SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 9 การควบคุมคุณภาพ


              Quality Control : QC
ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
•การควบคุมคุณภาพ(Quality Control : QC)
 หมายถึง กระบวนการในการผลิตสิ นค้าและบริ การ
 ให้มีคุณลักษณะตรงกับความต้องการของลูกค้าและ
 พยายามดูแลแก้ไข ปรับปรุ ง พัฒนาให้ได้มาตรฐาน
 อยูเ่ สมอ เพื่อสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดโดยมีตนทุน
                                              ้
 การดาเนินงานที่เหมาะสม
•การควบคุมคุณภาพเกิดขึนในสหรัฐอเมริกาเป็ น
                      ้
 ประเทศแรก โดยการคิดค้ นวิธีควบคุมคุณภาพ
 เชิงสถิติที่เรียกว่า
SQC (Statistical Quality Control)
•เกิดกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ
 QCC (Quality Control Circle)

•พัฒนาเป็ น TQC
 (Total Quality Control)
TQC and TQM

•Total Quality Control
•Total Quality Management

•การบริ หารหรื อควบคุมคุณภาพทัวทั้งองค์การ
                              ่
ISO 9000
การควบคุมคุณภาพในประเทศไทย
การควบคุมคุณภาพในประเทศไทย
• เริ่มต้ นโดย
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ท่ มีคุณภาพ
                      ี
1) การปฏิบติงานได้ (performance) ผลิตภัณฑ์ตอง
            ั                                      ้
   สามารถใช้งานได้ตามหน้าที่ที่กาหนดไว้
2) ความสวยงาม (aesthetics) ผลิตภัณฑ์ตองมีรูปร่ าง
                                                ้
   ผิวสัมผัส กลิ่น รสชาติและสี สนที่ดึกดูดใจลูกค้า
                                ั
3) คุณสมบัติพิเศษ (special features) ผลิตภัณฑ์ควร
   มีลกษณะพิเศษที่โดดเด่นแตกต่างจากคู่แข่งขัน
      ั
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ท่ มีคุณภาพ (ต่ อ)
                      ี
4) ความสอดคล้อง (conformance) ผลิตภัณฑ์ควรใช้
   งานได้ตามที่ลกค้าคาดหวังไว้
                ู
5) ความปลอดภัย (safety) ผลิตภัณฑ์ควรมีความเสี่ ยง
   อันตรายในการใช้นอยที่สุด
                      ้
6) ความเชื่อถือได้ (reliability ) ผลิตภัณฑ์ควรใช้งานได้
   อย่างสม่าเสมอ
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ท่ มีคุณภาพ (ต่ อ)
                      ี
7) ความคงทน (durability) ผลิตภัณฑ์ควรมีอายุใช้งานที่
   ยาวนานในระดับหนึ่ง
8) คุณค่าที่รับรู้ (perceived quality) ผลิตภัณฑ์ควร
   สร้างความประทับใจและภาพพจน์ที่ดีในสายตาของลูกค้า
9) การบริ การหลังการขาย (service after sale) ธุรกิจ
   ควรมีบริ การหลังการขายอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สินค้าคง
   คุณสมบัติที่ดีต่อไปได้
ประโยชน์ ของการควบคุมคุณภาพ
1. ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพในการผลิต
2. สร้างความเชื่อถือและไว้วางใจให้เกิดขึ้นกับลูกค้า
3. เป็ นเครื่ องมือสาหรับการปรับปรุ งระบบการดาเนินงานใน
   องค์การ
4. ก่อให้เกิดการประสานงานในลักษณะของกลุ่มทางาน
5. ก่อให้เกิดขวัญและกาลังใจแก่พนักงาน
6. ช่วยส่ งเสริ มให้การทางานของพนักงาน มีมาตรฐานสูงขึ้น
7. ส่ วนแบ่งทางการตลาด และปริ มาณการขายเพิ่มขึ้น
ต้ นทุนของคุณภาพ
ประเภทของต้ นทุนคุณภาพ
       ต้นทุนการป้ องกัน                ต้นทุนการประเมิน
     (prevention cost)                (appraisal cost)

