SlideShare a Scribd company logo
บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จากัด
คู่มือไคเซ็น
บริษัทในเครือ
โตโยต้าไฟแนนซ์เชียลเซอร์วิส
ประเทศญี่ปุ่น
ที่มีเครือข่ายกว่า 36 ประเทศทั่วโลก
ยุโรป/แอฟริกา
อเมริกา
เอเชีย/แปซิฟิก
เอเชีย/แปซิฟิก
ไทย มาเลเชีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเชีย เวียดนาม อินเดีย จีน เกาหลีใต้
นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย
ยุโรป/
แอฟริกา
เยอรมัน อังกฤษ ฟินแลนด์ อิตาลี นอร์เวย์ ฝรั่งเศส สวีเดน โปแลนด์ ฮังการี
แอฟริกาใต้ เช็ก เดนมาร์ก สเปน สโลวาเกีย รัสเซีย คาซัคสถาน เนเธอร์แลนด์
อเมริกา อเมริกา เปอร์โตริโก แคนาดา บราซิล เวเนซูเอล่า เม็กซิโก อาร์เจนตา
ให้สินเชื่อลูกค้ารถโตโยต้า
บริการสินเชื่อรถยนต์ลูกค้ากว่า 1 ล้านราย
ก่อตั้งปี พ.ศ. 2536
เชียงใหม่
พิษณุโลก
ขอนแก่น
อุบลราชธานีสระบุรี
กรุงเทพ
ราชบุรี
หาดใหญ่
สุราษฎร์ธานี
ชลบุรี
นครราชสีมา
พนักงานกว่า 1,000 คน
FiTo
Kai = Change
Zen = Good改善
Continuous Improvement
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทาดีอยู่แล้ว ก็ยังคงทาให้ดียิ่งขึ้นต่อไปเรื่อยๆ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับตัวเรา สังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นสิ่งที่ดีกว่าเดิมในทุกๆวัน!!!
ลด ละ เลิก เปลี่ยน สิ่งเดิมๆที่เคยทามานานจนคุ้นเคย แต่ไม่มีประสิทธิภาพ
ลดขั้นตอน ลดเวลา ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นไม่จาเป็น
Kaizen ทาได้ทุกที่ ทั้งในชีวิตการเรียน ชีวิตประจาวัน
จุดแรกของการปรับปรุงก็คือ
“การยอมรับว่ามีปัญหา”
ถ้าไม่มีการยอมรับว่ามีปัญหา ก็ไม่มีความต้องการที่จะปรับปรุง
“ความพอใจเป็นศัตรูตัวสาคัญของไคเซ็น!!”
• ลด ละ เลิก เปลี่ยน สิ่งเดิมๆให้ดียิ่งขึ้น
• เริ่มต้นจากการตั้งคาถามอย่างสร้างสรร
• เป็นการพัฒนาแบบค่อยเป็นค่อยไป
• หากเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ให้ลงมือทาทันที (ตามที่เป็นไปได้)
• ข้อมูลต่างๆ อยู่บนพื้นฐานของสถิติ, สมเหตุสมผล
• กระบวนการคิดแก้ปัญหาตามหลัก PDCA
• ให้ความสาคัญกับขั้นตอน เทียบเท่ากับ ผลลัพธ์
• กล้าที่จะท้าทาย ไม่พึงพอใจกับสิ่งที่เดิมๆที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
• ไม่ลงทุน – ลงทุนน้อยมาก ๆ หรือ คุ้มค่าต่อการลงทุน
เริ่มที่ไหน และ อย่างไร???
• ค้นหาสิ่งที่มีมูลค่าเพิ่มต่อตัวเรา สังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น
ทาอย่างไรถึงจะมีผลการเรียนที่ดีขึ้น
ทาอย่างไรพื้นโรงเรียนถึงจะสะอาดไม่มีขยะ
ทาอย่างไรถึงจะทานข้าวตอนพักกลางวันทัน
ทาอย่างไรจะสามารถช่วยแบ่งเบาภาระคุณพ่อคุณแม่
• ขจัดปัญหาโดยการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ
• ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น
• แก้ไขปัญหาด้วย PDCA
• ทาดี ได้ผลแล้ว แบ่งปันให้เพื่อนด้วย
อยากสอบได้ที่ 1 แต่มีปัญหาที่ไม่มีเวลา
อ่านหนังสือ
อยากมีเวลาพักเที่ยงนานๆ แต่มีปัญหา
ต้องต่อคิวซื้อข้าวจนเกือบหมดเวลาพัก
อยากแก้ปัญหาแต่ปัญหา คือไม่รู้จะเริ่ม
