คน ั
  • 7. จานวนนักเรียนแยกชาย-หญิง มีดงนี้ ั ตารางแยกรายชั้น ชั้น ชาย หญิง รวม อบ. 1 2 3 5 อบ. 2 - 2 2 ป. 1 1 2 3 ป. 2 3 2 5 ป. 3 2 - 2 ป. 4 1 2 3 ป. 5 2 - 2 ป. 6 - 1 1 รวม 11 12 23 โครงสร้ างการดาเนินงาน ประธานค่าย รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก โครงสร้าง โครงสัมพันธ์ชาวค่าย โครงสัมพันธ์ชาวบ้าน โครงสาธารณสุข โครงสนับสนุนการศึกษา โครงสอนหนังสื อ โครงพัฒนาชุมชน โครงสวัสดิการ โครงหาทุน โครงประชาสัมพันธ์
  • 8. แผนการดาเนินงาน กิจกรรม ขั้นตอนในการดาเนินการ วัสดุอุปกรณ์ ทต้องใช้ ี่ จานวน 1.เตรียมการ -การสารวจหมู่บานเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ คัดเลือก ้ -ค่าสวัสดิการนิสิต 4 คน หมู่บานที่จะเข้าร่ วมโครงการและเตรี ยมการหาทุน ้ -การสารวจหมู่บานที่คดเลือก เก็บข้อมูลอย่างละเอียด ้ ั ประกอบการทาโครงการต่าง ๆ ในหมู่บานและพื้นที่ ้ ใกล้เคียง -ติดต่อสถานที่ราชการ และหน่วยงานของทาง--ราชการ ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานด้านต่าง ๆ -ส่งตัวแทนไปเตรี ยมค่ายและประสานงานกับหน่วยงาน ที่ได้ติดต่อไว้ 2.การเดินทาง -ติดต่อรถเดินทางจากหน่วยงานราชการ หรื อแขวงการ -รถเดินทาง 3 คัน ทาง เมื่อทราบสถานที่และกาหนดการต่าง ๆ ยืนหนังสื อ ่ ขอลดค่าโดยสาร 3.โครงงานต่ าง ๆ 1)โครงสร้าง -ร่ วมมือกันระหว่างชาวบ้านกับชาวค่ายผูเ้ ข้าร่ วม -วัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง 1 หลัง โครงการ ในการทางานโครงงานโครงสร้างโดยการ อาคารเอนกประสงค์ สร้างอาคารเอนกประสงค์ 2)โครงสัมพันธ์ -ออกไปพบปะพูดคุยกับชาวบ้านแต่ละหลังคาเรื อน เพื่อ -กระดาษ ชาวบ้าน ่ ศึกษาความเป็ นอยูและขนบธรรมเนียมประเพณี และ -ดินสอ เพื่อเป็ นการสร้างความสัมพันธ์อนดีระหว่างชาวค่ายกับ ั -ปากกา ชาวบ้าน -ทาการศึกษาและกระตุนแนวคิดในการพัฒนาตนเอง ้ ของชาวบ้าน -ช่วยเหลือชาวบ้านในส่วนที่ทาได้ 3)โครงสาธารณสุข -มีการเผยแพร่ ความรู ้ดานสาธารณสุขทางด้านยาและ ้ -ชุดเครื่ องฉายสไลด์ 1 ชุด ทันตสุขภาพ และเน้นเรื่ องสุขภาพอนามัย การ -กล้องจุลทรรศน์ 5 ชุด สาธารณสุขขั้นพื้นฐานที่จาเป็ น -ยาฆ่าพยาธิ -ติดต่อขอยืมเครื่ องมืออุปกรณ์ต่างๆ -สไลด์และกระจกปิ ดสไลด์ -กล่องใส่อุจจาระ 500 กล่อง 4)โครงสอนหนังสื อ -ติดต่อโรงเรี ยนประถมศึกษาในหมู่บาน ้ -โปสเตอร์ความรู ้
  • 9. -สอนหนังสื อแก่เด็ก ๆ ให้ความรู ้และความสนุกสนาน -อุปกรณ์การกีฬา แก่เด็กให้มีความคิดสร้างสรรค์กล้าแสดงออกและสร้าง -วัสดุในการทาสื่ อการสอน สื่ อการเรี ยนการสอน 5)โครงสวัสดิการ -จัดเตรี ยมและประกอบอาหารแก่นิสิตผูเ้ ข้าร่ วม -ค่าอาหารและผลไม้สาหรับ 60 คน โครงการ นิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ -ทาการยืมภาชนะ เครื่ องครัวที่ใช้ในการประกอบอาหาร -เครื่ องครัวและภาชนะใน และอุปกรณ์สาหรับรับประทานอาหาร การประกอบอาหาร -เตรี ยมสถานที่พก ห้องน้ า ห้องส้วม และสิ่ งอานวย ั ความสะดวกต่าง ๆ 6)โครงสัมพันธ์ชาว -จัดเตรี ยมเนื้อหากิจกรรม อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา -เครื่ องขยายเสี ยง 2 เครื่ อง ค่าย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ชาวค่าย -กลอง 2 อัน -ดาเนินการกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์โดยมุ่งเน้นให้ทุกคน -อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ในการ เกิดความสนิทสนมคุนเคยกัน ้ ทากิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 7)โครงสนับสนุน -ประชุมวางแผนงานและงบประมาณที่ใช้ -ชุดนักเรี ยนและอุปกรณ์การ 100 ชุด การศึกษา -หาทุนและติดต่อขอความอนุเคราะห์ชุดนักเรี ยน เรี ยน อุปกรณ์การเรี ยน -ค่าอาหารกลางวันสาหรับ 100 คน -ดาเนินการมอบชุดนักเรี ยนและกิจกรรมสัมพันธ์ นักเรี ยนรวมทั้งนิสิต ผูปกครอง ้ ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ (1มื้อ) 8)โครงพัฒนาชุมชน สารวจหมู่บานและโรงเรี ยนว่ามีสิ่งใดที่ใช้งานได้ไม่ ้ -คราด,จอบ,มีดพร้า เต็มที่และน่าจะมีการซ่อมแซมหรื อปรับปรุ งให้ดีข้ ึน -ขอความอนุเคราะห์ชาวบ้านในด้านอุปกรณ์การพัฒนา 9)โครงหาทุน -ประชุมวางแผนงานและคานวณงบประมาณในการ -ค่าใช้จ่ายในการติดต่อ ออกค่าย ประสานงาน -ติดต่อขอความอนุเคราะห์งบประมาณและ สิ่ งของที่ จาเป็ น 10)โครง -ติดต่อกาหนดการวาระในการประชุมค่ายและขอ -ค่าใช้จ่ายในการทาใบ ประชาสัมพันธ์ สถานที่ใช้ในการประชุมค่าย ประกาศประชาสัมพันธ์ -ออกแบบใบประกาศและติดประกาศประชาสัมพันธ์ การประชุมค่าย 4.ประเมินผล -ประชุมสมาชิกที่เข้าร่ วมโครงการที่ร่วมประเมินผล -สมาชิกที่เข้าร่ วมโครงการ 60 คน โครงการ เป้ าหมายโครงการ เชิงปริมาณ ่ วัดจากปริ มาณผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมในแต่ละวันทั้งนิสิต ชาวบ้าน และเด็กนักเรี ยน คือ 80 คน ขึ้นไป จัดว่าอยูในเกณฑ์ดี โดย วัดจากการลงทะเบียนในแต่ละวัน เชิงคุณภาพ
  • 10. วัดเปอร์เซ็นต์ความพึงพอใจของนิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและชาวบ้าน คือ ร้อยละ 80 ขึ้นไป จัดว่าอยูในเกณฑ์ดี โดยวัดจาก แบบสอบถาม งบประมาณการดาเนินการ ลาดับที่ รายการ ราคาต่ อหน่ วย จานวน หน่ วย รวม(บาท) (บาท) 1. ค่าใช้จ่ายในการสารวจข้อมูลครั้งที่ 1 (3วัน) -ค่าเดินทาง ไป-กลับ 840 4 คน 3360.00 -ค่ารถประจาทางรวม 140.00 -ค่าอาหาร จานวน 6 มื้อ 240 4 คน 1,280.00 2. ค่าใช้จ่ายในการสารวจข้อมูลครั้งที่ 2 (2วัน) -ค่าเดินทาง ไป-กลับ 840 7 คน 5880.00 -ค่ารถประจาทางรวม 280.00 -ค่าอาหาร จานวน 4 มื้อ 160 7 คน 1,120.00 3. ค่าบัตรโทรศัพท์ 300 4 ใบ 1,200.00 4. ค่าเดินทางไป-กลับกรุ งเทพ 591 60 คน -จานวน 60 คน 35,460.00 5. โครงสวัสดิการ 758 60 คน 45,480.00 -ค่าอาหารนิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ 6. โครงสาธารณสุข -น้ ายาฆ่าเชื้อ,สไลด์และกระจกปิ ดสไลด์,ยาฆ่า 1,000.00 พยาธิ,ค่าเช่า เครื่ องชังน้ าหนักและอื่น ๆ ่ -ค่าเอกสารด้านสาธารณสุข 20 ๓๐๐ 25 บาท ชุด 500.00 -แผ่นตรวจโรคเบาหวาน 15 200 แผ่น 3,000.00 7. ค่าล้างอัดรู ป 4 200 รู ป 800.00 8. โครงสอนหนังสื อ -ค่าอุปกรณ์ในการจัดทาสื่ อการสอนต่างๆ 100 5 ชุด 500.00 9. โครงสนับสนุนการศึกษา -ค่าชุดนักเรี ยนระดับประถมศึกษาและค่าอุปกรณ์ การเรี ยน 300 50 ชุด 15,000.00 -ค่าใช้จ่ายกิจกรรมพัฒนา-ส่งเสริ มเยาวชน 1,000.00 -ค่าใช้จ่ายติดต่อประสานงาน 1,000.00 รวม 117,000.00 (เก้ าหมืนเก้ าพันบาทถ้ วน) ่ 10.โครงงานโครงสร้าง ลาดับที่ รายการ ราคาต่ อหน่ วย จานวน หน่ วย รวม(บาท) (บาท)
  • 11. 1 เสาคอนกรี ตอัด แรงขนาด 3.50 ม. 560 10 ต้น 5,600.00 2 กระเบื้องมุงหลังคาลอนคู่ 58 550 แผ่น 31,900.00 3 ขอยึดขากระเบื้องขนาด 6 นิ้ว 4.80 550 ตัว 2,640.00 4 ตะปูขนาด 3 นิ้ว 30 10 กก. 300.00 5 ตะปูขนาด 4 นิ้ว 40 10 กก. 400.00 6 บานประตูขนาด 1 คูณ 2 เมตร 800 1 บาน 800.00 7 วงกบประตูขนาด 1 คูณ 1.2 เมตร 580 1 ชุด 580.00 8 บานหน้าต่างขนาด 50 คูณ 110 ซม. 280 10 บาน 2,800.00 9 วงกบหน้าต่าง 520 5 ชุด 2,600.00 10 ลวดผูกเหล็ก ศก. 1.25 มม. (เบอร์ 28) 37.38 5 กก. 186.90 11 เหล็กเส้นกลมข้ออ้อย ขนาด 12 253.4 20 เส้น 5,068.00 มิลลิเมตร ยาว 10 ม. 12 เหล็กปลอกยาวขนาด 6 มิลลิเมตร 183.4 25 เส้น 4,585.00 ยาว 10 ม. 13 ปูนซีเมนต์ 110 150 ถุง 16,500.00 14 ทรายหยาบ 340 12 ลบ.ม. 4,080.00 15 ทรายละเอียด 350 5 ลบ.ม. 1,750.00 16 อิฐบล็อก 4.35 1,200 ก้อน 5,220.00 17 อิฐมอญ 0.65 300 ก้อน 195.00 18 บานพับประตูขนาด 6 นิ้ว 39.72 3 อัน 119.16 19 บานพับ ขนาด 4 นิ้ว 19 30 อัน 570.00 20 กลอน ขนาด 4 นิ้ว 24 16 อัน 384.00 21 กลอน ขนาด 6 นิ้ว 28 2 อัน 56.00 22 มือจับ ขนาด 5 นิ้ว 28 10 อัน 280.00 23 สี ทากันมอด 420.56 3 แกลลอน 1,261.68 24 สี พลาสติกทาภายใน 600 4 ถัง 2,400.00 25 สี น้ ามัน 529.91 4 แกลลอน 2,119.64 26 สี รองพื้น 180 4 ถัง 720.00 27 ไม้ขนาด 6 นิ้ว 98 42 เมตร 4,116.00 28 ไม้ขนาด 4 นิ้ว 75 110 เมตร 8,250.00 29 ไม้ขนาด 3 นิ้ว 36 220 เมตร 7,920.00 30 ไม้เชิงชาย หน้า 6 นิ้ว ขนาด 6 เมตร 300 12 ตัว 3,600.00 31 กระเบื้องแผ่นเรี ยบ 56 10 แผ่น 560.00 32 อิฐบล็อกช่องลม 7 60 ก้อน 420.00 33 หิ นภูเขา 350 15 ลูกบาศก์เมตร 5,250.00 34 ครอบสันหลังคา 68 36 ตัว 2,448.00
  • 12. รวม 224,683.18 (หนึ่งแสนสองหมืนห้ าพันหกร้ อยแปดสิบสามบาทสิบแปดสตางค์) ่ รวมงบประมาณในการดาเนินงานทั้งสิ้น 224,683.18 บาท (สองแสนสองหมืนสี่พนหกร้ อยแปดสิบสามบาทสิบแปดสตางค์ ) ่ ั แหล่ งงบประมาณ 1.งบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก 206,683.18 บาท 2.งบประมาณจากนิสิตผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ (60คน คนละ 300 บาท) 18,000.00 บาท รวมทั้งสิ้น 224,683.18 บาท (สองแสนสองหมืนสี่พนหกร้ อยแปดสิบสามบาทสิบแปดสตางค์) ่ ั (นายปิ ยะณัฐ เชื้อบัณฑิต) นิสิตผูรับผิดชอบโครงการ ้ (นายซุฟยาน สิ นา) นิสิตผูรับผิดชอบโครงการ ้ (นายชาญชัย ม่วงดี) นิสิตผูรับผิดชอบโครงการ ้ (นายศานนท์ หวังสร้างบุญ) นายกสโมสรนิสิต องค์การบริ หารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.มานพ ม่วงใหญ่) อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ
  • 13. หมายเหตุ อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ รศ.น.สพ.ดร.มานพ ม่วงใหญ่ อีเมล์: mmanop@chula.ac.th หมายเลขโทรศัพท์ : 081-7533676 ผูที่จะให้สมภาษณ์ ้ ั นางสาววริ ยา สัตตัง นิสิตชั้นปี ที่ 3 คณะสหเวชศาสตร์ สาขาเทคนิคการแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีเมล์:register_t@hotmail.com หมายเลขโทรศัพท์ : 081-6657552
  • 14. กฎค่ ายอาสาพัฒนาจุฬาฯ-ชนบท ครั้งที่ 22 1. ชาวค่ายทุกคนต้องปฏิบติตาม กฎระเบียบของค่ายทุกข้ออย่างเคร่ งครัด ั 2. ห้ามออกนอกบริ เวณค่ายโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผูอานวยการค่ายหรื อรองผูอานวยการค่าย ้ ้ 3. อย่าเดินไปไหนมาไหนคนเดียว ควรหาเพื่อนไปด้วยโดยเฉพาะเวลากลางคืน 4. ไม่นาของมีค่าติดตัวไปค่าย เช่น โทรศัพท์มือถือ กล้องถ่ายรู ป 5. ห้ามคุยโทรศัพท์ในเวลาทากิจกรรม เว้นมีเหตุจาเป็ น ให้แจ้งผูอานวยการค่ายหรื อรองผูอานวยการค่าย ้ ้ ก่อน 6. ไม่อนุญาตให้ใช้เงินในค่าย 7. ควรแต่งกายสุ ภาพ เรี ยบร้อย และสะดวกในการทากิจกรรมต่างๆ ห้ามใส่ กางเกงสั้นเหนือเข่า แขนกุด 8. ใช้วาจาสุ ภาพในการติดต่อสื่ อสาร 9. ชาวค่ายทุกคนต้องช่วยรักษาความสะอาดทั้งสถานที่ภายในค่ายและนอกค่าย 10. ห้ามมีเรื่ องชูสาว ภายในหรื อนอกบริ เวณค่าย ้ 11. ห้ามดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ถ้าชาวบ้านเชิญชวนควรหลีกเลี่ยงอย่างสุ ภาพ และห้ามสู บบุหรี่ 12. ห้ามเล่นการพนันทุกชนิด 13. กฎ ระเบียบที่จะแจ้งเพิ่มเติมในค่าย ต้องปฏิบติตามอย่างเคร่ งครัด ั 14. ทาตามตารางเวลาที่กาหนดให้อย่างเคร่ งครัด 15. ชาวค่ายทุกคนต้องตื่นนอนพร้อมกันเวลา 06.30 น. รับประทานอาหารเช้าเวลา 07.00 น. อาหาร กลางวันเวลา 17.00 น. อาหารเย็นเวลา 18.00 น. และประชุมเวลา 19.00 น.