• ต้นทุนการฝึ กอบรมแก่พนักงาน   • การตรวจสอบวัตถุดิบ
• ต้นทุนการออกแบบผลิตภัณฑ์      • การตรวจสอบงานระหว่างทา
  ใหม่                          • การตรวจสอบสภาพของ
• ต้นทุนการออกแบบกระบวนการ        ผลิตภัณฑ์
  ผลิตใหม่                      • ค่าใช้จ่ายของพนักงานฝ่ าย
• ต้นทุนการจัดหาวัตถุดิบ          ตรวจสอบคุณภาพ
                                • ค่าใช้จ่ายในห้องปฏิบติการ
                                                      ั
ประเภทของต้ นทุนคุณภาพ (ต่ อ)
   ต้นทุนความผิดพลาดภายใน       ต้นทุนความผิดพลาดภายนอก
  (internal failure cost)      (external failure cost)

• การตรวจพบความ              • การซ่อมแซม
  ผิดพลาดระหว่าง             • การเปลี่ยนสิ นค้า
  กระบวนการผลิต              • การจ่ายเงินชดเชย
• ค่าใช้จ่ายในการแก้ไข       • การรับประกัน
• ค่าใช้จ่ายในการทางานซ้ า   • วิธีการอื่นๆ
QC
  six
sigma                 TQM
            Quality
            Control
   re-
engineeri
   ng
                      TQC

             5ส
ระบบ QC
1. การจัดตั้งกลุ่มคุณภาพ เพื่อร่ วมกันทากิจกรรมของกลุ่มให้
   บรรลุผลสาเร็ จ
2. ค้นหาปั ญหา โดยการสารวจปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจาก
   สมาชิกในกลุ่ม แล้วตัดสิ นใจเลือกปั ญหาที่เป็ นสาเหตุหลัก
   มาดาเนินกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ
3. กาหนดเป้ าหมาย ซึ่งจะต้องสามารถดาเนินการให้ปรากฏผล
   ตามที่ตองการได้ โดยระบุการแก้ปัญหาเป็ นตัวเลข เพื่อ
          ้
   ความชัดเจนในการประเมินผล
ระบบ QC (ต่ อ)
4. การวิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์ถึงสาเหตุของปั ญหานั้นๆ ซึ่ง
   สมาชิกในกลุ่มจะนาข้อมูลเสนอที่ประชุมเพื่อช่วยกันแก้ไข
   ปั ญหา โดยการใช้เครื่ องมือเทคนิคอันได้แก่ กราฟ แผนภูมิ
   ผังก้างปลา ผังการกระจาย และอื่นๆ ประกอบการวิเคราะห์
5. การดาเนินกิจกรรมตามหลักการบริ หารวงจรเดมมิ่ง
   (deming cycle) ซึ่ งคิดค้นโดย Dr.Deming
ระบบ QC (ต่ อ)
    • Plan              • Do
      วางแผน              ปฏิบติ
                              ั

                P   D

                A   C
    • Action            • Check
     แก้ปัญหา            ตรวจสอบ
ระบบ QC (ต่ อ)
6. การกาหนดเป็ นมาตรฐาน เมื่อการแก้ไขปั ญหาบรรลุผลตามเป้ าหมาย
   มาตรฐาน กาหนดการทางานขึ้นมาเป็ นตัวเลขที่แน่นอน เพื่อติดตาม
   และตรวจสอบความถูกต้องให้เป็ นปั จจุบน
                                       ั

7. การเสนอผลงาน การดาเนินงานของกลุ่มคุณภาพ หากบรรลุผลตาม
   เป้ าหมายที่กาหนดไว้แล้ว ต้องมีการนาเสนอผลงานให้แก่พนักงาน
   หรื อหน่วยงานต่างๆ ในองค์การได้ทราบถึงความสาเร็ จของกลุ่ม เพื่อ
   สร้างความภาคภูมิใจและเป็ นแรงจูงใจในการพัฒนาประสิ ทธิภาพการ
   ทางานขององค์การ
ระบบ TQM และ TQC
•เป็ นระบบคุณภาพทัวทั้งองค์กรอันเกิดจากการ
                   ่
 ร่ วมมือของพนักงานทุกคนตั้งแต่ระดับผูบริ หาร
                                      ้
 ระดับสู งจนถึงพนักงานระดับปฏิบติการ หลักการ
                                ั
 ของ TQM และTQC มีลกษณะเหมือนกัน
                       ั
•TQM เป็ นแนวคิดของสหรัฐอเมริ กาและยุโรป
•TQC จะเป็ นแนวคิดของญี่ปุ่น
ระบบ TQM หรือเบนช์ มาร์ ก (benchmarking) 4ขันตอน
                                            ้



                                                   การปฏิบติการ
                                                            ั
                                   การบูรณาการ     (action)
                                   (integration)
                    การวิเคราะห์
                    (analysis)