แก้ปัญหายังไง? เอาไงดีล่ะ!!
อยาก
มี
ปัญหา
หาทาง
แก้ไข
ไคเซ็น มีจุดเริ่มต้นจากความ “อยาก” ทาให้สิ่งต่างๆดีขึ้น
โดยศึกษาสถานการณ์ว่าปัญหานั้นเกี่ยวข้องกับใครบ้าง
จากนั้นจึงสรุปและประเมินรายการปัญหา
เคยพบเจอกับปัญหาอะไรบ้างที่โรงอาหารในโรงเรียน
• อยากสั่งปุ๊ป ได้ปั๊ป แต่ ปัญหา คือ คิวยาวมาก
• อยากหาที่นั่งทานง่ายๆ แต่ ปัญหา คือ โต๊ะเต็มตลอดเลย
• อยากทานอาหารให้อร่อย แต่ ปัญหา คือ โรงอาหารไม่ค่อยสะอาด มีกลิ่นกวนใจ
………………………………………………………………………………………………………………….
Stakeholders
…………………………………………..
หมายถึง กลุ่มคนที่ได้รับผลกระทบจากการกระทาของผู้อื่น
เพราะในการกระทาทุกอย่างมักจะมีผู้ที่ได้รับประโยชน์และเสียประโยชน์
จากการดาเนินการนั้น จากตัวอย่าง โรงอาหารทานสุข
ผู้ที่ได้รับผลกระทบได้แก่ นักเรียน ม.1-6 พ่อค้า แม่ค้าในโรงอาหาร
แม่บ้านทาความสะอาดโรงอาหาร คุณป้าแลกคูปอง
“MUDA-มูดะ”
• กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน และมีประสิทธิภาพ
• แก้ปัญหาที่รวดเร็ว ทาให้ปัญหาไม่ลุกลาม
• แก้ไขปัญหาที่ตรงจุด ทาให้ปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วไม่เกิดซ้าอีก
ประโยชน์ของกระบวนการแก้ไขปัญหาแบบ PDCA
• ทาให้เกิดขั้นตอนการทางานที่มีประสิทธิภาพ
• ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
• ต้นทุนต่าที่สุด
• ของเสียน้อยที่สุด
• เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
1.
what
2.
why
3.
How
Plan 1 - What
• Genchi Genbutsu เพื่อศึกษาข้อเท็จจริง ณ สถานที่จริง
หรือการสัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงานจริง
• จัดทาขั้นตอนการทางานปัจจุบัน “BEFORE ” AS-IS Process
ขั้นตอนการทางานมาตรฐาน
• ค้นหาขั้นตอนที่เป็นปัญหา และ MUDA ที่ซ่อนอยู่
• ตรวจสอบระยะเวลาในการดาเนินการ จานวนคนที่ใช้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง
• สรุปประเด็นปัญหา และ Stake Holders ให้ชัดเจน
• ควรเก็บข้อมูลย้อนหลังอย่างน้อย 1 – 2 เดือน
• หน่วยการเก็บข้อมูล อาจเป็น ต่อสัปดาห์, ต่อเดือน, ต่อไตรมาส
• ข้อมูลที่เป็นระยะเวลาแต่ไม่สามารถเก็บผลได้แน่นอน สามารถ
ใช้เป็น ระยะเวลาเฉลี่ย
• จานวนข้อมูลหรือขั้นตอนที่ผิดพลาด จะทาให้เห็นขนาดของปัญหา
• การแสดงผลเป็น เปอร์เซ็น (%) จะช่วยให้เห็นภาพของปัญหาชัดเจนขึ้น
คาแนะนาในการเก็บสถิติข้อมูล
อธิบายปัญหาที่พบ
กาหนดเป้าหมาย
วิเคราะห์ปัญหา
ใช้วิธีการที่เหมาะสม
ใช่ ไม่ใช่
แก้ไขได้ตามเป้าหมาย
ใช่
ไม่ใช่
ใช้วิธีการแก้ไขที่เลือก
กาหนดวิธีการทางาน
เพื่อป้องกันไม่ให้ปัญหา
เกิดซ้า
หาปัญหาใหม่
Key Learning Points
• Genchi Genbutsu
• “BEFORE ” AS-IS Process
• ค้นหาขั้นตอนที่เป็นปัญหา และ MUDA ที่ซ่อนอยู่
• ระบุ Stake Holders
• สรุปประเด็นปัญหาให้ชัดเจน
Plan 2 -Why the problem occurred
Plan – Why the problem occurs:
• วิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริง หรือต้นตอของปัญหา (Root Cause)
โดยถามคาถามว่า ทาไมจึงเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขี้น (Why)
