SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
รายงานผลการดําเนินงานโครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
โครงการกฐินรวมใจ
หัวหนาโครงการ
ผศ.ดร. มณูญพงศ ศรีวิรัตน
คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผูรวมโครงการ
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และผูมีจิตศรัทธา
ไดรับจัดสรรงบประมาณดําเนินโครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
จากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ประจําปงบประมาณ 2557
คํานํา
ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มาตรา ๖ มหาวิทยาลัยเปนสถานศึกษาและวิจัย
มีวัตถุประสงคใหการศึกษาสงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทําการสอน ทําการวิจัย ใหบริการทาง
วิชาการแกสังคมและทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งสําหรับการทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรมนั้น การทําบุญ
ทอดกฐินเปนสิ่งหนึ่งที่สําคัญในทางศาสนาโดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศไทยที่เปนเมืองพุทธ กลาวสําหรับ
การทอดกฐิน นั้น จากคําสอนของทานหลวงพอฤาษีลิงดําไดกลาววา “อานิสงสกฐินนี่ เวลานั้น
พระพุทธเจาทรงตรัสวา "โภ ปุริสะ ดูกอนทานผูเจริญ บุคคลใดเคยทอดกฐิน ไวในพระพุทธศาสนา แม
ครั้งหนึ่งในชีวิต ถาตายจากความเปนคน ยังไมถึงพระนิพพานเพียงใด ทานผูนั้น จะไปเกิดเปนเทวดา
หรือนางฟา ๕๐๐ ชาติ"
ดังนั้น คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงไดจัดทําโครงการ “กฐินรวมใจ” อันเปน
กฐินสามัคคี ทอดถวาย ณ วัดปาเกษตร (สาขา ๔๖ ของวัดหนองปาพง) บานเกษตรพัฒนา ตําบลคํา
ขวาง อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ในระหวางวันที่ ๒ - ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
ผศ.ดร.มณูญพงศ ศรีวิรัตน
หัวหนาโครงการ
สารบัญ
หนา
รายละเอียดโครงการ 1
ผลการดําเนินงาน 6
ผลสําเร็จของการดําเนินงานตามตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ 6
ความรูที่ไดรับจากการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 6
ผลกระทบตอชุมชน 6
ปญหาและอุปสรรค 7
แนวทางในการแกไข 7
บรรณานุกรม 8
ภาคผนวก 9
- รูปภาพกิจกรรม
- กําหนดการทําบุญกฐิน
รายละเอียดโครงการ
หลักการและเหตุผล
ประเพณีประจําถิ่นของไทอีสานในทุกๆ เดือนของป ซึ่งเรียกวา ฮีตสิบสอง เปนประเพณี
นิยมที่ชาวอีสานถือปฏิบัติกันมาเปนเวลานาน ไดแก
ฮีตที่ 1 บุนเขากํา คือ การทําบุญประจําเดือนเจียง หรือเดือนอาย เพื่อใหภิกษุที่ตอง
อาบัติหมวดสังฆาทิเสสเขาปริวาสกรรมชําระความมัวหมองของศีล ชาวบานจะนําอาหารถวายภิกษุ
เหลานั้นเพื่อสงเสริมใหรักษาศีลใหบริสุทธิ์ และรักษาศีล ฟงธรรมเพื่อฝกฝนตนเอง
ฮีตที่ 2 บุนคูนเขา คูนขาวหรือคูนลาน สืบเนื่องจากชาวนาที่เกี่ยวขาวแลวหาบขาวมากอง
รวมกันเปน “ลอมขาว” ผูที่มีลอมขาวสูงซึ่งเปนแปลงนาดี จึงมีจิตใจเบิกบานอยากทําบุญทําทาน เพื่อให
ผลผลิตเพิ่มพูนในปตอไป เปนบุญค้ําคูนลาน ตอมาจึงกรอนเปน บุนคูนเขา
ฮีตที่ 3 บุนเขาจี่ หรือบุนเดือนสาม ในเดือนสาม อากาศหนาวชาวบานจะใชฟนกอไฟ แลว
เขี่ยถานไฟออกมาไวดานหนึ่ง แลวปนขาวเหนียวกอนกลมโรยเกลือวางบนถานไฟแดงๆ เรียก ขาวจี่ มี
กลิ่นหอมนากิน จึงนําไปถวายภิกษุผูมีศีล ปจจุบันบุญขาวจี่ในเดือนสาม ยังมีบุญมาฆบูชาในเดือนสาม
อีกดวย
ฮีตที่ 4 บุนพะเหวด หรือบุนเดือนสี่ เปนบุนที่ทําเกี่ยวกับเรื่องราวของพระเวสสันดร มี
พิธีกรรมหลายขั้นตอน คือ แบงหนังสือ ใสหนังสือ แบงเจาศรัทธากัณฑเทศน เตรียมสถานที่พัก จัด
เครื่องกิริยาบูชา เตรียมสถานที่ เชิญพระอุปคุต แหพะเหวดเขาเมือง เทศนมาลัยหมื่นมาลัยแสน แหขาว
พันกอน
ฮีตที่ 5 บุนสงน้ําหรือบุนเดือนหา เปนการทําบุญที่เอาน้ําอบน้ําหอมไปสรงพระพุทธรูป
พระสงฆ พอแมปูยาตายาย ผูใหญที่นับถือ
ฮีตที่ 6 บุนบั้งไฟหรือบุนเดือนหา เปนการจุดบั้งไฟเพื่อบูชาพระยาแถน เทพเจาแหงฝน
ฮีตที่ 7 บุนซําฮะหรือบุนเดือนเจ็ด เปนการปดรังควาน ขจัดสิ่งสกปรก ขับไลสิ่งไมดีออก
จากหมูบาน ชาวบานจะนิมนตพระมาสวดชัยมงคลคาถาในตอนเย็น ตอนเชาจะทําบุญตักบาตร
ฮีตที่ 8 บุนเขาวัดสาหรือบุนเดือนแปด คือบุญเขาพรรษา ชาวบานจะนําดอกไม ธูปเทียน
ขาวปลาอาหารมาถวายพระที่วัด ชวงบายจะนําสบงจีวร ผาอาบน้ําฝนมาถวาย พระแลวรับศีลฟงธรรม
เทศนา เวลาประมาณหนึ่งทุมจะนําดอกไมธูปเทียนมาเวียนเทียนรอบพระอุโบสถ
ฮีตที่ 9 บุนเขาประดับดิน เปนการนําหอขาวนอย คือขาวกอนเล็ก กับขาว ผลไม ขนม
หวานอยางละนอย หมากหนึ่งคํา บุหรี่หนึ่งมวน เมี่ยงหนึ่งคํา หอใบตองใชไมกลัดหัวทาย จํานวน
มากกวาญาติพี่นองที่ลวงลับแลว ไปวางตามโคนตนไม หรือริมกําแพงในวัดในเวลาตีสามตีสี่ของวันแรม
สิบสี่ค่ําเดือนเกา แลวทําบุญตักบาตรในตอนเชา
ฮีตที่ 10 บุนเขาสากหรือบุนเดือนสิบ เปนบุญที่ใหพระเณรทั้งวัดจับสลากเพื่อรับปจจัย
ไทยทาน และสํารับกับขาวที่นํามาถวาย ในวันเพ็ญเดือนสิบ
ฮีตที่ 11 บุนออกวัดสาหรือบุนเดือนสิบเอ็ด คือบุญออกพรรษา ในเชามืดวันขึ้น 15 ค่ํา
เดือน 11 พระสงฆจะรวมกันที่พระอุโบสถ แสดงอาบัติตอกันแลวทําวัตรเชา จากนั้นทําปวารณาคือวา
กลาวตักเตือนกันได จบคําปวารณาแลว พระเถระจะใหโอวาทตักเตือนพระสงฆ สวนชาวบานมีพิธีไต
ประทีป ถวายตนผาเผิ่งหรือผาสาทเผิ่ง และไหลเฮือไฟ
1
ฮีตที่ 12 บุนกะถินหรือบุนเดือนสิบสอง เพื่อใหพระภิกษุสงฆไดผลัดเปลี่ยนจีวรใหม ชนิด
ของกฐินมี 2 ประเภท คือ 1) กฐินแลนหรือจุลกฐิน ที่จะตองทําใหเสร็จภายในวันเดียว เริ่มตั้งแตปนดาย
จนทอเปนผืนผา 2) มหากฐิน ใชเวลาเตรียมการนาน ประกอบดวยอัฐบริขาร คือ สบง จีวร สังฆาฏิ
บาตร มีดโกน เข็มเย็บผา ผารัดเอว กระบอกกรองน้ํา
ในบรรดาฮีตทั้งสิบสอง ประเพณีบุญกฐิน เปนประเพณีที่สําคัญของพระพุทธศาสนาที่
พุทธศาสนิกชนทั่วไปใหความสําคัญและนิยมปฏิบัติ โดยการนํากฐินตลอดจนปจจัยและองคประกอบ
ตางๆ ที่เกี่ยวของ ไปทอดถวายตามวัดตางๆ หลังจากพระภิกษุสงฆไดอยูจําพรรษาครบถวนตลอดไตร
มาส การทําบุญทอดกฐิน เปนงานบุญที่มีปละครั้ง จึงจัดเปนกาลทาน แปลวา "ถวายตามกาลสมัย" ป
หนึ่งทําไดครั้งเดียว วันหนึ่งทําไดครั้งเดียวในปหนึ่งๆ ตองทําภายในกําหนดเวลา คือ ตั้งแตวันแรม 1 ค่ํา
เดือน 11 จนถึงวันขึ้น 15 ค่ําเดือน 12 กอนหรือหลังจากนั้นไมนับเปนกฐิน จึงถือไดวาการทําบุญ
ทอดกฐินนับวาเปนประเพณีนิยมในการบําเพ็ญกุศล และถือเปนสาธารณประโยชนรวมไปกับการ
บูรณปฏิสังขรณวัดวาอาราม
ดังนั้นเพื่อเปนการสงเสริม สืบสานงานประเพณีบุญกฐิน ใหเกิดกิจกรรมที่ควรฟนฟูและ
อนุรักษไวซึ่งขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม ประเพณี อันดีงามใหคงอยูสืบไป ทางคณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงไดจัดทําโครงการ “กฐินรวมใจ” ประจําป 2556 ขึ้น เพื่อใหนักศึกษาและ
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร เกิดความซาบซึ้ง เห็นคุณคาและความสําคัญวัฒนธรรมไทย ทําใหเกิดความ
สมัครสมานสามัคคี มีโอกาสเรียนรูประเพณีทองถิ่น
วัตถุประสงค
1. เพื่อใหนักศึกษาและบุคลากรคณะวิทยาศาสตร เกิดความซาบซึ้ง เห็นคุณคาและ
ความสําคัญวัฒนธรรมไทย ทําใหเกิดความสมัครสมานสามัคคี
2. เพื่อสงเสริม ฟนฟู และสืบสานประเพณีบุญกฐินคงอยูสืบไป
3. เพื่อใหหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประชาชนในพื้นที่ขางเคียง และ
บุคคลที่สนใจไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม และชวยกันรักษา ทํานุบํารุงศาสนา และสืบทอดประเพณี
อันดีงามของไทยที่มีมาแตโบราณ
กลุมเปาหมาย
คุณสมบัติของผูรวมโครงการ
นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศบัญฑิต ชั้นปที่ 3 จํานวน 40 คน
นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศมหาบัญฑิต ชั้นปที่ 2 จํานวน 12 คน
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร จํานวน 28 คน
จํานวนผูรวมโครงการ
รวมจํานวนผูรวมโครงการ 80 คน
สถานที่จัดกิจกรรม
วัดปาเกษตร บานเกษตรพัฒนา ต. คําขวาง อ. วารินชําราบ จ. อุบลราชธานี
2
ผลผลิตของงานที่จะสงมอบ
รายงานโครงการกิจกรรม
การดําเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดําเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดําเนินการ
กิจกรรม
2556 2557 ร ว ม
เงิน
(บาท)
ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
กิ จ ก ร ร ม /
วิธีการ
1 .
ประสานงาน
กิจกรรม