       วางแผน
       (planning)
วงแหวน 3 ชันในการควบคุมคุณภาพแบบ TQC
           ้
                 Control
                  PDCA

                 Control
                 quality




                 Quality
                assurance
ระบบ 5 ส
เป็ นระบบพื ้นฐานที่ใช้ จดสภาพแวดล้ อมในองค์การ เพื่อขจัดความ
                           ั
สิ ้นเปลืองของการใช้ พื ้นที่ และลดเวลาการค้ นหาวัสดุอปกรณ์ตางๆ โดย
                                                      ุ     ่
การปฏิบติตามหลัก 5ส
          ั
แปลมาจากภาษาญี่ปนโดยในญี่ปนเรี ยกกันว่า 5S ซึงได้ แก่
                        ุ่          ุ่              ่
• กิจกรรมที่ 1 สะสาง (structurize)
• กิจกรรมที่ 2 สะดวก (systematise)
• กิจกรรมที่ 3 สะอาด (sanitise)
• กิจกรรมที่ 4 สุ ขลักษณะ (standardise)
• กิจกรรมที่ 5 สร้างนิสย (self-discipline)
                             ั
สะสาง (structurize)
                                  整理
                                       (เซริ )
 สะดวก (systematise)
                             整頓
                (เซตง)
                                        สะอาด (sanitise)
                                  清掃
                                        (เซโซ)
สุขลักษณะ (standardise)
                             清潔
                (เซเก็ตสึ)

                                       สร้ างนิสย (self-discipline)
                                                ั
                                  躾
                                       (ชิตสุเกะ)
History




  Michael Martin Hammer         James A. Champy
(13 April 1948 – 3 Sept 2008)
องค์ ประกอบการรือปรับระบบ
                ้

1. การคิดพิจารณาวิธีหรื อเทคนิคการทางานใหม่ (เริ่ มต้นจาก
   ศูนย์)
2. ออกแบบกระบวนการตามแนวความคิดใหม่ (ไม่นาวิธีการเดิม
   มาใช้)
3. ปรับปรุ งหรื อเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ได้ผลการดาเนิงานมากกว่า
   เดิม โดยพิจารณาจากความพึงพอใจของลูกค้า
4. เน้นกระบวนการมากวก่าหน้าที่ความรับผิดชอบ คน งาน และ
   โครงสร้าง
ปั จจัยความสาเร็จ
Six Sigma
หลักการของระบบ six sigma
1. การออกแบบสาหรับการผลิตที่มีประสิ ทธิภาพ
2. การควบคุมกระบวนการทางสถิติ หรื อ SPC
                            ั ้
3. การนาเทคนิค SPC ไปใช้กบผูป้อนวัตถุดิบ
4. การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
                        ั
5. การสร้างมาตรฐานให้กบการผลิตชิ้นส่ วนการผลิต
6. การสร้างแบบจาลองโดยคอมพิวเตอร์
เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพ
ตารางตรวจสอบ (Check Sheet)
กราฟ (Graph)
      14                   Sales
  5
4.5   12
  4
3.5   10
  3
2.5                                  Series 1            1st Qtr
      8
  2                                                      2nd Qtr 3
                                                              Series
                                     Series 2
1.5                                                           Series 2
      6                              Series 3            3rd Qtr
  1
                                                              Series 1
                                                         4th Qtr
0.5
  0   4

      2

      0
           Category 1 Category 2 Category 3 Category 4
ฮิสโตแกรม (Histogram)
แผนภูมิพาเรโต (Pareto Chart)
ผังแสดงเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
แผนภาพก้ างปลา (Fishbone diagram)
ผังแสดงการกระจาย (Scatter Diagram)
แผนภูมควบคุม (Control Chart)
      ิ
อนุกรมมาตรฐาน มอก.9000
มาตรฐานระดับชาติเพื่อรองรับระบบคุณภาพ กาหนด
ขึ้นโดยสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม อนุกรมมาตรฐาน มอก.9000
มีรูปแบบเช่นเดียวกับ ISO 9000 ทุกประการ
คาศัพท์ ทางคุณภาพของอนุกรมมาตรฐาน มอก. 9000
1.   คุณภาพ (Quality)
2.   การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
3.   การประกันคุณภาพ (Quality Assurance)
4.   ระบบคุณภาพ (Quality System)
5.   การบริ หารคุณภาพ (Quality Management)
องค์ ประกอบอนุกรมมาตรฐาน มอก. 9000