Q1: ทาไมบริเวณโรงอาหารของโรงเรียนไม่สะอาด
A1: เพราะมีขยะเยอะ หมักหมม
Q2: ทาไมถึงมีขยะเยอะ หมักหมม
A2: เพราะภารโรงกาจัดขยะให้ไม่ทัน
Q3: ทาไมภารโรงถึงกาจัดขยะไม่ทัน
A3: เพราะนักเรียนทิ้งขยะไม่ถูกที่ ถูกถัง
Q4: ทาไมนักเรียนทิ้งขยะไม่ถูกที่ ถูกถัง
A4: เพราะนักเรียนขาดวินัย ความรู้ ความเข้าใจในการทิ้งขยะให้ถูกต้อง
ROOT CAUSE:
เพราะนักเรียนขาดวินัย ความรู้ ความเข้าใจในการทิ้งขยะให้ถูกต้อง
• วางแผน และอธิบายแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ
- กาจัด Root cause & MUDA
- มุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจให้ Stake holders
- มีการลงทุนเงินเพียงเล็กน้อย หรือไม่มีเลย
• กาหนดเป้าหมาย (Target) ที่ชัดเจนตามหลัก 4W2H
Who, What, When, Where, How, How much?
• ระบุ AFTER หรือ “To Be” Process/ work flow แสดงขั้นตอนการทางานที่ควร
จะเป็น ซึ่งเป้าหมายของขั้นตอนที่ควรจะเป็นนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับขั้นตอนเดิมแล้ว
ควรมีความแตกต่างที่สามารถวัดผลได้
Plan 3 - How to countermeasure
Temporary Measure
เพื่อแก้ไขสถานการณ์ให้กลับสู่สภาวะปัจจุบัน
และลดผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเร่งด่วน
แต่ไม่สามารถกาจัด root cause ไปได้
Countermeasure
มาตรการการแก้ไขปัญหาที่สาเหตุ
(root cause) และกาจัด Muda
ที่ซ่อนอยู่ให้หมดไป และป้องกัน
การเกิดซ้าของปัญหา
Plan 3 - How to countermeasure
Do - Implementation
• สร้าง action plan ด้วย 4W2H
• สื่อสารแผนงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
• ลงมือทาตามแผนงานโดยไม่ให้เกิดผลกระทบทางลบกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ คือ เปรียบเทียบและวัดผลสาเร็จของ countermeasure
• รวบรวมผลลัพธ์ที่ได้จากการทดลองทาตาม countermeasure
โดยการ Genchi Genbutsu
- ไปดูสถานที่จริง
- สัมภาษณ์ และ พูดคุยกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
- สารวจความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง
• ตรวจสอบและเปรียบเทียบผลลัพธ์กับ TARGET
• เปรียบเทียบขั้นตอนการทางานแบบ To-Be กับ As-Is
• สรุปผลประโยชน์อื่นๆ ที่อาจจะได้รับเพิ่มจากการทา project อาทิ
- Muda ที่ลดลง หรือ กาจัดไปได้
- ความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้นจาก Stakeholders
- ค่าใช้จ่ายที่ลดลงมากกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้
Check – Confirming the results
Item
รายการ
Current
ปัจจุบัน
Target
เป้าหมาย
Result
ผลลัพธ์ที่ได้
Evaluation
ประเมินผล
%
สาเร็จตามเป้าหมาย Achieve
ไม่บรรลุผลตามเป้าหมาย Under achieved
สาเร็จมากกว่าเป้าหมาย Over achieved
Check – Confirming the results
ถ้าหากผลลัพธ์จากการทดลองปฏิบัติงาน ตาม To-Be Process
ไม่สาเร็จตาม TARGET ??
ระบุปัญหาที่เกิดขึ้น
Plan
What
Why
Check
DO
How
Act
วิเคราะห์ปัญหา
หาสาเหตุของปัญหา
พัฒนาแนวทางแก้ไข
นาผลมาทดลองใช้
ตรวจสอบผล
ประกาศใช้เป็นทางการ
Copyright by
Toyota Leasing Thailand Co., Ltd