2 .
ประชาสัมพันธ

3. กิจกรรม 
4. ประเมินผล
และรายงาน
ผล

แผนเงิน
คาอาหารและ
เครื่องดื่ม
คาเบี้ยเลี้ยง
คาจางเหมา
ยานพาหนะ
คาจางเหมา
แรงงาน
16,000
4,200
6,000
3,000
16,000
4,200
6,000
3,000
คาเครื่องผา
กฐินและ
เครื่องบริขาร
คาวัสดุ
สํานักงาน
คาวัสดุโฆษณา
ประชาสัมพันธ
คาวัสดุน้ํามัน
เชื้อเพลิง
15,000
2,000
3,000
5,800
15,000
2,000
3,000
5,800
รวม 55,000 55,000
3
2. ระยะเวลาดําเนินงาน
2.1. เวลาในการบริหารจัดการโครงการ 1- 30 ตุลาคม 2556
2.2 วันที่ดําเนินกิจกรรม คือ วันที่ 2 – 3 พฤศจิกายน 2556 จํานวน 2 วัน
3. รางกําหนดการ (สําหรับโครงการ)
เวลา กิจกรรม / หัวขอ
วันที่ 2 พ.ย. 56
เวลา 14.00 น.
เวลา 16.00 น.
เวลา 20.00 น.
พิธีฉลององคกฐิน ณ ชั้น 1 อาคารวิจัย
นําองคกฐิน จากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไปตั้ง ณ ศาลาการเปรียญวัด
พิธีฉลองสมโภชองคกฐิน
วันที่ 3 พ.ย. 56
เวลา 09.00 น.
เวลา 11.00 น.
เวลา 13.00 น.
คณะกรรมการ คณาจารย บุคลากร และนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานีออกเดินทางจากมหาวิทยาลัย ไปยังวัดที่ตั้งองคกฐิน
ถวายภัตตาหารเพลแดพระสงฆ
พิธีถวายผากฐิน
ผลที่คาดวาจะไดรับในการดําเนินโครงการฯ :
1. นักศึกษาและบุคลากรคณะวิทยาศาสตร เกิดความซาบซึ้ง เห็นคุณคาและความสําคัญ
ของวัฒนธรรมไทย ทําใหเกิดความสมัครสมานสามัคคี
2. บุคลากรของหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประชาชนในพื้นที่ขางเคียง
และบุคคลที่สนใจไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม และชวยกันรักษา ทํานุบํารุงศาสนา และสืบทอด
ประเพณีอันดีงามของไทยที่มีมาแตโบราณ
ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ
ดานปริมาณ จํานวนผูรวมโครงการไมนอยกวารอยละ 80
ดานคุณภาพ ผูรวมโครงการมีความพึงพอใจตอประโยชนที่ไดรับรอยละ 80
นักศึกษารอยละ 80 ตระหนักถึงคุณคาและเห็นความสําคัญของวัฒนธรรม
ทองถิ่น
ดานเวลา ดําเนินการแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด
ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด หนวย คาเปาหมาย
จํานวนผูรวมโครงการ คน 80
ความพึงพอใจของผูรวมโครงการ รอยละ 80
ผูรวมโครงการที่นําความรูไปใชประโยชน รอยละ 80
ระยะเวลาในการดําเนินงาน วัน 2
4
ตัวชี้วัดตามเกณฑประกันคุณภาพ
แผนการบูรณาการกับ
การเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ
รายวิชา 1104786 Knowledge
Management ของหลักสูตร
เทคโนโลยีสารสนเทศมหาบัณทิต
นักศึกษาชั้นปที่ 2
และ 1106345 Strategic
Management of Information
Technology ของหลักสูตร
เทคโนโลยีสารสนเทศบัณทิต
นักศึกษาชั้นปที่ 3
- การนําคุณธรรมจริยธรรม
ทางศาสนาสอดแทรกเขากับ
การเรียนการสอนในรายวิชา
- นํานักศึกษาเขารวมกิจกรรม
การทําบุญกฐินตามแผนงานที่
กําหนด
รอยละของนักศึกษาที่เขารวม
โครงการมีความพึงพอใจในการ
เขารวมโครงการไมนอยกวารอย
ละ 80
หรือมากกวาระดับ 3.51
การติดตามการดําเนินงาน
รายงานผลการดําเนินงานทุก 3 เดือน ใหคณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่กําหนด
การประเมินและรายงานผลการดําเนินงาน
สงรายงานผลการดําเนินโครงการฉบับสมบูรณตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกําหนด ใหกับ
คณะและมหาวิทยาลัยทราบ จํานวน 2 เลม ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดําเนินการแลวเสร็จ
สงรายงานทางการเงินใหกับคณะและมหาวิทยาลัยภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดําเนินการ
แลวเสร็จ
งบประมาณ (แยกตามหมวดคาใชจาย)
1. หมวดคาตอบแทน รวม 4,200 บาท
- คาอาหารทําการนอกเวลาวันหยุดราชการ 4,200 บาท
(2 วัน * 5คน * 420 บาท)
2. คาใชสอย รวม 19,800 บาท
- คาอาหารโรงทาน 19,800 บาท
3. คาวัสดุ รวม 31,000 บาท
- คาวัสดุสํานักงาน (เครื่องผากฐินและเครื่องบริขาร) 15,000 บาท
- คาวัสดุงานบานงานครัว 16,000 บาท
รวมงบประมาณ 55,000 บาท
5
ผลการดําเนินงาน
โครงการกฐินรวมใจเปนการทํากฐินสามัคคีรวมกับพุทธศาสนิกชนที่อาศัยอยูรอบชุมชุมวัดปา
เกษตร และพุทธศาสนิกชนที่สนใจทั่วไป โดยรวมบริจาคเงินสมทบทําบุญกฐินสามัคคีสําหรับภาระกิจ
และกิจกรรมของวัด กฐินรวมใจมีการดําเนินงานดังนี้
วันเสารที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เปนวันรวมตั้งองคกฐิน ณ วัดปาเกษตร
เวลา ๐๙.๐๐ น. จัดเตรียมสถานที่ตั้งองคกฐินสามัคคี
เวลา ๑๙.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เจริญพระพุทธมนต
เวลา ๒๑.๐๐ น. แสดงธรรมฉลองสมโภชนองคกฐิน
วันอาทิตยที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เปนวัดทอดกฐินสามัคคี
เวลา ๐๘.๐๐ น. ถวายภัตตาหารแดพระภิกษุ-สามเณร
เวลา ๐๙.๐๐ น. รวมกันทําพิธีทอดผากฐินสามัคคี
โดยยอดรวมการทําบุญกฐินรวมใจสามัคคี รวมยอดสุทธิจํานวน เปนเงิน ๘๗๕,๐๒๐ บาท
ผลสําเร็จของการดําเนินงานตามตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ
ดานปริมาณ มีผูเขารวมโครงการจํานวนประมาณ ๒๐๐ คน
ดานคุณภาพ ผูเขารวมโครงการไดรับผลบุญมีความพึงพอใจไดบุญกุศลในการทะนุบํารุงพุทธ
ศาสนา
ดานเวลา มีการดําเนินงานตามกําหนดการที่ไดกําหนดไว
ผลสําเร็จของการดําเนินงานตามตัวชี้วัดตามเกณฑประกันคุณภาพ
ความสําเร็จของการบูรณาการกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา เนื่องจาก
หัวหนาโครงการเปนอาจารยประจําสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาคณิตศาสตร สถิติและ
คอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร ดังนั้น การบรูณาการโครงการกฐินรวมใจกับดานสาขาเทคโนโลยี
สารสนเทศ จึงดําเนินการไดเพียงใชประโยชนจากสื่อสังคม (Social Media) ในการประชาสัมพันธใน
กลุม Facebook ในรายวิชาที่สอน คือ วิชา Knowledge Management (ทั้งระดับปริญญาตรี และ
ปริญญาโท) คือ https://www.facebook.com/groups/472411659541734/ และ
https://www.facebook.com/groups/1445506062330329/ ตามลําดับ
ความรูที่ไดรับจากการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
ทําใหทราบวาการทําบุญทอดกฐินนั้น เปนกิจกรรมทางพุทธศาสนาที่สําคัญของ
พุทธศาสนิกชน ตามคํากลาวคําสอนของหลวงพอฤาษีลิงดําที่วา พระพุทธเจาทรงตรัสวา "โภ ปุริสะ
ดูกอนทานผูเจริญ บุคคลใดเคยทอดกฐินไวในพระพุทธศาสนา แมครั้งหนึ่งในชีวิต ถาตายจากความเปน
คน ยังไมถึงพระนิพพานเพียงใด ทานผูนั้น จะไปเกิดเปนเทวดา หรือนางฟา ๕๐๐ ชาติ"
6
ผลกระทบตอชุมชน
โครงการกฐินรวมใจสงผลกระทบกับชุมชนคือเกิดการมีสวนรวมของชุมชุม (หมูบาน)
ตาง ๆ ที่อยูใกลเคียงกับวัดปาเกษตร ไดมาชวยกัน เชน จัดทําโรงทาน การจัดกองกฐิน เปนตน
ทําใหเกิดการชวยเหลือเอื้ออาทรตอกันและกันเกิดความรักสามัคคีของชุมชนตางๆ รวมทั้งกับ
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งผลกระทบดังกลาวเปนการผลกระทบที่เกิดผลดีตอการทํานุบํารุงพุทธ
ศาสนาให ยั่งยืนอยูในผืนแผนดินไทยตราบนานเทานาน
ปญหาและอุปสรรค
ดานการดําเนินงาน/การบริหารโครงการ
เนื่องจากโครงการดังกลาวเกี่ยวกับการทําบุญทอดกฐิน ซึ่งมีระยะเวลาดําเนินการ
ในชวงเวลาที่จํากัดที่จะตองดําเนินการหลังจากวันออกพรรษา ในระยะเวลา ๑
เดือน ดังนั้น การประสานงานกับวัดที่ตองการทอดกฐินถวายนั้น จําเปนจะตอง
ดําเนินการประสานงานตั้งแตเนิ่นๆ เปนระยะเวลานาน เพื่อขอเปนจําภาพ
ดําเนินการ
ดานการบูรณาการกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
เนื่องจากหัวหนาโครงการเปนประจําสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชา
คณิตศาสตร สถิติและคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร ซึ่งเปนการยากลําบากใน
การบูรณาการการเรียนการสอนกับกิจกรรมนักศึกษา ระหวาง “กฐิน” กับ
“เทคโนโลยีสารสนเทศ” อยางไรก็ตาม หัวหนาโครงการไดใชประโยชนจาก จาก
สื่อสังคม (Social Media) ในการประชาสัมพันธและประโยชนจากการทําบุญ
ทอดกฐิน ในลักษณะการจัดการความรู
แนวทางในการแกไข
ดานการดําเนินงาน/การบริหารโครงการ
ควรจะมีการอนุมัติโครงการตั้งแตเนิ่นๆ กอนชวงเดือน พฤศจิกายน (ชวง
ระยะเวลาการทอดกฐิน) เปนเวลา ๓-๔ เดือน เพื่อจะไดดําเนินงานประสานใน
สวนตางๆ
ดานการบูรณาการกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
-
7
บรรณานุกรม
[1] พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ออนไลน เขาถึงไดที่
http://www.library.coj.go.th/info/data/T17-01-001.pdf
[2] หลวงพอฤาษีลิงดํา ประวัติและอานิสงสการทอดกฐิน ออนไลน เขาถึงไดที่
https://www.facebook.com/LoveMoralBuddha/posts/484143854939837
[3] หลวงพอฤาษีลิงดํา อานิสงสกฐินทาน ออนไลน เขาถึงไดที่
http://www.jetovimut.com/forum/index.php?topic=1085.0
8
ภาคผนวก
รูปภาพกิจกรรม
สถานที่ทอดกฐินรวมใจสามัคคี วัดปาเกษตร
บุคลากรคณะวิทยาศาสตร รวมกับรวบรวมนับซองปจจัยทําบุญทอดกฐิน
การตั้งองคกฐิน ณ วัดปาเกษตร
ผูมีจิตศรัทธารวมทอดถวายผากฐินสามัคคี
คณบดีคณะวิทยาศาสตร ผศ.ดร.จันทรเพ็ญ อินทรประเสริฐ
หัวหนาโครงการกับเจาหนาที่สหกรณออมทรัพย ม.อุบลฯ จํากัด
หัวหนาโครงการกับนักศึกษาปริญญาโท สาชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
บรรยากาศ โรงทาน ณ วัดปาเกษตร ในเชาวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
คณะกรรมการวัดปาเกษตร ตรวจสอบเงินที่รวมบริจาคทําบุญ
บรรยากาศ โรงทาน ณ วัดปาเกษตร ในเชาวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
บรรยากาศ โรงทาน ณ วัดปาเกษตร ในเชาวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖

More Related Content

What's hot

โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องโครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องRapheephan Phola
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่Sopa
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาSaranda Nim
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรNontaporn Pilawut
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 

What's hot (20)

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องโครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 

Viewers also liked

วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาThongsawan Seeha
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงPongsa Pongsathorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 
.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_saftyntc thailand
 
โครงงานงานประดิษฐ์จากใบตอง
โครงงานงานประดิษฐ์จากใบตองโครงงานงานประดิษฐ์จากใบตอง
โครงงานงานประดิษฐ์จากใบตองWanit Moonyong
 
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันรายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันDrDanai Thienphut
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจพัน พัน
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมdekthai
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 

Viewers also liked (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty
 
โครงงานงานประดิษฐ์จากใบตอง
โครงงานงานประดิษฐ์จากใบตองโครงงานงานประดิษฐ์จากใบตอง
โครงงานงานประดิษฐ์จากใบตอง
 
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันรายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิงศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
บทนำ (1)
บทนำ (1)บทนำ (1)
บทนำ (1)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจ
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 

Similar to รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖

2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kkutipzaa
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kkutipzaa
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kkutipzaa
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kkutipzaa
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243KKU Library
 

Similar to รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖ (20)

2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
 
20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
V 263
V 263V 263
V 263
 
Information2012
Information2012Information2012
Information2012
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
V 268
V 268V 268
V 268
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
 
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
 

More from Manoonpong Srivirat

อุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก อุบลราชธานี
อุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก อุบลราชธานีอุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก อุบลราชธานี
อุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก อุบลราชธานีManoonpong Srivirat
 
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชาพระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชาManoonpong Srivirat
 
๘๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน
๘๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน๘๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน
๘๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนManoonpong Srivirat
 
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ Manoonpong Srivirat
 
สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนสัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนManoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๑
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๑หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๑
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๑Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๐
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๐หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๐
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๐Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๙
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๙หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๙
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๙Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๘
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๘หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๘
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๘Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๗
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๗หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๗
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๗Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๖
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๖หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๖
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๖Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๕
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๕หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๕
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๕Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๔
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๔หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๔
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๔Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๓
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๓หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๓
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๓Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๒
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๒หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๒
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๒Manoonpong Srivirat
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑Manoonpong Srivirat
 
ทางสายเข้าสู่พระนิพพาน
ทางสายเข้าสู่พระนิพพานทางสายเข้าสู่พระนิพพาน
ทางสายเข้าสู่พระนิพพานManoonpong Srivirat
 
ฝึกใจให้ฉลาด
ฝึกใจให้ฉลาดฝึกใจให้ฉลาด
ฝึกใจให้ฉลาดManoonpong Srivirat
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนManoonpong Srivirat
 

More from Manoonpong Srivirat (19)

อุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก อุบลราชธานี
อุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก อุบลราชธานีอุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก อุบลราชธานี
อุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก อุบลราชธานี
 
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชาพระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
 
๘๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน
๘๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน๘๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน
๘๓๕๐ การทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน
 
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
 
สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนสัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
สัจธรรมแห่งแนวพระราชดำริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๑
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๑หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๑
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๑
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๐
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๐หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๐
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑๐
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๙
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๙หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๙
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๙
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๘
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๘หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๘
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๘
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๗
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๗หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๗
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๗
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๖
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๖หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๖
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๖
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๕
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๕หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๕
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๕
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๔
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๔หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๔
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๔
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๓
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๓หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๓
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๓
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๒
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๒หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๒
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๒
 
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑
หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ๑
 
ทางสายเข้าสู่พระนิพพาน
ทางสายเข้าสู่พระนิพพานทางสายเข้าสู่พระนิพพาน
ทางสายเข้าสู่พระนิพพาน
 
ฝึกใจให้ฉลาด
ฝึกใจให้ฉลาดฝึกใจให้ฉลาด
ฝึกใจให้ฉลาด
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
 

รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖

  • 1. รายงานผลการดําเนินงานโครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โครงการกฐินรวมใจ หัวหนาโครงการ ผศ.ดร. มณูญพงศ ศรีวิรัตน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผูรวมโครงการ บุคลากรคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และผูมีจิตศรัทธา ไดรับจัดสรรงบประมาณดําเนินโครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจําปงบประมาณ 2557
  • 2. คํานํา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มาตรา ๖ มหาวิทยาลัยเปนสถานศึกษาและวิจัย มีวัตถุประสงคใหการศึกษาสงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทําการสอน ทําการวิจัย ใหบริการทาง วิชาการแกสังคมและทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งสําหรับการทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรมนั้น การทําบุญ ทอดกฐินเปนสิ่งหนึ่งที่สําคัญในทางศาสนาโดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศไทยที่เปนเมืองพุทธ กลาวสําหรับ การทอดกฐิน นั้น จากคําสอนของทานหลวงพอฤาษีลิงดําไดกลาววา “อานิสงสกฐินนี่ เวลานั้น พระพุทธเจาทรงตรัสวา "โภ ปุริสะ ดูกอนทานผูเจริญ บุคคลใดเคยทอดกฐิน ไวในพระพุทธศาสนา แม ครั้งหนึ่งในชีวิต ถาตายจากความเปนคน ยังไมถึงพระนิพพานเพียงใด ทานผูนั้น จะไปเกิดเปนเทวดา หรือนางฟา ๕๐๐ ชาติ" ดังนั้น คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงไดจัดทําโครงการ “กฐินรวมใจ” อันเปน กฐินสามัคคี ทอดถวาย ณ วัดปาเกษตร (สาขา ๔๖ ของวัดหนองปาพง) บานเกษตรพัฒนา ตําบลคํา ขวาง อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ในระหวางวันที่ ๒ - ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ผศ.ดร.มณูญพงศ ศรีวิรัตน หัวหนาโครงการ
  • 3. สารบัญ หนา รายละเอียดโครงการ 1 ผลการดําเนินงาน 6 ผลสําเร็จของการดําเนินงานตามตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ 6 ความรูที่ไดรับจากการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 6 ผลกระทบตอชุมชน 6 ปญหาและอุปสรรค 7 แนวทางในการแกไข 7 บรรณานุกรม 8 ภาคผนวก 9 - รูปภาพกิจกรรม - กําหนดการทําบุญกฐิน
  • 4. รายละเอียดโครงการ หลักการและเหตุผล ประเพณีประจําถิ่นของไทอีสานในทุกๆ เดือนของป ซึ่งเรียกวา ฮีตสิบสอง เปนประเพณี นิยมที่ชาวอีสานถือปฏิบัติกันมาเปนเวลานาน ไดแก ฮีตที่ 1 บุนเขากํา คือ การทําบุญประจําเดือนเจียง หรือเดือนอาย เพื่อใหภิกษุที่ตอง อาบัติหมวดสังฆาทิเสสเขาปริวาสกรรมชําระความมัวหมองของศีล ชาวบานจะนําอาหารถวายภิกษุ เหลานั้นเพื่อสงเสริมใหรักษาศีลใหบริสุทธิ์ และรักษาศีล ฟงธรรมเพื่อฝกฝนตนเอง ฮีตที่ 2 บุนคูนเขา คูนขาวหรือคูนลาน สืบเนื่องจากชาวนาที่เกี่ยวขาวแลวหาบขาวมากอง รวมกันเปน “ลอมขาว” ผูที่มีลอมขาวสูงซึ่งเปนแปลงนาดี จึงมีจิตใจเบิกบานอยากทําบุญทําทาน เพื่อให ผลผลิตเพิ่มพูนในปตอไป เปนบุญค้ําคูนลาน ตอมาจึงกรอนเปน บุนคูนเขา ฮีตที่ 3 บุนเขาจี่ หรือบุนเดือนสาม ในเดือนสาม อากาศหนาวชาวบานจะใชฟนกอไฟ แลว เขี่ยถานไฟออกมาไวดานหนึ่ง แลวปนขาวเหนียวกอนกลมโรยเกลือวางบนถานไฟแดงๆ เรียก ขาวจี่ มี กลิ่นหอมนากิน จึงนําไปถวายภิกษุผูมีศีล ปจจุบันบุญขาวจี่ในเดือนสาม ยังมีบุญมาฆบูชาในเดือนสาม อีกดวย ฮีตที่ 4 บุนพะเหวด หรือบุนเดือนสี่ เปนบุนที่ทําเกี่ยวกับเรื่องราวของพระเวสสันดร มี พิธีกรรมหลายขั้นตอน คือ แบงหนังสือ ใสหนังสือ แบงเจาศรัทธากัณฑเทศน เตรียมสถานที่พัก จัด เครื่องกิริยาบูชา เตรียมสถานที่ เชิญพระอุปคุต แหพะเหวดเขาเมือง เทศนมาลัยหมื่นมาลัยแสน แหขาว พันกอน ฮีตที่ 5 บุนสงน้ําหรือบุนเดือนหา เปนการทําบุญที่เอาน้ําอบน้ําหอมไปสรงพระพุทธรูป พระสงฆ พอแมปูยาตายาย ผูใหญที่นับถือ ฮีตที่ 6 บุนบั้งไฟหรือบุนเดือนหา เปนการจุดบั้งไฟเพื่อบูชาพระยาแถน เทพเจาแหงฝน ฮีตที่ 7 บุนซําฮะหรือบุนเดือนเจ็ด เปนการปดรังควาน ขจัดสิ่งสกปรก ขับไลสิ่งไมดีออก จากหมูบาน ชาวบานจะนิมนตพระมาสวดชัยมงคลคาถาในตอนเย็น ตอนเชาจะทําบุญตักบาตร ฮีตที่ 8 บุนเขาวัดสาหรือบุนเดือนแปด คือบุญเขาพรรษา ชาวบานจะนําดอกไม ธูปเทียน ขาวปลาอาหารมาถวายพระที่วัด ชวงบายจะนําสบงจีวร ผาอาบน้ําฝนมาถวาย พระแลวรับศีลฟงธรรม เทศนา เวลาประมาณหนึ่งทุมจะนําดอกไมธูปเทียนมาเวียนเทียนรอบพระอุโบสถ ฮีตที่ 9 บุนเขาประดับดิน เปนการนําหอขาวนอย คือขาวกอนเล็ก กับขาว ผลไม ขนม หวานอยางละนอย หมากหนึ่งคํา บุหรี่หนึ่งมวน เมี่ยงหนึ่งคํา หอใบตองใชไมกลัดหัวทาย จํานวน มากกวาญาติพี่นองที่ลวงลับแลว ไปวางตามโคนตนไม หรือริมกําแพงในวัดในเวลาตีสามตีสี่ของวันแรม สิบสี่ค่ําเดือนเกา แลวทําบุญตักบาตรในตอนเชา ฮีตที่ 10 บุนเขาสากหรือบุนเดือนสิบ เปนบุญที่ใหพระเณรทั้งวัดจับสลากเพื่อรับปจจัย ไทยทาน และสํารับกับขาวที่นํามาถวาย ในวันเพ็ญเดือนสิบ ฮีตที่ 11 บุนออกวัดสาหรือบุนเดือนสิบเอ็ด คือบุญออกพรรษา ในเชามืดวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 11 พระสงฆจะรวมกันที่พระอุโบสถ แสดงอาบัติตอกันแลวทําวัตรเชา จากนั้นทําปวารณาคือวา กลาวตักเตือนกันได จบคําปวารณาแลว พระเถระจะใหโอวาทตักเตือนพระสงฆ สวนชาวบานมีพิธีไต ประทีป ถวายตนผาเผิ่งหรือผาสาทเผิ่ง และไหลเฮือไฟ 1
  • 5. ฮีตที่ 12 บุนกะถินหรือบุนเดือนสิบสอง เพื่อใหพระภิกษุสงฆไดผลัดเปลี่ยนจีวรใหม ชนิด ของกฐินมี 2 ประเภท คือ 1) กฐินแลนหรือจุลกฐิน ที่จะตองทําใหเสร็จภายในวันเดียว เริ่มตั้งแตปนดาย จนทอเปนผืนผา 2) มหากฐิน ใชเวลาเตรียมการนาน ประกอบดวยอัฐบริขาร คือ สบง จีวร สังฆาฏิ บาตร มีดโกน เข็มเย็บผา ผารัดเอว กระบอกกรองน้ํา ในบรรดาฮีตทั้งสิบสอง ประเพณีบุญกฐิน เปนประเพณีที่สําคัญของพระพุทธศาสนาที่ พุทธศาสนิกชนทั่วไปใหความสําคัญและนิยมปฏิบัติ โดยการนํากฐินตลอดจนปจจัยและองคประกอบ ตางๆ ที่เกี่ยวของ ไปทอดถวายตามวัดตางๆ หลังจากพระภิกษุสงฆไดอยูจําพรรษาครบถวนตลอดไตร มาส การทําบุญทอดกฐิน เปนงานบุญที่มีปละครั้ง จึงจัดเปนกาลทาน แปลวา "ถวายตามกาลสมัย" ป หนึ่งทําไดครั้งเดียว วันหนึ่งทําไดครั้งเดียวในปหนึ่งๆ ตองทําภายในกําหนดเวลา คือ ตั้งแตวันแรม 1 ค่ํา เดือน 11 จนถึงวันขึ้น 15 ค่ําเดือน 12 กอนหรือหลังจากนั้นไมนับเปนกฐิน จึงถือไดวาการทําบุญ ทอดกฐินนับวาเปนประเพณีนิยมในการบําเพ็ญกุศล และถือเปนสาธารณประโยชนรวมไปกับการ บูรณปฏิสังขรณวัดวาอาราม ดังนั้นเพื่อเปนการสงเสริม สืบสานงานประเพณีบุญกฐิน ใหเกิดกิจกรรมที่ควรฟนฟูและ อนุรักษไวซึ่งขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม ประเพณี อันดีงามใหคงอยูสืบไป ทางคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงไดจัดทําโครงการ “กฐินรวมใจ” ประจําป 2556 ขึ้น เพื่อใหนักศึกษาและ บุคลากรคณะวิทยาศาสตร เกิดความซาบซึ้ง เห็นคุณคาและความสําคัญวัฒนธรรมไทย ทําใหเกิดความ สมัครสมานสามัคคี มีโอกาสเรียนรูประเพณีทองถิ่น วัตถุประสงค 1. เพื่อใหนักศึกษาและบุคลากรคณะวิทยาศาสตร เกิดความซาบซึ้ง เห็นคุณคาและ ความสําคัญวัฒนธรรมไทย ทําใหเกิดความสมัครสมานสามัคคี 2. เพื่อสงเสริม ฟนฟู และสืบสานประเพณีบุญกฐินคงอยูสืบไป 3. เพื่อใหหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประชาชนในพื้นที่ขางเคียง และ บุคคลที่สนใจไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม และชวยกันรักษา ทํานุบํารุงศาสนา และสืบทอดประเพณี อันดีงามของไทยที่มีมาแตโบราณ กลุมเปาหมาย คุณสมบัติของผูรวมโครงการ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศบัญฑิต ชั้นปที่ 3 จํานวน 40 คน นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศมหาบัญฑิต ชั้นปที่ 2 จํานวน 12 คน บุคลากรคณะวิทยาศาสตร จํานวน 28 คน จํานวนผูรวมโครงการ รวมจํานวนผูรวมโครงการ 80 คน สถานที่จัดกิจกรรม วัดปาเกษตร บานเกษตรพัฒนา ต. คําขวาง อ. วารินชําราบ จ. อุบลราชธานี 2
  • 6. ผลผลิตของงานที่จะสงมอบ รายงานโครงการกิจกรรม การดําเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดําเนินงานโครงการฯ) 1. กิจกรรมและวิธีดําเนินการ กิจกรรม 2556 2557 ร ว ม เงิน (บาท) ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กิ จ ก ร ร ม / วิธีการ 1 . ประสานงาน กิจกรรม  2 . ประชาสัมพันธ  3. กิจกรรม  4. ประเมินผล และรายงาน ผล  แผนเงิน คาอาหารและ เครื่องดื่ม คาเบี้ยเลี้ยง คาจางเหมา ยานพาหนะ คาจางเหมา แรงงาน 16,000 4,200 6,000 3,000 16,000 4,200 6,000 3,000 คาเครื่องผา กฐินและ เครื่องบริขาร คาวัสดุ สํานักงาน คาวัสดุโฆษณา ประชาสัมพันธ คาวัสดุน้ํามัน เชื้อเพลิง 15,000 2,000 3,000 5,800 15,000 2,000 3,000 5,800 รวม 55,000 55,000 3
  • 7. 2. ระยะเวลาดําเนินงาน 2.1. เวลาในการบริหารจัดการโครงการ 1- 30 ตุลาคม 2556 2.2 วันที่ดําเนินกิจกรรม คือ วันที่ 2 – 3 พฤศจิกายน 2556 จํานวน 2 วัน 3. รางกําหนดการ (สําหรับโครงการ) เวลา กิจกรรม / หัวขอ วันที่ 2 พ.ย. 56 เวลา 14.00 น. เวลา 16.00 น. เวลา 20.00 น. พิธีฉลององคกฐิน ณ ชั้น 1 อาคารวิจัย นําองคกฐิน จากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไปตั้ง ณ ศาลาการเปรียญวัด พิธีฉลองสมโภชองคกฐิน วันที่ 3 พ.ย. 56 เวลา 09.00 น. เวลา 11.00 น. เวลา 13.00 น. คณะกรรมการ คณาจารย บุคลากร และนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย อุบลราชธานีออกเดินทางจากมหาวิทยาลัย ไปยังวัดที่ตั้งองคกฐิน ถวายภัตตาหารเพลแดพระสงฆ พิธีถวายผากฐิน ผลที่คาดวาจะไดรับในการดําเนินโครงการฯ : 1. นักศึกษาและบุคลากรคณะวิทยาศาสตร เกิดความซาบซึ้ง เห็นคุณคาและความสําคัญ ของวัฒนธรรมไทย ทําใหเกิดความสมัครสมานสามัคคี 2. บุคลากรของหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประชาชนในพื้นที่ขางเคียง และบุคคลที่สนใจไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม และชวยกันรักษา ทํานุบํารุงศาสนา และสืบทอด ประเพณีอันดีงามของไทยที่มีมาแตโบราณ ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ดานปริมาณ จํานวนผูรวมโครงการไมนอยกวารอยละ 80 ดานคุณภาพ ผูรวมโครงการมีความพึงพอใจตอประโยชนที่ไดรับรอยละ 80 นักศึกษารอยละ 80 ตระหนักถึงคุณคาและเห็นความสําคัญของวัฒนธรรม ทองถิ่น ดานเวลา ดําเนินการแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ตัวชี้วัด หนวย คาเปาหมาย จํานวนผูรวมโครงการ คน 80 ความพึงพอใจของผูรวมโครงการ รอยละ 80 ผูรวมโครงการที่นําความรูไปใชประโยชน รอยละ 80 ระยะเวลาในการดําเนินงาน วัน 2 4
  • 8. ตัวชี้วัดตามเกณฑประกันคุณภาพ แผนการบูรณาการกับ การเรียนการสอน ลักษณะการบูรณาการ ตัวชี้วัดความสําเร็จ รายวิชา 1104786 Knowledge Management ของหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศมหาบัณทิต นักศึกษาชั้นปที่ 2 และ 1106345 Strategic Management of Information Technology ของหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศบัณทิต นักศึกษาชั้นปที่ 3 - การนําคุณธรรมจริยธรรม ทางศาสนาสอดแทรกเขากับ การเรียนการสอนในรายวิชา - นํานักศึกษาเขารวมกิจกรรม การทําบุญกฐินตามแผนงานที่ กําหนด รอยละของนักศึกษาที่เขารวม โครงการมีความพึงพอใจในการ เขารวมโครงการไมนอยกวารอย ละ 80 หรือมากกวาระดับ 3.51 การติดตามการดําเนินงาน รายงานผลการดําเนินงานทุก 3 เดือน ใหคณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่กําหนด การประเมินและรายงานผลการดําเนินงาน สงรายงานผลการดําเนินโครงการฉบับสมบูรณตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกําหนด ใหกับ คณะและมหาวิทยาลัยทราบ จํานวน 2 เลม ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดําเนินการแลวเสร็จ สงรายงานทางการเงินใหกับคณะและมหาวิทยาลัยภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดําเนินการ แลวเสร็จ งบประมาณ (แยกตามหมวดคาใชจาย) 1. หมวดคาตอบแทน รวม 4,200 บาท - คาอาหารทําการนอกเวลาวันหยุดราชการ 4,200 บาท (2 วัน * 5คน * 420 บาท) 2. คาใชสอย รวม 19,800 บาท - คาอาหารโรงทาน 19,800 บาท 3. คาวัสดุ รวม 31,000 บาท - คาวัสดุสํานักงาน (เครื่องผากฐินและเครื่องบริขาร) 15,000 บาท - คาวัสดุงานบานงานครัว 16,000 บาท รวมงบประมาณ 55,000 บาท 5
  • 9. ผลการดําเนินงาน โครงการกฐินรวมใจเปนการทํากฐินสามัคคีรวมกับพุทธศาสนิกชนที่อาศัยอยูรอบชุมชุมวัดปา เกษตร และพุทธศาสนิกชนที่สนใจทั่วไป โดยรวมบริจาคเงินสมทบทําบุญกฐินสามัคคีสําหรับภาระกิจ และกิจกรรมของวัด กฐินรวมใจมีการดําเนินงานดังนี้ วันเสารที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เปนวันรวมตั้งองคกฐิน ณ วัดปาเกษตร เวลา ๐๙.๐๐ น. จัดเตรียมสถานที่ตั้งองคกฐินสามัคคี เวลา ๑๙.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เจริญพระพุทธมนต เวลา ๒๑.๐๐ น. แสดงธรรมฉลองสมโภชนองคกฐิน วันอาทิตยที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เปนวัดทอดกฐินสามัคคี เวลา ๐๘.๐๐ น. ถวายภัตตาหารแดพระภิกษุ-สามเณร เวลา ๐๙.๐๐ น. รวมกันทําพิธีทอดผากฐินสามัคคี โดยยอดรวมการทําบุญกฐินรวมใจสามัคคี รวมยอดสุทธิจํานวน เปนเงิน ๘๗๕,๐๒๐ บาท ผลสําเร็จของการดําเนินงานตามตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ดานปริมาณ มีผูเขารวมโครงการจํานวนประมาณ ๒๐๐ คน ดานคุณภาพ ผูเขารวมโครงการไดรับผลบุญมีความพึงพอใจไดบุญกุศลในการทะนุบํารุงพุทธ ศาสนา ดานเวลา มีการดําเนินงานตามกําหนดการที่ไดกําหนดไว ผลสําเร็จของการดําเนินงานตามตัวชี้วัดตามเกณฑประกันคุณภาพ ความสําเร็จของการบูรณาการกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา เนื่องจาก หัวหนาโครงการเปนอาจารยประจําสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาคณิตศาสตร สถิติและ คอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร ดังนั้น การบรูณาการโครงการกฐินรวมใจกับดานสาขาเทคโนโลยี สารสนเทศ จึงดําเนินการไดเพียงใชประโยชนจากสื่อสังคม (Social Media) ในการประชาสัมพันธใน กลุม Facebook ในรายวิชาที่สอน คือ วิชา Knowledge Management (ทั้งระดับปริญญาตรี และ ปริญญาโท) คือ https://www.facebook.com/groups/472411659541734/ และ https://www.facebook.com/groups/1445506062330329/ ตามลําดับ ความรูที่ไดรับจากการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ทําใหทราบวาการทําบุญทอดกฐินนั้น เปนกิจกรรมทางพุทธศาสนาที่สําคัญของ พุทธศาสนิกชน ตามคํากลาวคําสอนของหลวงพอฤาษีลิงดําที่วา พระพุทธเจาทรงตรัสวา "โภ ปุริสะ ดูกอนทานผูเจริญ บุคคลใดเคยทอดกฐินไวในพระพุทธศาสนา แมครั้งหนึ่งในชีวิต ถาตายจากความเปน คน ยังไมถึงพระนิพพานเพียงใด ทานผูนั้น จะไปเกิดเปนเทวดา หรือนางฟา ๕๐๐ ชาติ" 6
  • 10. ผลกระทบตอชุมชน โครงการกฐินรวมใจสงผลกระทบกับชุมชนคือเกิดการมีสวนรวมของชุมชุม (หมูบาน) ตาง ๆ ที่อยูใกลเคียงกับวัดปาเกษตร ไดมาชวยกัน เชน จัดทําโรงทาน การจัดกองกฐิน เปนตน ทําใหเกิดการชวยเหลือเอื้ออาทรตอกันและกันเกิดความรักสามัคคีของชุมชนตางๆ รวมทั้งกับ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งผลกระทบดังกลาวเปนการผลกระทบที่เกิดผลดีตอการทํานุบํารุงพุทธ ศาสนาให ยั่งยืนอยูในผืนแผนดินไทยตราบนานเทานาน ปญหาและอุปสรรค ดานการดําเนินงาน/การบริหารโครงการ เนื่องจากโครงการดังกลาวเกี่ยวกับการทําบุญทอดกฐิน ซึ่งมีระยะเวลาดําเนินการ ในชวงเวลาที่จํากัดที่จะตองดําเนินการหลังจากวันออกพรรษา ในระยะเวลา ๑ เดือน ดังนั้น การประสานงานกับวัดที่ตองการทอดกฐินถวายนั้น จําเปนจะตอง ดําเนินการประสานงานตั้งแตเนิ่นๆ เปนระยะเวลานาน เพื่อขอเปนจําภาพ ดําเนินการ ดานการบูรณาการกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา เนื่องจากหัวหนาโครงการเปนประจําสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชา คณิตศาสตร สถิติและคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร ซึ่งเปนการยากลําบากใน การบูรณาการการเรียนการสอนกับกิจกรรมนักศึกษา ระหวาง “กฐิน” กับ “เทคโนโลยีสารสนเทศ” อยางไรก็ตาม หัวหนาโครงการไดใชประโยชนจาก จาก สื่อสังคม (Social Media) ในการประชาสัมพันธและประโยชนจากการทําบุญ ทอดกฐิน ในลักษณะการจัดการความรู แนวทางในการแกไข ดานการดําเนินงาน/การบริหารโครงการ ควรจะมีการอนุมัติโครงการตั้งแตเนิ่นๆ กอนชวงเดือน พฤศจิกายน (ชวง ระยะเวลาการทอดกฐิน) เปนเวลา ๓-๔ เดือน เพื่อจะไดดําเนินงานประสานใน สวนตางๆ ดานการบูรณาการกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา - 7
  • 11. บรรณานุกรม [1] พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ออนไลน เขาถึงไดที่ http://www.library.coj.go.th/info/data/T17-01-001.pdf [2] หลวงพอฤาษีลิงดํา ประวัติและอานิสงสการทอดกฐิน ออนไลน เขาถึงไดที่ https://www.facebook.com/LoveMoralBuddha/posts/484143854939837 [3] หลวงพอฤาษีลิงดํา อานิสงสกฐินทาน ออนไลน เขาถึงไดที่ http://www.jetovimut.com/forum/index.php?topic=1085.0 8
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 19.
  • 24. บรรยากาศ โรงทาน ณ วัดปาเกษตร ในเชาวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
  • 26. บรรยากาศ โรงทาน ณ วัดปาเกษตร ในเชาวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