 9000
 มอก.
 9004
 มอก.
 9001
 มอก.
 9002
 มอก.
 9003
 มอก.
ข้ อกาหนด 4.1 ความรั บผิดชอบด้ านการบริหาร
ข้ อกาหนด 4.2 ระบบคุณภาพ
ข้ อกาหนด 4.3 การทบทวนข้ อความ
ข้ อกาหนด 4.4 การควบคุมการออกแบบ
ข้ อกาหนด 4.5 การควบคุมเอกสาร
ข้ อกาหนด 4.6 การจัดซือ
                      ้
ข้ อกาหนด 4.7 ผลิตภัณฑ์ ท่ ี
          ส่ งมอบโดยลูกค้ า
ข้ อกาหนด 4.8 การชีบ่งและสอบกลับได้
                   ้
                       ของผลิตภัณฑ์
ข้ อกาหนด 4.9 การควบคุม
ข้ อกาหนด 4.10 การตรวจสอบ
และการทดสอบ
ข้ อกาหนด 4.11 เครื่องตรวจ เครื่องวัด และเครื่องทดสอบ
ข้ อกาหนด 4.12 สถานะการตรวจสอบ
                   และการทดสอบ
ข้ อกาหนด 4.13 การควบคุมผลิตภัณฑ์
ที่ไม่ เป็ นไปตามข้ อกาหนด
ข้ อกาหนด 4.14 การปฏิบัตการแก้ ไข
                        ิ
ข้ อกาหนด 4.15 การเคลื่อนย้ าย การเก็บ
             การบรรจุ และการส่ งมอบ
ข้ อกาหนด 4.16 การบันทึกคุณภาพ
ข้ อกาหนด 4.18 การฝึ กอบรม
ข้ อกาหนด 4.19 การบริการ
ข้ อกาหนด 4.20
    กลวิธีทางสถิติ
ประโยชน์ ของอนุกรมมาตรฐาน มอก. 9000
• ลูกค้ามันใจในสิ นค้าหรื อบริ การที่ได้รับ
          ่
• ลดปั ญหาการกีดกันทางการค้า
• เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
• ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
• ช่วยพัฒนาระบบการบริ หารงานในองค์การ
• ช่วยสร้างภาพพจน์ที่ดีต่อองค์การ
• องค์การได้รับการคุมครองในด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่องและ
                     ้
  สม่าเสมอ
มาตรฐานคุณภาพสากล
มาตรฐานคุณภาพสากล (ต่ อ)
มาตรฐานคุณภาพสากล (ต่ อ)
ภาคผนวก:
เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม
             ใช้สาหรับผลิตภัณฑ์อุปโภคบริ โภค
               ซึ่งผูผลิตสามารถยืนขอการรับรอง
                     ้           ่
            ด้วยความสมัครใจเพื่อพัฒนาคุณภาพ
                   ผลิตภัณฑ์ให้เป็ นไปตามเกณฑ์
                               กาหนดมาตรฐาน
ภาคผนวก:
เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม
              เป็ นเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ ที่กฎหมาย
              กาหนดให้ ผู้ผลิตต้ องทาตามมาตรฐาน
               และต้ องแสดงเครื่องหมายผลิตภัณฑ์
                 ทั้งนีเ้ พือความปลอดภัยต่ อผู้บริโภค
                            ่
ภาคผนวก:
เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม
             เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชน (มผช.)
                   เป็ นเครื่ องหมายที่ให้การรับรองผลิตภัณฑ์
               ที่ผลิตโดยชุมชนเพื่อช่วยพัฒนาและยกระดับ
                                  คุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชน
                       ตามโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
                                                  ของรัฐบาล
ภาคผนวก: หมายเลข มอก. คืออะไร
คือหมายเลขที่กาหนดขึ้นเพื่อระบุลาดับที่ของการออกมาตรฐานและปี ที่สมอ.ประกาศ
                           ่
เป็ นมาตรฐาน ซึ่ งจะระบุอยูบนตัวสิ นค้า
เครื่องหมายที่ใช้ รับรองคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โดย สมอ.
เกร็ดความรู้ เรื่อง ISO
• ISO เมื่อก่อนใช้คาย่อว่า “IOS” โดยมี
 ความหมายในทางภาษากรี กแปลออกมาแล้วไม่เป็ น
 มงคล จึงเปลี่ยนมาเป็ น ISO ซึ่งมาจากภาษากรี ก
 คือ ISOS แปลว่า "เท่าเทียมกัน" และตรงกับ
 เจตนารมณ์ขององค์กร ISO ที่ตองการให้ทวโลกมี
                                ้        ั่
 มาตรฐานที่มีความเท่าเทียมเทียมกัน
The END

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพRonnarit Junsiri
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้าThakorn Yimtae
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพChapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
Teetut Tresirichod
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดี
Naracha Nong
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Thanaphat Tachaphan
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
Teetut Tresirichod
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบ
Viam Manufacturing
 

What's hot (20)

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้า
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
5ส
5ส5ส
5ส
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพChapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดี
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบ
 

Similar to การควบคุมคุณภาพ

Maintenance Glossary
Maintenance GlossaryMaintenance Glossary
Maintenance Glossary
mrsuwijak
 
From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellence
Areté Partners
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
อัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
อัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพบรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
Washirasak Poosit
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
L1
L1L1
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตMobile_Clinic
 
L5
L5L5
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationNukool Thanuanram
 
2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk
Sirisin Thaburai
 
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 7 - PMK internal assessor 5
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 7 - PMK internal assessor 5  เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 7 - PMK internal assessor 5
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 7 - PMK internal assessor 5
maruay songtanin
 
คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101
pranorm boekban
 

Similar to การควบคุมคุณภาพ (20)

Maintenance Glossary
Maintenance GlossaryMaintenance Glossary
Maintenance Glossary
 
From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellence
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพบรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
 
Iqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark styleIqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark style
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
L1
L1L1
L1
 
L1
L1L1
L1
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
 
L5
L5L5
L5
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
 
E risk ict_audit
E risk ict_auditE risk ict_audit
E risk ict_audit
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk
 
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 7 - PMK internal assessor 5
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 7 - PMK internal assessor 5  เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 7 - PMK internal assessor 5
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 7 - PMK internal assessor 5
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
Cmmi
CmmiCmmi
Cmmi
 
คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101
 

การควบคุมคุณภาพ

  • 2. ความหมายของการควบคุมคุณภาพ •การควบคุมคุณภาพ(Quality Control : QC) หมายถึง กระบวนการในการผลิตสิ นค้าและบริ การ ให้มีคุณลักษณะตรงกับความต้องการของลูกค้าและ พยายามดูแลแก้ไข ปรับปรุ ง พัฒนาให้ได้มาตรฐาน อยูเ่ สมอ เพื่อสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดโดยมีตนทุน ้ การดาเนินงานที่เหมาะสม
  • 3. •การควบคุมคุณภาพเกิดขึนในสหรัฐอเมริกาเป็ น ้ ประเทศแรก โดยการคิดค้ นวิธีควบคุมคุณภาพ เชิงสถิติที่เรียกว่า SQC (Statistical Quality Control)
  • 4. •เกิดกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ QCC (Quality Control Circle) •พัฒนาเป็ น TQC (Total Quality Control)
  • 5. TQC and TQM •Total Quality Control •Total Quality Management •การบริ หารหรื อควบคุมคุณภาพทัวทั้งองค์การ ่
  • 6.
  • 7.
  • 11. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ท่ มีคุณภาพ ี 1) การปฏิบติงานได้ (performance) ผลิตภัณฑ์ตอง ั ้ สามารถใช้งานได้ตามหน้าที่ที่กาหนดไว้ 2) ความสวยงาม (aesthetics) ผลิตภัณฑ์ตองมีรูปร่ าง ้ ผิวสัมผัส กลิ่น รสชาติและสี สนที่ดึกดูดใจลูกค้า ั 3) คุณสมบัติพิเศษ (special features) ผลิตภัณฑ์ควร มีลกษณะพิเศษที่โดดเด่นแตกต่างจากคู่แข่งขัน ั
  • 12. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ท่ มีคุณภาพ (ต่ อ) ี 4) ความสอดคล้อง (conformance) ผลิตภัณฑ์ควรใช้ งานได้ตามที่ลกค้าคาดหวังไว้ ู 5) ความปลอดภัย (safety) ผลิตภัณฑ์ควรมีความเสี่ ยง อันตรายในการใช้นอยที่สุด ้ 6) ความเชื่อถือได้ (reliability ) ผลิตภัณฑ์ควรใช้งานได้ อย่างสม่าเสมอ
  • 13. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ท่ มีคุณภาพ (ต่ อ) ี 7) ความคงทน (durability) ผลิตภัณฑ์ควรมีอายุใช้งานที่ ยาวนานในระดับหนึ่ง 8) คุณค่าที่รับรู้ (perceived quality) ผลิตภัณฑ์ควร สร้างความประทับใจและภาพพจน์ที่ดีในสายตาของลูกค้า 9) การบริ การหลังการขาย (service after sale) ธุรกิจ ควรมีบริ การหลังการขายอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สินค้าคง คุณสมบัติที่ดีต่อไปได้
  • 14. ประโยชน์ ของการควบคุมคุณภาพ 1. ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพในการผลิต 2. สร้างความเชื่อถือและไว้วางใจให้เกิดขึ้นกับลูกค้า 3. เป็ นเครื่ องมือสาหรับการปรับปรุ งระบบการดาเนินงานใน องค์การ 4. ก่อให้เกิดการประสานงานในลักษณะของกลุ่มทางาน 5. ก่อให้เกิดขวัญและกาลังใจแก่พนักงาน 6. ช่วยส่ งเสริ มให้การทางานของพนักงาน มีมาตรฐานสูงขึ้น 7. ส่ วนแบ่งทางการตลาด และปริ มาณการขายเพิ่มขึ้น
  • 16. ประเภทของต้ นทุนคุณภาพ ต้นทุนการป้ องกัน ต้นทุนการประเมิน (prevention cost) (appraisal cost) • ต้นทุนการฝึ กอบรมแก่พนักงาน • การตรวจสอบวัตถุดิบ • ต้นทุนการออกแบบผลิตภัณฑ์ • การตรวจสอบงานระหว่างทา ใหม่ • การตรวจสอบสภาพของ • ต้นทุนการออกแบบกระบวนการ ผลิตภัณฑ์ ผลิตใหม่ • ค่าใช้จ่ายของพนักงานฝ่ าย • ต้นทุนการจัดหาวัตถุดิบ ตรวจสอบคุณภาพ • ค่าใช้จ่ายในห้องปฏิบติการ ั
  • 17. ประเภทของต้ นทุนคุณภาพ (ต่ อ) ต้นทุนความผิดพลาดภายใน ต้นทุนความผิดพลาดภายนอก (internal failure cost) (external failure cost) • การตรวจพบความ • การซ่อมแซม ผิดพลาดระหว่าง • การเปลี่ยนสิ นค้า กระบวนการผลิต • การจ่ายเงินชดเชย • ค่าใช้จ่ายในการแก้ไข • การรับประกัน • ค่าใช้จ่ายในการทางานซ้ า • วิธีการอื่นๆ
  • 18.
  • 19. QC six sigma TQM Quality Control re- engineeri ng TQC 5ส
  • 20. ระบบ QC 1. การจัดตั้งกลุ่มคุณภาพ เพื่อร่ วมกันทากิจกรรมของกลุ่มให้ บรรลุผลสาเร็ จ 2. ค้นหาปั ญหา โดยการสารวจปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจาก สมาชิกในกลุ่ม แล้วตัดสิ นใจเลือกปั ญหาที่เป็ นสาเหตุหลัก มาดาเนินกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ 3. กาหนดเป้ าหมาย ซึ่งจะต้องสามารถดาเนินการให้ปรากฏผล ตามที่ตองการได้ โดยระบุการแก้ปัญหาเป็ นตัวเลข เพื่อ ้ ความชัดเจนในการประเมินผล
  • 21. ระบบ QC (ต่ อ) 4. การวิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์ถึงสาเหตุของปั ญหานั้นๆ ซึ่ง สมาชิกในกลุ่มจะนาข้อมูลเสนอที่ประชุมเพื่อช่วยกันแก้ไข ปั ญหา โดยการใช้เครื่ องมือเทคนิคอันได้แก่ กราฟ แผนภูมิ ผังก้างปลา ผังการกระจาย และอื่นๆ ประกอบการวิเคราะห์ 5. การดาเนินกิจกรรมตามหลักการบริ หารวงจรเดมมิ่ง (deming cycle) ซึ่ งคิดค้นโดย Dr.Deming
  • 22. ระบบ QC (ต่ อ) • Plan • Do วางแผน ปฏิบติ ั P D A C • Action • Check แก้ปัญหา ตรวจสอบ
  • 23. ระบบ QC (ต่ อ) 6. การกาหนดเป็ นมาตรฐาน เมื่อการแก้ไขปั ญหาบรรลุผลตามเป้ าหมาย มาตรฐาน กาหนดการทางานขึ้นมาเป็ นตัวเลขที่แน่นอน เพื่อติดตาม และตรวจสอบความถูกต้องให้เป็ นปั จจุบน ั 7. การเสนอผลงาน การดาเนินงานของกลุ่มคุณภาพ หากบรรลุผลตาม เป้ าหมายที่กาหนดไว้แล้ว ต้องมีการนาเสนอผลงานให้แก่พนักงาน หรื อหน่วยงานต่างๆ ในองค์การได้ทราบถึงความสาเร็ จของกลุ่ม เพื่อ สร้างความภาคภูมิใจและเป็ นแรงจูงใจในการพัฒนาประสิ ทธิภาพการ ทางานขององค์การ
  • 24. ระบบ TQM และ TQC •เป็ นระบบคุณภาพทัวทั้งองค์กรอันเกิดจากการ ่ ร่ วมมือของพนักงานทุกคนตั้งแต่ระดับผูบริ หาร ้ ระดับสู งจนถึงพนักงานระดับปฏิบติการ หลักการ ั ของ TQM และTQC มีลกษณะเหมือนกัน ั •TQM เป็ นแนวคิดของสหรัฐอเมริ กาและยุโรป •TQC จะเป็ นแนวคิดของญี่ปุ่น
  • 25. ระบบ TQM หรือเบนช์ มาร์ ก (benchmarking) 4ขันตอน ้ การปฏิบติการ ั การบูรณาการ (action) (integration) การวิเคราะห์ (analysis) วางแผน (planning)
  • 26.
  • 28.
  • 29. ระบบ 5 ส เป็ นระบบพื ้นฐานที่ใช้ จดสภาพแวดล้ อมในองค์การ เพื่อขจัดความ ั สิ ้นเปลืองของการใช้ พื ้นที่ และลดเวลาการค้ นหาวัสดุอปกรณ์ตางๆ โดย ุ ่ การปฏิบติตามหลัก 5ส ั แปลมาจากภาษาญี่ปนโดยในญี่ปนเรี ยกกันว่า 5S ซึงได้ แก่ ุ่ ุ่ ่ • กิจกรรมที่ 1 สะสาง (structurize) • กิจกรรมที่ 2 สะดวก (systematise) • กิจกรรมที่ 3 สะอาด (sanitise) • กิจกรรมที่ 4 สุ ขลักษณะ (standardise) • กิจกรรมที่ 5 สร้างนิสย (self-discipline) ั
  • 30. สะสาง (structurize) 整理 (เซริ ) สะดวก (systematise) 整頓 (เซตง) สะอาด (sanitise) 清掃 (เซโซ) สุขลักษณะ (standardise) 清潔 (เซเก็ตสึ) สร้ างนิสย (self-discipline) ั 躾 (ชิตสุเกะ)
  • 31.
  • 32. History Michael Martin Hammer James A. Champy (13 April 1948 – 3 Sept 2008)
  • 33. องค์ ประกอบการรือปรับระบบ ้ 1. การคิดพิจารณาวิธีหรื อเทคนิคการทางานใหม่ (เริ่ มต้นจาก ศูนย์) 2. ออกแบบกระบวนการตามแนวความคิดใหม่ (ไม่นาวิธีการเดิม มาใช้) 3. ปรับปรุ งหรื อเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ได้ผลการดาเนิงานมากกว่า เดิม โดยพิจารณาจากความพึงพอใจของลูกค้า 4. เน้นกระบวนการมากวก่าหน้าที่ความรับผิดชอบ คน งาน และ โครงสร้าง
  • 36. หลักการของระบบ six sigma 1. การออกแบบสาหรับการผลิตที่มีประสิ ทธิภาพ 2. การควบคุมกระบวนการทางสถิติ หรื อ SPC ั ้ 3. การนาเทคนิค SPC ไปใช้กบผูป้อนวัตถุดิบ 4. การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม ั 5. การสร้างมาตรฐานให้กบการผลิตชิ้นส่ วนการผลิต 6. การสร้างแบบจาลองโดยคอมพิวเตอร์
  • 37.
  • 40. กราฟ (Graph) 14 Sales 5 4.5 12 4 3.5 10 3 2.5 Series 1 1st Qtr 8 2 2nd Qtr 3 Series Series 2 1.5 Series 2 6 Series 3 3rd Qtr 1 Series 1 4th Qtr 0.5 0 4 2 0 Category 1 Category 2 Category 3 Category 4
  • 43. ผังแสดงเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) แผนภาพก้ างปลา (Fishbone diagram)
  • 47. คาศัพท์ ทางคุณภาพของอนุกรมมาตรฐาน มอก. 9000 1. คุณภาพ (Quality) 2. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 3. การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) 4. ระบบคุณภาพ (Quality System) 5. การบริ หารคุณภาพ (Quality Management)
  • 48. องค์ ประกอบอนุกรมมาตรฐาน มอก. 9000  9000 มอก.  9004 มอก.  9001 มอก.  9002 มอก.  9003 มอก.
  • 49.
  • 50. ข้ อกาหนด 4.1 ความรั บผิดชอบด้ านการบริหาร
  • 51. ข้ อกาหนด 4.2 ระบบคุณภาพ
  • 52. ข้ อกาหนด 4.3 การทบทวนข้ อความ
  • 53. ข้ อกาหนด 4.4 การควบคุมการออกแบบ
  • 54. ข้ อกาหนด 4.5 การควบคุมเอกสาร
  • 55. ข้ อกาหนด 4.6 การจัดซือ ้
  • 56. ข้ อกาหนด 4.7 ผลิตภัณฑ์ ท่ ี ส่ งมอบโดยลูกค้ า
  • 57. ข้ อกาหนด 4.8 การชีบ่งและสอบกลับได้ ้ ของผลิตภัณฑ์
  • 58. ข้ อกาหนด 4.9 การควบคุม
  • 59. ข้ อกาหนด 4.10 การตรวจสอบ และการทดสอบ
  • 60. ข้ อกาหนด 4.11 เครื่องตรวจ เครื่องวัด และเครื่องทดสอบ
  • 61. ข้ อกาหนด 4.12 สถานะการตรวจสอบ และการทดสอบ
  • 62. ข้ อกาหนด 4.13 การควบคุมผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ เป็ นไปตามข้ อกาหนด
  • 63. ข้ อกาหนด 4.14 การปฏิบัตการแก้ ไข ิ
  • 64. ข้ อกาหนด 4.15 การเคลื่อนย้ าย การเก็บ การบรรจุ และการส่ งมอบ
  • 65. ข้ อกาหนด 4.16 การบันทึกคุณภาพ
  • 66.
  • 67. ข้ อกาหนด 4.18 การฝึ กอบรม
  • 68. ข้ อกาหนด 4.19 การบริการ
  • 69. ข้ อกาหนด 4.20 กลวิธีทางสถิติ
  • 70. ประโยชน์ ของอนุกรมมาตรฐาน มอก. 9000 • ลูกค้ามันใจในสิ นค้าหรื อบริ การที่ได้รับ ่ • ลดปั ญหาการกีดกันทางการค้า • เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน • ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน • ช่วยพัฒนาระบบการบริ หารงานในองค์การ • ช่วยสร้างภาพพจน์ที่ดีต่อองค์การ • องค์การได้รับการคุมครองในด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่องและ ้ สม่าเสมอ
  • 74. ภาคผนวก: เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม ใช้สาหรับผลิตภัณฑ์อุปโภคบริ โภค ซึ่งผูผลิตสามารถยืนขอการรับรอง ้ ่ ด้วยความสมัครใจเพื่อพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ให้เป็ นไปตามเกณฑ์ กาหนดมาตรฐาน
  • 75. ภาคผนวก: เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เป็ นเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ ที่กฎหมาย กาหนดให้ ผู้ผลิตต้ องทาตามมาตรฐาน และต้ องแสดงเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ ทั้งนีเ้ พือความปลอดภัยต่ อผู้บริโภค ่
  • 76. ภาคผนวก: เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชน (มผช.) เป็ นเครื่ องหมายที่ให้การรับรองผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตโดยชุมชนเพื่อช่วยพัฒนาและยกระดับ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชน ตามโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ของรัฐบาล
  • 77. ภาคผนวก: หมายเลข มอก. คืออะไร คือหมายเลขที่กาหนดขึ้นเพื่อระบุลาดับที่ของการออกมาตรฐานและปี ที่สมอ.ประกาศ ่ เป็ นมาตรฐาน ซึ่ งจะระบุอยูบนตัวสิ นค้า
  • 79. เกร็ดความรู้ เรื่อง ISO • ISO เมื่อก่อนใช้คาย่อว่า “IOS” โดยมี ความหมายในทางภาษากรี กแปลออกมาแล้วไม่เป็ น มงคล จึงเปลี่ยนมาเป็ น ISO ซึ่งมาจากภาษากรี ก คือ ISOS แปลว่า "เท่าเทียมกัน" และตรงกับ เจตนารมณ์ขององค์กร ISO ที่ตองการให้ทวโลกมี ้ ั่ มาตรฐานที่มีความเท่าเทียมเทียมกัน