More Related Content

What's hot

บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
Teetut Tresirichod
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
Suradet Sriangkoon
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
Teetut Tresirichod
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
Prakob Chantarakamnerd
 
OJT Techniques
OJT TechniquesOJT Techniques
OJT Techniques
Nukool Thanuanram
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
Beerza Kub
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
tumetr1
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
Jirasap Kijakarnsangworn
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
Teetut Tresirichod
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
Nontaporn Pilawut
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
Suradet Sriangkoon
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 

What's hot (20)

Kaizen
KaizenKaizen
Kaizen
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
OJT Techniques
OJT TechniquesOJT Techniques
OJT Techniques
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 

Similar to คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทย

Voice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้าVoice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้า
Sudpatapee Wiengsee
 
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
wutichai
 
Digital tranformation in retail
Digital tranformation in retailDigital tranformation in retail
Digital tranformation in retail
Weera Chearanaipanit
 
Hrm Thaimart Final
Hrm Thaimart FinalHrm Thaimart Final
Hrm Thaimart Final
Naresuan
 
6 marketing & sales forecast 2012
6 marketing & sales forecast 20126 marketing & sales forecast 2012
6 marketing & sales forecast 2012HIPO_Training
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศThank Chiro
 
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
Sudpatapee Wiengsee
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Nopporn Thepsithar
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
Crazy step1
Crazy step1Crazy step1
Crazy step1
mrsadman
 
Innovation through design thinking slide share
Innovation through design thinking slide shareInnovation through design thinking slide share
Innovation through design thinking slide share
Weera Chearanaipanit
 
Crazy step
Crazy stepCrazy step
Crazy step
mrsadman
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุกHIPO_Training
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
Pattarapong Worasakmahasan
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
yudohappyday
 
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด201221 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012HIPO_Training
 
oic_dg_in_practice_v1.0.pdf
oic_dg_in_practice_v1.0.pdfoic_dg_in_practice_v1.0.pdf
oic_dg_in_practice_v1.0.pdf
patinyasangkaphorn
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 

Similar to คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทย (20)

Voice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้าVoice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้า
 
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
 
Digital tranformation in retail
Digital tranformation in retailDigital tranformation in retail
Digital tranformation in retail
 
Hrm Thaimart Final
Hrm Thaimart FinalHrm Thaimart Final
Hrm Thaimart Final
 
6 marketing & sales forecast 2012
6 marketing & sales forecast 20126 marketing & sales forecast 2012
6 marketing & sales forecast 2012
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
Crazy step1
Crazy step1Crazy step1
Crazy step1
 
Innovation through design thinking slide share
Innovation through design thinking slide shareInnovation through design thinking slide share
Innovation through design thinking slide share
 
Crazy step
Crazy stepCrazy step
Crazy step
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด201221 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
 
oic_dg_in_practice_v1.0.pdf
oic_dg_in_practice_v1.0.pdfoic_dg_in_practice_v1.0.pdf
oic_dg_in_practice_v1.0.pdf
 
7 eleven
7 eleven7 eleven
7 eleven
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 

คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทย