SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
บทที่ 8 การยศาสตร์
การยศาสตร์ เป็นศัพท์บัญญัติมาจากคาภาษาอังกฤษว่า “ Ergonomics ”
 ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคาภาษากรีกประกอบรวมกัน ๓ คา คือ
“ ergon ” หมายถึง “ งาน (work) ”
“ nomoi ” หมายถึง “ กฎ (law) ”
“ ikos ” หมายถึง “ ศาสตร์หรือระบบความรู้ (ics) ”
หากแปลตามตัวอักษร "Ergonomics" หมายถึง ศาสตร์หรือระบบความรู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎกับงาน
ส่วนคาว่า "การย์" (การยะ) ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้
ความหมายว่า หน้าที่ กิจธุระงาน
 ศัพท์บัญญัติว่า การยศาสตร์ จึงมีความหมายว่า ระบบความรู้เกี่ยวกับงาน ซึ่งค่อนข้าง
ตรงกับความหมายของรูปศัพท์ในคาภาษาอังกฤษ (สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ, 2551)
การยศาสตร์
การยศาสตร์
 การยศาสตร์ (Ergonomics) เป็นองค์ความรู้ที่ว่าด้วยการปรับเปลี่ยนสภาพงานให้เหมาะสมกับ
ผู้ปฏิบัติงาน หรือเป็นการปรับปรุงสภาพการทางานอย่างเป็นระบบ
 เกี่ยวข้องกับหลายสาขาวิชาด้วยกัน นามาประยุกต์ใช้ร่วมกันเพื่อปรับปรุงคุณภาพการทางานให้มี
ประสิทธิภาพในการทางานความสะดวกสบายและความปลอดภัยสูงสุด
 โดยจะให้ความสาคัญกับคนทางานเป็นอันดับแรก
 โดยจะดูว่าการออกแบบเครื่องมือเครื่องจักร และสภาพแวดล้อมในการทางานมีผลกระทบอย่างไร
บ้าง
 ซึ่งก็รวมไปถึงวิธีการทางานหรือท่าทางในการทางานที่เหมาะสม เพื่อจะได้ใช้พลังงานในการ
ทางานน้อยที่สุด เกิดความเครียดความล้าและความผิดปกติจากการบาดเจ็บสะสมเรื้อรัง
( Cumulative Trauma Disorders: CTDs ) น้อยที่สุด
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
แป้ นพิมพ์ (Keyboard)
 การใช้แป้ นพิมพ์โดยใช้แรงกดจากปลายนิ้วมีผลต่อการพัฒนาความผิดปกติของท่อน
แขน
โดยแรงขั้นต่าที่ใช้ในการกดจะเป็นเพียงครึ่งแรกของการกดทั้งหมด ถ้าผู้ใช้ต้องออกแรง
กดมากเท่าใดก็จะหมายถึงมันใช้งานไม่สะดวกมากเท่านั้น
การพิมพ์ด้วยแป้ นพิมพ์ที่แข็งกระด้างต้องการใช้แรงกดที่มากขึ้น และแม้ว่าผู้ใช้จะกดคีย์
บนโน้ตบุ๊กด้วยแรงที่น้อยกว่าบนเครื่องตั้งโต๊ะก็ตาม เขากลับใช้แรงกดเกินความจาเป็นมาก
ไป
การทาให้มีเสียงดังตอบรับขณะกดคีย์แต่ละคีย์ลงไปคล้ายกับเสียงคลิกเมาส์จึงช่วยลด
การใช้แรงกดคีย์ที่มากเกินไปได้
แป้นพิมพ์ : ภาพท่าการวางมือที่ถูกบังคับโดยแบบของแป้นพิมพ์ (Bridger, 2003)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
แป้ นพิมพ์ (Keyboard)
แป้ นพิมพ์ (Keyboard)
การจัดให้มีคีย์ตัวเลขประกอบอยู่บนแป้ นพิมพ์ด้วยนั้นเป็นสิ่งที่ควรจะมีการ
ทบทวน เนื่องจากคีย์ตัวเลขนี้จะเป็นการเพิ่มความกว้างให้กับแป้ นพิมพ์และต้องวางเมาส์
ห่างออกไปจากผู้ใช้มากกว่าที่ควร ทาให้หัวไหล่ถูกหันตามออกไปด้วยเมื่อใช้เมาส์ ซึ่ง
เมื่อใช้งานนานไปก็จะทาให้เกิดความไม่สะดวก ดังภาพต่อไปนี้
(ก) ตาแหน่งของเมาส์และการวางแขนที่เป็นผลมาจากการใช้แป้ นพิมพ์แบบมีแป้ นตัวเลข
(ข)ตาแหน่งของเมาส์และการวางแขนเมื่อนาเอาแป้ นตัวเลขออกไป (Cook และKothiyal, 1998)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
เมาส์ (Mouse)
• เมาส์จัดเป็นอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลที่ใช้งานกับคอมพิวเตอร์อยู่ตลอดเวลา
• การออกแบบเมาส์ได้มีการออกแบบให้ใช้งานโดยต้องคว่าฝ่ามือลงซึ่งฝ่ามือจะถูก
ยกขึ้นอยู่สูงกว่าข้อมือในท่าที่ผิดธรรมชาติ
• เมาส์บางอันมีขนาดใหญ่มากทั้งยาวและกว้างทาให้ไม่สะดวกในการใช้ปุ่มคลิก
โดยต้องใช้นิ้วยืดออกไปเพื่อจะคลิกที่ปุ่มได้
• เมาส์ส่วนใหญ่ออกแบบมาเพื่อให้ใช้กับมือขวาแต่ก็ยังมีพวกที่นาไปใช้กับมือซ้าย
โดยวางไว้ทางด้านซ้ายของแป้ นพิมพ์ โดยที่รูปทรงของเมาส์มือขวานั้นไม่เหมาะ
อย่างยิ่งกับกับการใช้โดยมือซ้าย
• ดังนั้นการออกแบบเมาส์ให้สามารถใช้กับมือในท่าที่เป็นธรรมชาติได้ ซึ่งมี
นัยสาคัญที่จะลดอาการติดกันของกระดูกและกล้ามเนื้อในขณะใช้งานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
เมาส์ (Mouse)
: ภาพการเคลื่อนของมือที่ออกไปจากตาแหน่งตามธรรมชาติเมื่อมีการใช้เมาส์
(ปรับปรุงจากBS EN ISO 9241-9-2000)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
ทัชเพด (Touchpad)
• การใช้ทัชเพดนี้จะพบได้บนแลปท็อปคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊กโดยใช้แทนเมาส์
• รูปร่างของทัชเพดมีลักษณะเป็นสีเหลี่ยมอยู่ด้านหน้าแป้ นพิมพ์ใช้งานโดยใช้ปลายนิ้ว
• ผู้ใช้ส่วนมากพบว่าเขาสามารถใช้นิ้วเพียงนิ้วเดียวบนทัชเพด เพราะว่าไม่ต้องการให้
ทิศทางของเคอร์เซอร์เปลี่ยนไป ซึ่งเกิดขึ้นได้ถ้ามีนิ้วมืออีกนิ้วมาสัมผัส
• ผลสรุปก็คือ การใช้งานจะมารวมอยู่ที่นิ้วมือเพียงนิ้วเดียว ซึ่งนานไปก็เกิดความอ่อนล้า
ได้การใช้ทัชเพดเป็นเวลานานจึงควรหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดจากการใช้นิ้ว
เพียงนิ้วเดียวเป็นเวลานานในการทางาน
• ผู้ใช้ทัชเพดจึงควรใช้เมาส์เพิ่มเติมด้วย
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
แทรคบอลล์(Trackball)
• แทรคบอลล์เหมือนกับการหงายเมาส์แบบลูกกลิ้งขึ้นมาแล้วใช้งาน
• การทางานกับแทรคบอลล์ซึ่งวางอยู่ตรงกลางมาทางส่วนล่างของแป้ นพิมพ์มีผลให้
การใช้งานกล้ามเนื้อไหล่ลดลงมากกว่าการใช้เมาส์ ทาให้ใช้ข้อมือมากกว่าอุปกรณ์
นาเข้าข้อมูลชนิดอื่นๆ
• ซึ่งแทรคบอลล์ได้ติดอยู่กับตัวเครื่องช่วยพยุงมือในขณะที่อยู่เหนือโต๊ะเป็นเหตุให้
ส่วนแขนไม่ได้รับการพยุงทาให้อ่อนล้าได้
• บางชนิดมีการติดตั้งไว้ในเมาส์และใช้งานโดยใช้นิ้วโป้ ง การวางมือเพื่อใช้งานแบบนี้
จะนาไปสู่ความผิดปกติของท่อนแขนได้
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
จอยสติก (Joystick)
• จอยสติกมีรูปร่างเป็นแท่งยึดติดอยู่กับฐาน จอยสติกขนาดใหญ่ใช้งานโดยใช้มือจับ
ทั้งหมด เพื่อให้ผู้ใช้ปรับให้เข้ากับธรรมชาติของการใช้ปลายแขน
• ถูกออกแบบเพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้แรงบังคับโยกไปมาได้มากกว่าการจับยึดไว้ตรง ๆ
อย่างไรก็ตามการจับยึดโดยใช้แรงจากมือนี้อาจมีผลกระทบต่อความเที่ยงตรงของการ
เคลื่อนไหวได้
• การออกแบบจอยสติกบางครั้งจะให้ใช้นิ้วโป้ งในการกดด้วย การใช้งานนิ้วโป้ งใน
กรณีนี้เป็นสิ่งที่ไม่แนะนา ในการใช้จอยสติกไม่ควรใช้เกิน45 องศาไปทางซ้ายและขวา
30 องศาไปข้างหน้า และ 15 องศามาข้างหลัง
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
จอภาพสัมผัส (Touchscreen)
• การใช้งานจอภาพสัมผัสผู้ใช้จะต้องสัมผัสลงไปบนจอภาพ นั่นเป็นหนึ่งในวิธีการที่รวดเร็ว
ในการเลือกสิ่งของบนจอภาพ ซึ่งมันจะให้ผลดีที่สุดในการชี้และการเลือก
• อย่างไรก็ตามมันมีผลต่อผู้ใช้ในการยื่นแขนออกไปโดยไม่มีอะไรมารองรับหรือพยุงไว้สิ่ง
หนึ่งที่เป็นความยากก็คือจอภาพถูกวางไว้ตามความต้องการ สองอย่างนี้คือ มันต้องอยู่ห่างจาก
ผู้ใช้พอสมควร เพื่อให้อ่านได้สะดวกแต่ก็ต้องไม่ห่างเกินเอื้อม และไม่ควรใช้งานนานเกินไปกับ
จอภาพแบบนี้
• อาจจะเหมาะกับการเลือกด้วยการใช้เวลาสั้น ๆ หรือไม่ก็เป็นการป้ อนตัวหนังสือเพียง
เล็กน้อยเท่านั้น
• การวางจอไว้ในแนวตั้งตรงนั้นควรจะตั้งให้มีความสูงเพียงพอซึ่งควรจะอยู่บริเวณตั้งแต่
หัวไหล่ขึ้นไป
• การวางจอที่วางในแนวนอนจะต้องไม่ตั้งให้สูงกว่าในแนวระดับศอก
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
กราฟิกแท็บเล็ต(Graphic tablet)
• กราฟิกแท็บเล็ตและปากกาใช้งานในการวาดเขียน เพื่อการออกแบบ
• เนื่องจากสามารถทางานได้ด้วยความเร็วสูง อย่างไรก็ตามด้วยด้ามจับที่มีขนาดเล็กซึ่ง
การใช้งานด้วยด้ามจับแบบนี้อาจทาให้รู้สึกเมื่อยล้าได้ดังนั้นการใช้งานแบบไม่มีหยุดจึง
ควรหลีกเลี่ยง ทั้งนี้รวมถึงการใช้ปากกาแสงที่ชี้ไปยังจอภาพด้วยกราฟิกแท็บเล็ตและ
ปากกาใช้งานในการชี้จุด การเลือก การลากแล้ววาง และการวาด
• โดยหน้าสัมผัสของกราฟิกแท็บเล็ตจะต้องแบนราบและเรียบและไม่สะท้อนแสง
• ซึ่งจะต้องใช้แผ่นนาร่องวางทาบเอาไว้เพื่อให้เห็นฟังก์ชั่นการทางานกราฟิกที่มีไว้ให้
ใช้ในโปรแกรม และแผ่นนี้จะต้องไม่ขยับเลื่อนไปเมื่อใช้งาน
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน
ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs)
• ความผิดปกติของรยางค์บน คือ กลุ่มอาการที่มีการอักเสบสะสมมาเรื่อย ๆ ตั้งแต่
บริเวณ ปลายนิ้ว หัวไหล่ แขน และคอ
• เป็นความผิดปกติในระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ได้แก่ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และข้อ
ต่อต่างๆ
• เนื้อเยื่อเหล่านี้จะทางานร่วมกันเพื่อตอบสนองต่อ ตาแหน่งและการเคลื่อนไหวของ
แขน ซึ่งการเคลื่อนไหวนั้นมีทั้งการทางานแบบนิ่งอยู่กับที่ และการทางานแบบ
เคลื่อนไหวไปมา
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน
 การทางานซ้าซาก (Repetition)
 ท่าทางที่ไม่เหมาะสม (Awkwardposture)
 กล้ามเนื้อทางานเกร็งค้างกับที่ (Static muscle work)
 การออกแรง (Force)
 ช่วงระยะเวลาการทางาน (Duration of exposure)
ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) มีดังนี้
ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางาน
ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) การทางานซ้าซาก (Repetition)
o ถ้าทางานในลักษณะเดียวกันเหมือนเดิมซ้า ๆ เป็นเวลานาน จะเกิดเป็นการทาซ้าซาก
o การทางานในลักษณะนี้กล้ามเนื้อแต่ละมัดจะตอบสนองการทางานในรูปแบบเดิม
o เมื่อทานานๆโดยไม่มีช่วงพักโดยกล้ามเนื้อจะเกิดการล้าและจะฟื้นฟูกลับมาในสภาพ
เดิมได้ไม่เต็มที่
o การที่กล้ามเนื้อทางานเกินกาลังติดต่อกัน จะนาไปสู่การอักเสบและการเสื่อมของ
เนื้อเยื่อ ยิ่งถ้าต้องทางานอย่างเร่งรีบยิ่งต้องใช้กาลังกล้ามเนื้อสูงขึ้น ก็ยิ่งทาให้กล้ามเนื้อ
ล้าได้เร็วขึ้น
ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) ท่าทางที่ไม่เหมาะสม (Awkward posture)
 ท่าทางที่ฝืนธรรมชาติทาให้เกิดปัญหาความผิดปกติของรยางค์บนได้
 ดังนั้นในที่ทางานจึงจาเป็นที่จะต้องใช้เฟอร์นิเจอร์ และจัดเก็บอุปกรณ์บนโต๊ะ
ทางานให้เหมาะสม
 ท่าที่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของแขนหรือลาตัวอยู่ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม เช่น
แป้ นพิมพ์และเมาส์ อยู่ห่างจากลาตัวมากเกินไปทาให้ต้องยื่นแขนไปข้างหน้าหรือเอื้อม
ไปไกลมากขึ้น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์มักจะยกแขนขึ้นมาให้ข้อมือขึ้นมาวางบนโต๊ะ ใช้
แป้ นพิมพ์และเมาส์ การทางานอยู่ในท่านี้นานๆจะมีผลต่อกล้ามเนื้อ เพราะว่ากล้ามเนื้อ
ไม่สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่ออยู่ในท่าทางที่ไม่เหมาะสม
ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางาน
ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) ท่าทางที่ไม่เหมาะสม (Awkward posture)
: ภาพตัวอย่างแขนและลาตัวอยู่ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม
ที่มา : http://www.oknation.net/blog/health2you/2009/06/04/entry-14,15
ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางาน
ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) กล้ามเนื้อทางานเกร็งค้างกับที่
(Static muscle work)
 คือ การยกแขนหรือส่วนอื่น ๆ ของร่างกายให้อยู่ในท่าใดท่าหนึ่ง
ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน
 ในระหว่างนี้กล้ามเนื้อจะเกร็งตัวและไม่สามารถคลายตัวได้ ทาให้มีการ
ไหลเวียนของเลือดลดลงในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และไม่สามารถกาจัดของเสียจาก
กระบวนการเผาผลาญพลังงานได้ทาให้กล้ามเนื้อเกิดการอ่อนล้าได้เร็วขึ้นใน
 กรณีที่เก้าอี้ตั้งอยู่ต่าจากแป้ นพิมพ์และเมาส์มาก ทาให้ในขณะทางานต้อง
ยกหัวไหล่และแขนขึ้นและค้างไว้ท่านี้ ถ้าค้างไว้เป็นเวลา 5 นาที จะต้องใช้เวลา
ประมาณหนึ่งชั่วโมงกว่ากล้ามเนื้อจะกลับมาเหมือนเดิมกล้ามเนื้อทางานเกร็ง
ค้างกับที่
ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางาน
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน
ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) การออกแรง (Force)
 ระดับแรงในการทางานของกล้ามเนื้อมีผลต่อท่าทางของแต่ละคน
 ทาให้เกิดการล้าของกล้ามเนื้อและจะนาไปสู่อาการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อได้เร็วขึ้น
 คนที่ใช้งานคอมพิวเตอร์จานวนมากมีการเปลี่ยนแปลงท่าทาง ในขณะทางานและต้อง
พิมพ์งานด้วยความเร่งรีบ ซึ่งหลายคนก็ออกแรงกดมากเกินไป แป้ นพิมพ์ถูกออกแบบมาให้
เหมาะกับการสัมผัสเบา ๆ บางคนที่กดแป้ นพิมพ์อย่างแรงก็ทาให้กล้ามเนื้อต้องทางานมาก
ขึ้น
 คนส่วนใหญ่จับเมาส์ด้วยแรงที่มากเกินความจาเป็น ก็ส่งผลให้กล้ามเนื้อเกิดการล้าได้
เร็วขึ้น
 แรงที่ใช้นั้นจะปรับไปตามความหนักของงานและสามารถส่งผลให้เกิดความผิดปกติ
ของรยางค์บนได้
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน
ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs)
ช่วงระยะเวลาการทางาน
(Duration of exposure)
 ระยะเวลาการทางานในแต่ละวันมีผลทาให้เกิดอาการเจ็บป่วยและ
ใช้งานไม่ถนัดเกิดขึ้นได้
 คนที่ใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ จะทาให้เกิดความผิดปกติ
ของรยางค์บนได้เช่นกัน ซึ่งอาการค่อย ๆ เกิดการสะสมมาเรื่อย ๆ
 การทางานที่มีช่วงเวลาพักน้อย การทางานนอกเวลา และการทางาน
อย่างสุดโต่ง แม้จะในช่วงเวลาสั้น ๆ ก็อาจทาให้เกิดความผิดปกติของ
รยางค์บนได้
 หรือแม้แต่คนที่หยุดงานเป็นเวลานานแล้วกลับมาทางานใหม่ก็จะทา
ให้เกิดอาการเจ็บป่วยขึ้นได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน
ปวดหลัง (Backache)
o คนที่มีอาการปวดหลังมักจะปวดหลังส่วนล่างหรือหลังส่วนเอว อาการปวดมักเกิด
จากการทางานอยู่ในท่าที่ไม่ถูกต้องและนั่งเป็นเวลานาน ๆโดยไม่ลุกจากที่
o อาการปวดหลังสามารถเกิดได้จากลักษณะของสถานที่ทางานไม่เหมาะสม เก้าอี้ไม่
ดีไม่ได้ถูกปรับให้เหมาะกับผู้ใช้แต่ละคน
o การแก้ปัญหาอาการปวดหลังที่เกิดขึ้นจากการทางาน ควรเลือกใช้เก้าอี้ให้เหมาะสม
กับผู้ใช้ในแต่ละคน และมีการฝึกอบรมในเรื่องท่าทางที่ถูกต้องในการทางานให้แก่
พนักงานและอนุญาตให้พนักงานที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจาลุกจากที่นั่งเดินไป
เดินมาได้บ่อย ๆ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน
การล้าสายตา (Visual fatigue)
 ลักษณะอาการของการล้าสายตา คือ ตาแดง คันที่ตา มองเห็นไม่ชัด มองเห็นภาพ
ซ้อน ปวดบริเวณรอบ ๆ ตามีน้าตาไหล ปวดศีรษะ อาการคลื่นไส้ อาการเหล่านี้เกิดจาก
การใช้กล้ามเนื้อรอบ ๆ ดวงตามากเกินไป
 ตาและกล้ามเนื้อที่ควบคุมลูกตาจะตอบสนองเหมือนกับส่วนอื่นๆ ของร่างกายจะดี
ขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนท่าทาง
 นั่นจึงเป็นเหตุผลว่าทาไมคนที่ทางานด้วยคอมพิวเตอร์จึงต้องมีช่วงพักเวลาพักจาก
หน้าจอคอมพิวเตอร์บ่อย ๆ ซึ่งจะทาให้ดวงตาได้มีการพักด้วย
 ดวงตาควรที่จะจ้องวัตถุอื่นๆในระยะทางที่แตกต่างกันมากกว่าที่จะจ้องอยู่กับ
หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ ถ้าไม่สามารถที่พักสายตาได้อย่างน้อย ๆก็ควรที่จะ
ละสายตาจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ไปมองสิ่งอื่น ๆ บ่อย ๆ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน
ความเครียด (Stress)
 เป็นอาการทางจิตเวช (Psychological) ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ได้รับมอบหมายงานไม่
เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคน
 ซึ่งเป็นผลให้ได้รับแรงกดดันมากเกินไป ซึ่งคนที่มีภาวะเครียดเป็นเวลานานจะทาให้เกิด
การป่วยได้โดยมีอาการวิตกกังวล หดหู่ เกิดเป็นโรคหัวใจ มีอาการปวดหลัง มีปัญหาเกี่ยวกับ
กระเพาะและลาไส้ และอาจจะหาทางออกอย่างไม่เหมาะสม
 การตอบสนองนี้จึงเกิดขึ้นในองค์กร ถ้าในองค์กรมีหนึ่งคนที่มีความเครียดมาก ๆ จะ
ส่งผลกระทบต่อคนอื่นที่มีจิตใจปกติได้
 โดยคนที่มีความเครียดจะทางานได้ไม่เต็มที่ อาจจะมีการขาดงานบ่อย ๆ ทาให้เพิ่มภาระ
งานกับเพื่อนร่วมงาน ในที่สุดทาให้ต้องถูกออกจากการทางาน
 องค์กรจาเป็นต้องทบทวนตาแหน่งที่ทาให้เกิดความลาบากใจหรือมีความกดดันในการ
ทางานของพนักงานด้วย
การปรับสภาพการทางาน
ท่าทางการนั่งทางาน อุปกรณ์ต่างๆ มีขนาด ระยะ แสงสว่าง ไม่เหมาะสม ทาให้
อวัยวะบางส่วนทางานหนัก ซึ่งการทางานติดต่อกันต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะส่งผล
กระทบต่อสุขภาพ และอาจเกิดการบาดเจ็บของอวัยวะเรื้อรังได้ ดังนั้น สานักงาน
หรือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ควรให้ความสาคัญต่อการจัดสถานที่ทางานให้เหมาะสม
ดังต่อไปนี้
 โต๊ะที่ใช้ในสานักงานจะมีรูปแบบทั่วไปเป็นทรงสี่เหลี่ยมอย่างง่าย บางครั้งมี
ลิ้นชักติดกับพื้นผิวโต๊ะ
 เมื่อเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง นักออกแบบโต๊ะและผู้ผลิตจึงต้องพัฒนา
รูปแบบโต๊ะทางานเพื่อให้ตรงกับความต้องการ โดยต้องสนับสนุนกับอุปกรณ์
สานักงาน เช่น จอภาพ แป้ นพิมพ์ ไมโครโฟน โทรศัพท์เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์
และอุปกรณ์อื่น ๆ และเพื่อรองรับการเพิ่มจานวนของบุคคลในสานักงานโดยไม่
ต้องเพิ่มพื้นที่ของอาคาร
 โต๊ะทางานสามารถเปลี่ยนรูปร่าง และรูปทรง ให้เหมาะสาหรับใช้คนเดียว สอง
คน หรือใช้เป็นกลุ่มใหญ่โดยใช้โต๊ะทางานร่วมกันได้
 โดยที่ผู้ใช้สามารถคงความสูง ปรับความสูงบางส่วนได้และมีลิ้นชักแนบใต้โต๊ะ
หรือแท่นแขวนเคลื่อนที่ซึ่งในเรื่องของโต๊ะทางานควรพิจารณาดังนี้
โต๊ะทางาน (Desk)
การปรับสภาพการทางาน
 ความสูงของโต๊ะทางานควรมีความสูงพอเหมาะ
 ขณะทางานไม่ต้องก้มศีรษะมากนัก
 ผิวโต๊ะทาด้วยวัสดุที่ไม่สะท้อนแสงรบกวนการทางาน
 หากเป็นโต๊ะที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะควรมีถาดรองแป้ นพิมพ์และเมาส์เพื่อให้หน้า
จอคอมพิวเตอร์ใกล้ระดับสายตา และสามารถพิมพ์งานโดยใช้แป้ นพิมพ์และเมาส์ได้
นานโดยไม่ต้องยกไหล่
 ความสูงของโต๊ะทางาน มักจะถูกออกแบบมาให้มีความสูง 720 มม.หรือประมาณ 25-
29 นิ้วตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่งจะเหมาะกับบุคลากรส่วนใหญ่ในสานักงาน
 การทางานจะต้องมีพื้นที่ที่ว่างอย่างน้อย 650 มม. ระหว่างพื้นและพื้นใต้ผิวโต๊ะทางาน
ความสูงโต๊ะทางาน(Desk height)
การปรับสภาพการทางาน
 พื้นผิวโต๊ะเป็นอีกส่วนหนึ่งที่สาคัญของโต๊ะ เพราะผู้ใช้จะนาอุปกรณ์เกี่ยวกับ
สานักงานมาวางไว้
 สาหรับอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์นั้น ควรจะจัดหน้าจอ และแป้นพิมพ์วางไว้ตาแหน่ง
หน้าของผู้ใช้ ซึ่งความลึกของโต๊ะควรมีระยะห่างจากตาแหน่งหน้าจอถึงปลายนิ้ว เป็น
ตาแหน่งที่ใช้ในการทางาน
 หน้าจอไม่ควรวางด้านหนึ่งด้านใดของโต๊ะ ซึ่งคนส่วนใหญ่แล้วเมื่อบนโต๊ะทางานมี
เอกสารเป็นจานวนมาก ก็จะทาการย้ายจอภาพและแป้นพิมพ์ไปยังด้านข้างของโต๊ะ
 ถ้าหน้าจออยู่ในตาแหน่งข้างใดข้างหนึ่ง ผู้ใช้จะต้องหมุนศีรษะ เวลาดูหน้าจอ และ
จะต้องหันกลับไปมองที่เอกสารหรือแป้นพิมพ์รูปแบบนี้อาจทาให้เกิดการบิดของ
ร่างกายประมาณ 20% พบความผิดปกติเกี่ยวกับอวัยวะส่วนคอและไหล่สูง
พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design)
การปรับสภาพการทางาน
: ภาพแสดงรูปแบบพื้นผิวโต๊ะ
(a) Cockpit-style surface
(b) L-shaped surface
(c) Wave surface
 ผู้ผลิตจึงได้ออกแบบโต๊ะที่มีการเพิ่มพื้นที่ผิวเป็นแบบ Cockpit-stylesurfaces,
L-shapedsurfaces และ Wavesurfaces ดังในภาพดังนี้
พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design)
การปรับสภาพการทางาน
 รูปแบบพื้นผิวโต๊ะดังกล่าว อาจสร้างปัญหา หากไม่ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
จะเห็นว่า ถ้าผู้ใช้เอียงเก้าอี้ที่มีที่วางแขน มักจะพบว่าที่วางแขนจะชนกับ
ขอบโต๊ะของ L-shaped ภาพที่ทามุม 90° และเป็นตัวป้ องกันผู้ใช้จากการนั่ง
ใกล้กับโต๊ะที่ต้องการ ดังภาพต่อไปนี้
: ภาพแสดงปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้เก้าอี้ที่มีที่วางแขนกับโต๊ะ L-shapedsurface
พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design)
การปรับสภาพการทางาน
 ปัญหาที่เกิดขึ้นคล้ายกันกับรูปแบบผิวโต๊ะWave surface คือ เมื่อผู้ใช้เปลี่ยนไปยัง
หน้าจอที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเก้าอี้ ที่วางแขนจะสัมผัสกับขอบโต๊ะ และทาให้ผู้ใช้
อยู่ตรงกลางของจอภาพ ผู้ใช้อาจพบว่า ต้องขยับร่างกายเล็กน้อย จากการที่จะต้อง
เคลื่อนที่ไปข้างหนึ่งเพื่อใช้อุปกรณ์ หรืออาจต้องย้ายอุปกรณ์ออกจากพื้นที่ ที่
กาหนดบนโต๊ะเพื่อให้นั่งสบายมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากพื้นผิวที่ต้องใช้ร่วมกับ
อุปกรณ์ ดังภาพต่อไปนี้
: ภาพแสดงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เก้าอี้ที่มีที่วางแขนกับโต๊ะ Wave surface
พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design)
การปรับสภาพการทางาน
 โต๊ะที่มีพื้นผิวที่ต้องใช้เป็นคู่ ทาให้ไม่สมดุลและต้องมีการเอียงไปทางขวามือของ
โต๊ะ และอื่น ๆ ที่เหลืออยู่ด้านซ้ายของโต๊ะซึ่งหมายความว่าสัดส่วนที่สาคัญของ
การทางานของผู้ใช้พื้นที่จะอยู่ในทั้งด้านซ้ายหรือขวา ดังภาพด้านล่าง บางคนจะ
คิดว่ามีการจากัดความยืดหยุ่นของการใช้พื้นที่ทางาน ซึ่งเป็นผลจากการไม่ได้
ทดลองใช้งานเฟอร์นิเจอร์ในที่ทางานจริงก่อนซื้อ
: ภาพแสดงความไม่สมดุลของโต๊ะที่มีพื้นผิวเป็นคู่
พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design)
การปรับสภาพการทางาน
 อีกหนึ่งคุณสมบัติของพื้นผิวที่สาคัญและสมควรจะกล่าวถึง คือ ขอบของโต๊ะ โดย
ปกติโต๊ะรุ่นเก่าขอบโต๊ะจะทามุม 90° ในกรณีนี้ยังมีหลายรุ่นที่ผู้ขายทาให้ราคาถูก
ลง ขอบของโต๊ะทางานควรจะกลมมน หรือ "bull-nosed" ถือว่าเหมาะสมดังในภาพ
ภาพแสดงเขตการเข้าถึงสะดวกและพื้นที่ทางานปกติ (McKeownและ Twiss, 2004)
พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design)
การปรับสภาพการทางาน
คุณลักษณะใต้พื้นผิว (Undersurface features)
การออกแบบพื้นผิวใต้โต๊ะนี้ไม่มีความสาคัญเท่าพื้นผิวโต๊ะ เพราะจะมี
ผลกระทบเฉพาะเรื่องความสะดวกสบายแต่ละบุคคลควรมีพื้นที่ว่างอย่าง
เพียงพอสาหรับการขยับขาจากหน้าไปหลัง และจากข้างหนึ่งไปอีกข้างหนึ่ง
เพื่อให้สามารถย้ายขาอย่างอิสระและเปลี่ยนตาแหน่งได้ง่ายโดยไม่มีอุปสรรค
สาหรับข้อแนะนาทั่วไปคือโต๊ะทางานของแต่ละบุคคล ควรมีที่ว่างใต้โต๊ะ
อย่างน้อย 600 มม. ด้านหน้า ถึงด้านหลังและ600 มม. จากซ้ายไปขวา เทียบกับ
ตาแหน่งที่นั่ง ถ้าจะให้ดีที่สุดควรเป็น 1,000 มม. ในบริเวณนี้ควรพิจารณา
คุณสมบัติอื่น เช่น ความสะดวกของการไปด้านหลังของโต๊ะ ขอบโต๊ะ และขา
โต๊ะซึ่งอาจเป็นอุปสรรคกับพื้นได้
พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design)
การปรับสภาพการทางาน
 เก้าอี้ที่ได้รับการออกแบบมาเป็นอย่างดีโดยคานึงถึงหลักสรีรศาสตร์
ของมนุษย์หรือเก้าอี้เออร์กอนอมิกส์ (Ergonomics chair)นั้น
 ต้องช่วยลดหรือบรรเทาปัญหาความเค้นและความเครียดที่เกิดขึ้นมาจาก
การที่บุคลากรสานักงานใช้งานพวกเครื่องคอมพิวเตอร์ แป้ นพิมพ์ และ
อุปกรณ์สานักงานอย่างอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี
 เก้าอี้ที่ถูกหลักการยศาสตร์นั้นผู้ออกแบบจะมีการนาเอาหลักเกณฑ์
ทางด้านการยศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของความสมดุลของเก้าอี้มุมเอนหลัง
ที่พอดีและการหมุนเคลื่อนไหวของเก้าอี้ในทิศทางต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้
ในงานออกแบบด้วย
เก้าอี้(Chair)
การปรับสภาพการทางาน
ความสมดุล (Seat balance) เก้าอี้ที่ดีต้องช่วยส่งเสริมให้ผู้นั่งมีท่าทางทรวดทรง
การนั่งที่ถูกต้องหรือท่าทางการนั่งที่สมดุลตามธรรมชาติของลากระดูกสัน
หลังที่เรียงตัวเป็นรูปตัวอักษรอังกฤษตัว“S”
เมื่อมองจากทางด้านข้างโดยที่หลังส่วนล่างที่เรียกว่าLumbar spines จะแอ่น
เว้ามาทางด้านหน้าส่วนหลังช่วงเอวหรือส่วนล่างของตัว“S” จะเป็นส่วนที่
ต้องรองรับน้าหนักตัวส่วนบนคือ ศีรษะ แขนและลาตัวทั้งหมดเอาไว้และ
กล้ามเนื้อหลังส่วนเอวนี้ก็ต้องพยายามทางานอย่างหนักคือ ทั้งหดทั้งดึงเพื่อ
รักษาแนวลาสันหลังรูปตัวเอสนี้เอาไว้ไม่ให้เป็นตัวเอสหลังค่อมหรือตัวเอสห
งายหลังจนเสียสมดุลที่ดีไป
เก้าอี้(Chair)
การปรับสภาพการทางาน
: ภาพแสดงลากระดูกสันหลังที่เรียงตัวเป็นรูปตัวอักษรอังกฤษตัว “S” (Jenkins,1998)
เก้าอี้(Chair)
การปรับสภาพการทางาน
ปรับความสูงที่นั่ง(Seat height adjustment)
 ช่วงของการปรับเก้าอี้สานักงานจะแตกต่างกันไปในแต่ละรุ่นหรือแต่ละ
บริษัท
 สาหรับเก้าอี้ที่ดีที่สุด ที่นั่งควรสามารถปรับความสูงได้ระหว่าง 380 มม.
ถึง 530 มม.จากพื้น
 ขณะนั่งสะโพก เข่า ข้อเท้า ทามุม 90 องศา ให้ต้นขาขนานพื้นอยู่ระดับ
เดียวกับสะโพก เท้าวางราบกับพื้น
เก้าอี้(Chair)
การปรับสภาพการทางาน
ปรับพนักพิง (Backrest adjustment)
 การปรับพนักพิงเพื่อให้สัมผัสรองรับความโค้งแอ่นของบั้นเอวของแต่ละ
บุคคลควรพอดี
 ถ้าหากไม่พอดีควรมีหมอนเล็กหนุนที่บั้นเอว เพื่อรักษาความโค้งปกติจะ
สังเกตว่าหากพอดีแล้วจะรู้สึกสบายหลังขึ้น
 การใช้ที่นั่งที่มีพนักพิงสูงเพื่อสนับสนุนหัวของผู้ใช้ซึ่งเจตนาของผู้ใช้เพื่อ
พักผ่อนหรือเป็นที่พักของศีรษะ แต่การมีที่พิงศีรษะอาจทาให้บุคคลไม่
กระตือรือร้นในการทางานกับคอมพิวเตอร์
เก้าอี้(Chair)
การปรับสภาพการทางาน
ที่วางแขน (Armrests)
ถ้าที่วางแขนออกแบบมาไม่ดี และตาแหน่งของที่วางแขนไม่ดี อาจสร้างปัญหาให้กับ
ผู้ใช้ได้
หากมีการติดมาอย่างถาวรกับเก้าอี้ ปัญหาหลักคือ ที่วางแขนบางอันกลายเป็นตัว
ป้ องกันผู้ใช้นั่งใกล้เคียงกับขอบชั้นในของโต๊ะ ทาให้ระยะทางระหว่างผู้ใช้และ
แป้ นพิมพ์หรือเมาส์ไกลกัน ผู้ใช้ก็จะทาการกางแขนทั้งสองข้างออก ซึ่งทาให้เพิ่มภาระ
สาหรับแขนมากขึ้น
ถ้ามีที่วางแขน ควรจะใช้ในท่าทางที่ถูกสนับสนุนปลายแขนของผู้ใช้แต่ไม่รบกวน
วิธีการทางานของผู้ใช้ควรย้ายแขนได้อย่างอิสระ สามารถจับต้องวัตถุหรือใช้
แป้ นพิมพ์เมาส์ได้สะดวก
 ถ้าผู้ใช้ทางานกับเก้าอี้ที่มีที่วางแขนแล้วเกิดปัญหา ก็ควรถอดออกได้โดยง่าย
เก้าอี้(Chair)
การปรับสภาพการทางาน
กลไกการปรับ(Adjustment mechanisms)
กลไกการปรับคุณสมบัติสาคัญของกลไกการปรับใด ๆ ควรที่จะใช้งานง่ายจาก
ตาแหน่งที่นั่ง
การปรับที่ต้องให้ผู้ใช้ยืนขึ้นเพื่อดาเนินการควบคุมได้
หากมีการควบคุมการทางานที่ซับซ้อน ผู้ใช้จะไม่ค่อยชอบ และต้องเสียเวลา
กับการทาความคุ้นเคยกับการควบคุมนั้นและจะเป็นผลให้ไม่ใช้มันอีกเลย
กลไกการปรับที่นั่งจะอยู่ใต้เก้าอี้ใช้ควบคุมการเปลี่ยนการตั้งค่าของที่นั่งเพื่อให้
สามารถปรับแรงรองรับผู้ใช้ที่มีน้าหนักแตกต่างกันได้เพื่อให้มีความต้านทาน
เพียงพอในการเคลื่อนไหวของพนักพิง
เก้าอี้(Chair)
การปรับสภาพการทางาน
: ภาพแสดงการนั่งเก้าอี้ที่มีกลไกการปรับ
เก้าอี้(Chair)
การปรับสภาพการทางาน
ที่วางเท้า (Footrests)
 ถ้าเท้าของผู้ใช้ไม่สัมผัสพื้น อาจจะเนื่องจากว่าผู้ใช้ตัวเล็ก เก้าอี้ควรจะมีที่วางเท้า เพราะที่วางเท้า
เปรียบเสมือนพื้น ลักษณะของที่วางเท้าจึงต้องคล้ายกับพื้น ต้องเป็นพื้นที่ผิวขนาดใหญ่ เพื่อให้
สามารถรองรับการวางเท้าทั้งสองอย่างสบาย
 ที่วางเท้าบางอันจะออกแบบด้วยพื้นผิวพลาสติก วัตถุประสงค์เพื่อป้องกันเท้าลื่นไหล
 ผู้ใช้มีความแตกต่างทั้งรูปร่าง และขา ซึ่งมีความยาวแตกต่างกัน ที่รองเท้าจึงควรปรับระดับความสูง
และควรเอียงได้
 หากผู้ใช้โต๊ะแบ่งพื้นที่การทางานออกเป็นสองส่วนงานที่แตกต่าง ซึ่งปกติเกิดขึ้นกับโต๊ะแบบL-
shapedsurfaces ควรจะให้มีที่รองเท้าสองที่ไว้ใต้โต๊ะแต่ละส่วน เท้าของผู้ใช้จะสัมผัสกับพื้นเมื่อมีการ
ใช้เก้าอี้
อุปกรณ์เสริม (Accessories)
การปรับสภาพการทางาน
ที่วางข้อมือ(Wristrests)
 ที่วางข้อมือ ประกอบไปด้วยเจลที่วางอยู่หน้าเมาส์ ผู้คนทั่วไปมักจะใช้รองข้อมือ
ในขณะกาลังคลิกข้อมูลและควรใช้เป็นที่พักมือเมื่อผู้ใช้ไม่ได้ใช้แล้ว
 ถ้าไม่มีที่วางข้อมือจะพบว่ามือของผู้ใช้จะลอยอยู่เหนือเมาส์ เมื่อเป็นกรณีนี้จะต้อง
ใช้กล้ามเนื้อส่วนใหญ่จากแขน เพื่อให้ตาแหน่งมือเทียบเท่ากับเมาส์
 หากแต่ผู้ใช้ใช้ที่วางข้อมือขณะที่พยายามทางานกับเมาส์ ก็จะมีประสิทธิภาพเป็นที่
พักไปด้วย
 ดังนั้นองค์กรควรให้ที่วางข้อมือแก่พนักงาน นอกจากนี้ยังควรให้ข้อมูลประกอบที่
เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้เห็นความสาคัญของการใช้ที่วางข้อมือขณะปฏิบัติการ
อุปกรณ์เสริม (Accessories)
การปรับสภาพการทางาน
ที่จับกระดาษ (Document holder)
 ที่จับกระดาษ หรือที่จับสาเนา ควรจะจัดหาไว้ในสถานการณ์ที่บุคคลต้องดูเอกสาร ขณะโต้ตอบกับ
หน้าจอ หรือแป้นพิมพ์
 โดยปกติผู้ใช้จานวนมากที่วางเอกสารต้นฉบับบนพื้นผิวโต๊ะข้าง ๆ แป้ นพิมพ์ ผลที่ตามมา คือ การ
มองลงมาที่เอกสารจะต้องก้มศีรษะ และคอจะต้องหมุนหัวซ้า ๆ จากเอกสารไปที่หน้าจอ อาจเกิด
ปัจจัยเสี่ยงสาหรับอาการปวดคอ
 ดังนั้นการทางานในลักษณะนี้น่าจะทาให้ไม่สบายที่คอ การใช้ที่จับเอกสารเพื่อดูเนื้อหาควรมีความ
สูงระดับเดียวกันกับหน้าจอ เพื่อลดการทาซ้า ๆ กับกล้ามเนื้อคอ
 นอกจากนี้ยังมีการใช้เอกสารที่อยู่บนพื้นผิวโต๊ะ ซึ่งอยู่ในระยะที่แตกต่าง และไกลจากหน้าจอ เวลาที่
ผู้ใช้ดูเอกสารแล้วกลับไปดูที่หน้าจอ และกลับมาอีกครั้งจะต้องปรับโฟกัสสายตา การปรับโฟกัส
สายตาดังกล่าวจะเพิ่มขึ้นตามจานวนครั้ง ทาให้ผู้ใช้จานวนมากเกิดความเมื่อยล้าสายตาหรือปวดหัว
ตามมา
อุปกรณ์เสริม (Accessories)
การปรับสภาพการทางาน
ภาพแสดงตัวอย่างการใช้งานที่จับกระดาษ
อุปกรณ์เสริม (Accessories)
การปรับสภาพการทางาน
อุปกรณ์ปรับระดับความสูงของจอภาพ(Screen risers)
 อุปกรณ์ปรับระดับความสูงของจอภาพ มีสองรูปแบบ คือแบบแรกเป็นแผ่นแบนที่
สนับสนุนจอซีอาที ดั้งเดิมที่วางบนโต๊ะ
 อีกแบบที่ประกอบด้วยที่ยึดไปด้านหลังของจอแบน แขนเหล่านี้เอาไว้สาหรับปรับ
ความสูง
 ซึ่งผู้ใช้สามารถตั้งค่าความสูงของหน้าจอเพื่อให้เหมาะสมได้แขนยังสามารถให้ผู้ใช้
สามารถดึงหน้าจอมาด้านหน้า หรือผลักกลับไปด้านหลัง
 ช่วยให้มีพื้นที่ว่างของโต๊ะเมื่อไม่ใช้งานหน้าจอ
อุปกรณ์เสริม (Accessories)
การปรับสภาพการทางาน
ชุดโทรศัพท์หูฟัง (Telephone headset)
 ในปัจจุบันมีการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล์เพิ่มขึ้น และใช้โทรศัพท์ลดลง
แต่ก็ยังมีอยู่จานวนหนึ่งที่ต้องพูดคุยทางโทรศัพท์เป็นเวลานาน หรือซ้า ๆ ในวัน
ทางาน
 ถึงแม้ว่าหน่วยงานที่ดาเนินการโดยเฉพาะเป็นศูนย์โทรศัพท์ได้ตั้งค่าให้รองรับการ
ทางานพร้อมหูฟังไว้แล้ว แต่ก็มีสานักงานจานวนมากที่หูฟังเป็นอุปสรรคระหว่างหู
และไหล่ ในขณะที่ผู้ใช้ใช้งาน หรือมีการเข้าถึงข้อมูลบนหน้าจอ
 ผลของการใช้กล้ามเนื้อในแบบคงที่นาน ๆ จะนาไปสู่ความไม่สบายของคอ
 หูฟังโทรศัพท์ควรจะให้บริการแก่ผู้ดาเนินงานที่ต้องใช้โทรศัพท์ในเวลาเดียวกันกับ
การโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริม (Accessories)
การปรับสภาพการทางาน
แท่นอ่านหนังสือ(Readingslopes)
 บุคคลบางคนจะต้องอ่านเอกสารจานวนมาก และใช้เวลาต่อเนื่อง ต้องก้มศีรษะไป
บนโต๊ะเป็นระยะเวลานาน เพื่อก้มลงไปอ่านเอกสาร
 การกระทานี้นาไปสู่ความไม่สบายทั้งคอและหลัง
 สถานการณ์นี้สามารถแก้ไขได้โดยใช้แท่นอ่านหนังสือ บางครั้งเรียกว่า ผู้อ่าน หรือ
บรรณาธิการแบบพกพา
 เหมาะสาหรับโต๊ะที่สูง และไม่สามารถปรับระดับได้ความลาดเอียงทาให้เอกสารทา
มุมได้เหมาะสมกับผู้ใช้โดยช่วยลดการก้มไปข้างหน้า
อุปกรณ์เสริม (Accessories)
การปรับสภาพการทางาน
: ภาพแสดงตัวอย่างแทนอ่านหนังสือ
(ก) เอกสารที่มีระยะห่างต่อการอ่าน หรือ เขียน
(ข) เอกสารบนแท่นอ่านหนังสือ ที่มีระยะเหมาะสมต่อการอ่าน และเขียน
(ค) เอกสารบนแท่นอ่านหนังสือ ที่มีระยะเหมาะสมต่อการอ่าน
อุปกรณ์เสริม (Accessories)
การปรับสภาพการทางาน
สรุป...หลักสาคัญของการยศาสตร์
การตระหนักว่า ท่านั่งที่ไม่ถูกต้อง และการทางานโดยไม่มีการพัก จะนาไปสู่ความ
ผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal Disorders: MSD) เป็นเรื่องที่มี
ความสาคัญลาดับต้นๆสาหรับทุกคนที่ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
การที่มีโต๊ะทางานที่ถูกหลักการยศาสตร์ที่สุด อาจยังคงไม่สามารถป้ องกันอาการ
ผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกได้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ควรเปลี่ยนท่าทางและเดินออก
จากโต๊ะทางานหลาย ๆ ครั้งต่อวัน เพื่อไม่ให้เกิดความเมื่อยล้าจากการนั่งนาน ๆ
ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพในบริษัทควรแนะนาให้ลุกไปดื่มน้าตลอดวันซึ่งเป็น
การรับประกันว่าผู้ใช้ได้พักอย่างแน่นอน

More Related Content

What's hot

ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
somdetpittayakom school
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
Kannika Kerdsiri
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
Jeerapob Seangboonme
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
nurmedia
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
krupornpana55
 

What's hot (20)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 

More from Wanphen Wirojcharoenwong

More from Wanphen Wirojcharoenwong (11)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายบทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

บทที่ 8 การยศาสตร์

  • 2. การยศาสตร์ เป็นศัพท์บัญญัติมาจากคาภาษาอังกฤษว่า “ Ergonomics ”  ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคาภาษากรีกประกอบรวมกัน ๓ คา คือ “ ergon ” หมายถึง “ งาน (work) ” “ nomoi ” หมายถึง “ กฎ (law) ” “ ikos ” หมายถึง “ ศาสตร์หรือระบบความรู้ (ics) ” หากแปลตามตัวอักษร "Ergonomics" หมายถึง ศาสตร์หรือระบบความรู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างกฎกับงาน ส่วนคาว่า "การย์" (การยะ) ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ ความหมายว่า หน้าที่ กิจธุระงาน  ศัพท์บัญญัติว่า การยศาสตร์ จึงมีความหมายว่า ระบบความรู้เกี่ยวกับงาน ซึ่งค่อนข้าง ตรงกับความหมายของรูปศัพท์ในคาภาษาอังกฤษ (สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ, 2551) การยศาสตร์
  • 3. การยศาสตร์  การยศาสตร์ (Ergonomics) เป็นองค์ความรู้ที่ว่าด้วยการปรับเปลี่ยนสภาพงานให้เหมาะสมกับ ผู้ปฏิบัติงาน หรือเป็นการปรับปรุงสภาพการทางานอย่างเป็นระบบ  เกี่ยวข้องกับหลายสาขาวิชาด้วยกัน นามาประยุกต์ใช้ร่วมกันเพื่อปรับปรุงคุณภาพการทางานให้มี ประสิทธิภาพในการทางานความสะดวกสบายและความปลอดภัยสูงสุด  โดยจะให้ความสาคัญกับคนทางานเป็นอันดับแรก  โดยจะดูว่าการออกแบบเครื่องมือเครื่องจักร และสภาพแวดล้อมในการทางานมีผลกระทบอย่างไร บ้าง  ซึ่งก็รวมไปถึงวิธีการทางานหรือท่าทางในการทางานที่เหมาะสม เพื่อจะได้ใช้พลังงานในการ ทางานน้อยที่สุด เกิดความเครียดความล้าและความผิดปกติจากการบาดเจ็บสะสมเรื้อรัง ( Cumulative Trauma Disorders: CTDs ) น้อยที่สุด
  • 4. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์ แป้ นพิมพ์ (Keyboard)  การใช้แป้ นพิมพ์โดยใช้แรงกดจากปลายนิ้วมีผลต่อการพัฒนาความผิดปกติของท่อน แขน โดยแรงขั้นต่าที่ใช้ในการกดจะเป็นเพียงครึ่งแรกของการกดทั้งหมด ถ้าผู้ใช้ต้องออกแรง กดมากเท่าใดก็จะหมายถึงมันใช้งานไม่สะดวกมากเท่านั้น การพิมพ์ด้วยแป้ นพิมพ์ที่แข็งกระด้างต้องการใช้แรงกดที่มากขึ้น และแม้ว่าผู้ใช้จะกดคีย์ บนโน้ตบุ๊กด้วยแรงที่น้อยกว่าบนเครื่องตั้งโต๊ะก็ตาม เขากลับใช้แรงกดเกินความจาเป็นมาก ไป การทาให้มีเสียงดังตอบรับขณะกดคีย์แต่ละคีย์ลงไปคล้ายกับเสียงคลิกเมาส์จึงช่วยลด การใช้แรงกดคีย์ที่มากเกินไปได้
  • 5. แป้นพิมพ์ : ภาพท่าการวางมือที่ถูกบังคับโดยแบบของแป้นพิมพ์ (Bridger, 2003) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์ แป้ นพิมพ์ (Keyboard)
  • 6. แป้ นพิมพ์ (Keyboard) การจัดให้มีคีย์ตัวเลขประกอบอยู่บนแป้ นพิมพ์ด้วยนั้นเป็นสิ่งที่ควรจะมีการ ทบทวน เนื่องจากคีย์ตัวเลขนี้จะเป็นการเพิ่มความกว้างให้กับแป้ นพิมพ์และต้องวางเมาส์ ห่างออกไปจากผู้ใช้มากกว่าที่ควร ทาให้หัวไหล่ถูกหันตามออกไปด้วยเมื่อใช้เมาส์ ซึ่ง เมื่อใช้งานนานไปก็จะทาให้เกิดความไม่สะดวก ดังภาพต่อไปนี้ (ก) ตาแหน่งของเมาส์และการวางแขนที่เป็นผลมาจากการใช้แป้ นพิมพ์แบบมีแป้ นตัวเลข (ข)ตาแหน่งของเมาส์และการวางแขนเมื่อนาเอาแป้ นตัวเลขออกไป (Cook และKothiyal, 1998) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
  • 7. เมาส์ (Mouse) • เมาส์จัดเป็นอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลที่ใช้งานกับคอมพิวเตอร์อยู่ตลอดเวลา • การออกแบบเมาส์ได้มีการออกแบบให้ใช้งานโดยต้องคว่าฝ่ามือลงซึ่งฝ่ามือจะถูก ยกขึ้นอยู่สูงกว่าข้อมือในท่าที่ผิดธรรมชาติ • เมาส์บางอันมีขนาดใหญ่มากทั้งยาวและกว้างทาให้ไม่สะดวกในการใช้ปุ่มคลิก โดยต้องใช้นิ้วยืดออกไปเพื่อจะคลิกที่ปุ่มได้ • เมาส์ส่วนใหญ่ออกแบบมาเพื่อให้ใช้กับมือขวาแต่ก็ยังมีพวกที่นาไปใช้กับมือซ้าย โดยวางไว้ทางด้านซ้ายของแป้ นพิมพ์ โดยที่รูปทรงของเมาส์มือขวานั้นไม่เหมาะ อย่างยิ่งกับกับการใช้โดยมือซ้าย • ดังนั้นการออกแบบเมาส์ให้สามารถใช้กับมือในท่าที่เป็นธรรมชาติได้ ซึ่งมี นัยสาคัญที่จะลดอาการติดกันของกระดูกและกล้ามเนื้อในขณะใช้งานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
  • 8. เมาส์ (Mouse) : ภาพการเคลื่อนของมือที่ออกไปจากตาแหน่งตามธรรมชาติเมื่อมีการใช้เมาส์ (ปรับปรุงจากBS EN ISO 9241-9-2000) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
  • 9. ทัชเพด (Touchpad) • การใช้ทัชเพดนี้จะพบได้บนแลปท็อปคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊กโดยใช้แทนเมาส์ • รูปร่างของทัชเพดมีลักษณะเป็นสีเหลี่ยมอยู่ด้านหน้าแป้ นพิมพ์ใช้งานโดยใช้ปลายนิ้ว • ผู้ใช้ส่วนมากพบว่าเขาสามารถใช้นิ้วเพียงนิ้วเดียวบนทัชเพด เพราะว่าไม่ต้องการให้ ทิศทางของเคอร์เซอร์เปลี่ยนไป ซึ่งเกิดขึ้นได้ถ้ามีนิ้วมืออีกนิ้วมาสัมผัส • ผลสรุปก็คือ การใช้งานจะมารวมอยู่ที่นิ้วมือเพียงนิ้วเดียว ซึ่งนานไปก็เกิดความอ่อนล้า ได้การใช้ทัชเพดเป็นเวลานานจึงควรหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดจากการใช้นิ้ว เพียงนิ้วเดียวเป็นเวลานานในการทางาน • ผู้ใช้ทัชเพดจึงควรใช้เมาส์เพิ่มเติมด้วย อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
  • 10. แทรคบอลล์(Trackball) • แทรคบอลล์เหมือนกับการหงายเมาส์แบบลูกกลิ้งขึ้นมาแล้วใช้งาน • การทางานกับแทรคบอลล์ซึ่งวางอยู่ตรงกลางมาทางส่วนล่างของแป้ นพิมพ์มีผลให้ การใช้งานกล้ามเนื้อไหล่ลดลงมากกว่าการใช้เมาส์ ทาให้ใช้ข้อมือมากกว่าอุปกรณ์ นาเข้าข้อมูลชนิดอื่นๆ • ซึ่งแทรคบอลล์ได้ติดอยู่กับตัวเครื่องช่วยพยุงมือในขณะที่อยู่เหนือโต๊ะเป็นเหตุให้ ส่วนแขนไม่ได้รับการพยุงทาให้อ่อนล้าได้ • บางชนิดมีการติดตั้งไว้ในเมาส์และใช้งานโดยใช้นิ้วโป้ ง การวางมือเพื่อใช้งานแบบนี้ จะนาไปสู่ความผิดปกติของท่อนแขนได้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
  • 11. จอยสติก (Joystick) • จอยสติกมีรูปร่างเป็นแท่งยึดติดอยู่กับฐาน จอยสติกขนาดใหญ่ใช้งานโดยใช้มือจับ ทั้งหมด เพื่อให้ผู้ใช้ปรับให้เข้ากับธรรมชาติของการใช้ปลายแขน • ถูกออกแบบเพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้แรงบังคับโยกไปมาได้มากกว่าการจับยึดไว้ตรง ๆ อย่างไรก็ตามการจับยึดโดยใช้แรงจากมือนี้อาจมีผลกระทบต่อความเที่ยงตรงของการ เคลื่อนไหวได้ • การออกแบบจอยสติกบางครั้งจะให้ใช้นิ้วโป้ งในการกดด้วย การใช้งานนิ้วโป้ งใน กรณีนี้เป็นสิ่งที่ไม่แนะนา ในการใช้จอยสติกไม่ควรใช้เกิน45 องศาไปทางซ้ายและขวา 30 องศาไปข้างหน้า และ 15 องศามาข้างหลัง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
  • 12. จอภาพสัมผัส (Touchscreen) • การใช้งานจอภาพสัมผัสผู้ใช้จะต้องสัมผัสลงไปบนจอภาพ นั่นเป็นหนึ่งในวิธีการที่รวดเร็ว ในการเลือกสิ่งของบนจอภาพ ซึ่งมันจะให้ผลดีที่สุดในการชี้และการเลือก • อย่างไรก็ตามมันมีผลต่อผู้ใช้ในการยื่นแขนออกไปโดยไม่มีอะไรมารองรับหรือพยุงไว้สิ่ง หนึ่งที่เป็นความยากก็คือจอภาพถูกวางไว้ตามความต้องการ สองอย่างนี้คือ มันต้องอยู่ห่างจาก ผู้ใช้พอสมควร เพื่อให้อ่านได้สะดวกแต่ก็ต้องไม่ห่างเกินเอื้อม และไม่ควรใช้งานนานเกินไปกับ จอภาพแบบนี้ • อาจจะเหมาะกับการเลือกด้วยการใช้เวลาสั้น ๆ หรือไม่ก็เป็นการป้ อนตัวหนังสือเพียง เล็กน้อยเท่านั้น • การวางจอไว้ในแนวตั้งตรงนั้นควรจะตั้งให้มีความสูงเพียงพอซึ่งควรจะอยู่บริเวณตั้งแต่ หัวไหล่ขึ้นไป • การวางจอที่วางในแนวนอนจะต้องไม่ตั้งให้สูงกว่าในแนวระดับศอก อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
  • 13. กราฟิกแท็บเล็ต(Graphic tablet) • กราฟิกแท็บเล็ตและปากกาใช้งานในการวาดเขียน เพื่อการออกแบบ • เนื่องจากสามารถทางานได้ด้วยความเร็วสูง อย่างไรก็ตามด้วยด้ามจับที่มีขนาดเล็กซึ่ง การใช้งานด้วยด้ามจับแบบนี้อาจทาให้รู้สึกเมื่อยล้าได้ดังนั้นการใช้งานแบบไม่มีหยุดจึง ควรหลีกเลี่ยง ทั้งนี้รวมถึงการใช้ปากกาแสงที่ชี้ไปยังจอภาพด้วยกราฟิกแท็บเล็ตและ ปากกาใช้งานในการชี้จุด การเลือก การลากแล้ววาง และการวาด • โดยหน้าสัมผัสของกราฟิกแท็บเล็ตจะต้องแบนราบและเรียบและไม่สะท้อนแสง • ซึ่งจะต้องใช้แผ่นนาร่องวางทาบเอาไว้เพื่อให้เห็นฟังก์ชั่นการทางานกราฟิกที่มีไว้ให้ ใช้ในโปรแกรม และแผ่นนี้จะต้องไม่ขยับเลื่อนไปเมื่อใช้งาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ส่งผลต่อการทางานของร่างกายมนุษย์
  • 14. ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) • ความผิดปกติของรยางค์บน คือ กลุ่มอาการที่มีการอักเสบสะสมมาเรื่อย ๆ ตั้งแต่ บริเวณ ปลายนิ้ว หัวไหล่ แขน และคอ • เป็นความผิดปกติในระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ได้แก่ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และข้อ ต่อต่างๆ • เนื้อเยื่อเหล่านี้จะทางานร่วมกันเพื่อตอบสนองต่อ ตาแหน่งและการเคลื่อนไหวของ แขน ซึ่งการเคลื่อนไหวนั้นมีทั้งการทางานแบบนิ่งอยู่กับที่ และการทางานแบบ เคลื่อนไหวไปมา
  • 15. ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน  การทางานซ้าซาก (Repetition)  ท่าทางที่ไม่เหมาะสม (Awkwardposture)  กล้ามเนื้อทางานเกร็งค้างกับที่ (Static muscle work)  การออกแรง (Force)  ช่วงระยะเวลาการทางาน (Duration of exposure) ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) มีดังนี้
  • 16. ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางาน ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) การทางานซ้าซาก (Repetition) o ถ้าทางานในลักษณะเดียวกันเหมือนเดิมซ้า ๆ เป็นเวลานาน จะเกิดเป็นการทาซ้าซาก o การทางานในลักษณะนี้กล้ามเนื้อแต่ละมัดจะตอบสนองการทางานในรูปแบบเดิม o เมื่อทานานๆโดยไม่มีช่วงพักโดยกล้ามเนื้อจะเกิดการล้าและจะฟื้นฟูกลับมาในสภาพ เดิมได้ไม่เต็มที่ o การที่กล้ามเนื้อทางานเกินกาลังติดต่อกัน จะนาไปสู่การอักเสบและการเสื่อมของ เนื้อเยื่อ ยิ่งถ้าต้องทางานอย่างเร่งรีบยิ่งต้องใช้กาลังกล้ามเนื้อสูงขึ้น ก็ยิ่งทาให้กล้ามเนื้อ ล้าได้เร็วขึ้น
  • 17. ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) ท่าทางที่ไม่เหมาะสม (Awkward posture)  ท่าทางที่ฝืนธรรมชาติทาให้เกิดปัญหาความผิดปกติของรยางค์บนได้  ดังนั้นในที่ทางานจึงจาเป็นที่จะต้องใช้เฟอร์นิเจอร์ และจัดเก็บอุปกรณ์บนโต๊ะ ทางานให้เหมาะสม  ท่าที่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของแขนหรือลาตัวอยู่ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม เช่น แป้ นพิมพ์และเมาส์ อยู่ห่างจากลาตัวมากเกินไปทาให้ต้องยื่นแขนไปข้างหน้าหรือเอื้อม ไปไกลมากขึ้น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์มักจะยกแขนขึ้นมาให้ข้อมือขึ้นมาวางบนโต๊ะ ใช้ แป้ นพิมพ์และเมาส์ การทางานอยู่ในท่านี้นานๆจะมีผลต่อกล้ามเนื้อ เพราะว่ากล้ามเนื้อ ไม่สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่ออยู่ในท่าทางที่ไม่เหมาะสม ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางาน
  • 18. ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) ท่าทางที่ไม่เหมาะสม (Awkward posture) : ภาพตัวอย่างแขนและลาตัวอยู่ในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม ที่มา : http://www.oknation.net/blog/health2you/2009/06/04/entry-14,15 ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางาน
  • 19. ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) กล้ามเนื้อทางานเกร็งค้างกับที่ (Static muscle work)  คือ การยกแขนหรือส่วนอื่น ๆ ของร่างกายให้อยู่ในท่าใดท่าหนึ่ง ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน  ในระหว่างนี้กล้ามเนื้อจะเกร็งตัวและไม่สามารถคลายตัวได้ ทาให้มีการ ไหลเวียนของเลือดลดลงในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และไม่สามารถกาจัดของเสียจาก กระบวนการเผาผลาญพลังงานได้ทาให้กล้ามเนื้อเกิดการอ่อนล้าได้เร็วขึ้นใน  กรณีที่เก้าอี้ตั้งอยู่ต่าจากแป้ นพิมพ์และเมาส์มาก ทาให้ในขณะทางานต้อง ยกหัวไหล่และแขนขึ้นและค้างไว้ท่านี้ ถ้าค้างไว้เป็นเวลา 5 นาที จะต้องใช้เวลา ประมาณหนึ่งชั่วโมงกว่ากล้ามเนื้อจะกลับมาเหมือนเดิมกล้ามเนื้อทางานเกร็ง ค้างกับที่ ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางาน
  • 20. ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) การออกแรง (Force)  ระดับแรงในการทางานของกล้ามเนื้อมีผลต่อท่าทางของแต่ละคน  ทาให้เกิดการล้าของกล้ามเนื้อและจะนาไปสู่อาการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อได้เร็วขึ้น  คนที่ใช้งานคอมพิวเตอร์จานวนมากมีการเปลี่ยนแปลงท่าทาง ในขณะทางานและต้อง พิมพ์งานด้วยความเร่งรีบ ซึ่งหลายคนก็ออกแรงกดมากเกินไป แป้ นพิมพ์ถูกออกแบบมาให้ เหมาะกับการสัมผัสเบา ๆ บางคนที่กดแป้ นพิมพ์อย่างแรงก็ทาให้กล้ามเนื้อต้องทางานมาก ขึ้น  คนส่วนใหญ่จับเมาส์ด้วยแรงที่มากเกินความจาเป็น ก็ส่งผลให้กล้ามเนื้อเกิดการล้าได้ เร็วขึ้น  แรงที่ใช้นั้นจะปรับไปตามความหนักของงานและสามารถส่งผลให้เกิดความผิดปกติ ของรยางค์บนได้
  • 21. ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน ความผิดปกติของรยางค์บน (Upper Limb Disorders: ULDs) ช่วงระยะเวลาการทางาน (Duration of exposure)  ระยะเวลาการทางานในแต่ละวันมีผลทาให้เกิดอาการเจ็บป่วยและ ใช้งานไม่ถนัดเกิดขึ้นได้  คนที่ใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ จะทาให้เกิดความผิดปกติ ของรยางค์บนได้เช่นกัน ซึ่งอาการค่อย ๆ เกิดการสะสมมาเรื่อย ๆ  การทางานที่มีช่วงเวลาพักน้อย การทางานนอกเวลา และการทางาน อย่างสุดโต่ง แม้จะในช่วงเวลาสั้น ๆ ก็อาจทาให้เกิดความผิดปกติของ รยางค์บนได้  หรือแม้แต่คนที่หยุดงานเป็นเวลานานแล้วกลับมาทางานใหม่ก็จะทา ให้เกิดอาการเจ็บป่วยขึ้นได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน
  • 22. ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน ปวดหลัง (Backache) o คนที่มีอาการปวดหลังมักจะปวดหลังส่วนล่างหรือหลังส่วนเอว อาการปวดมักเกิด จากการทางานอยู่ในท่าที่ไม่ถูกต้องและนั่งเป็นเวลานาน ๆโดยไม่ลุกจากที่ o อาการปวดหลังสามารถเกิดได้จากลักษณะของสถานที่ทางานไม่เหมาะสม เก้าอี้ไม่ ดีไม่ได้ถูกปรับให้เหมาะกับผู้ใช้แต่ละคน o การแก้ปัญหาอาการปวดหลังที่เกิดขึ้นจากการทางาน ควรเลือกใช้เก้าอี้ให้เหมาะสม กับผู้ใช้ในแต่ละคน และมีการฝึกอบรมในเรื่องท่าทางที่ถูกต้องในการทางานให้แก่ พนักงานและอนุญาตให้พนักงานที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจาลุกจากที่นั่งเดินไป เดินมาได้บ่อย ๆ
  • 23. ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน การล้าสายตา (Visual fatigue)  ลักษณะอาการของการล้าสายตา คือ ตาแดง คันที่ตา มองเห็นไม่ชัด มองเห็นภาพ ซ้อน ปวดบริเวณรอบ ๆ ตามีน้าตาไหล ปวดศีรษะ อาการคลื่นไส้ อาการเหล่านี้เกิดจาก การใช้กล้ามเนื้อรอบ ๆ ดวงตามากเกินไป  ตาและกล้ามเนื้อที่ควบคุมลูกตาจะตอบสนองเหมือนกับส่วนอื่นๆ ของร่างกายจะดี ขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนท่าทาง  นั่นจึงเป็นเหตุผลว่าทาไมคนที่ทางานด้วยคอมพิวเตอร์จึงต้องมีช่วงพักเวลาพักจาก หน้าจอคอมพิวเตอร์บ่อย ๆ ซึ่งจะทาให้ดวงตาได้มีการพักด้วย  ดวงตาควรที่จะจ้องวัตถุอื่นๆในระยะทางที่แตกต่างกันมากกว่าที่จะจ้องอยู่กับ หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ ถ้าไม่สามารถที่พักสายตาได้อย่างน้อย ๆก็ควรที่จะ ละสายตาจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ไปมองสิ่งอื่น ๆ บ่อย ๆ
  • 24. ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางาน ความเครียด (Stress)  เป็นอาการทางจิตเวช (Psychological) ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ได้รับมอบหมายงานไม่ เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคน  ซึ่งเป็นผลให้ได้รับแรงกดดันมากเกินไป ซึ่งคนที่มีภาวะเครียดเป็นเวลานานจะทาให้เกิด การป่วยได้โดยมีอาการวิตกกังวล หดหู่ เกิดเป็นโรคหัวใจ มีอาการปวดหลัง มีปัญหาเกี่ยวกับ กระเพาะและลาไส้ และอาจจะหาทางออกอย่างไม่เหมาะสม  การตอบสนองนี้จึงเกิดขึ้นในองค์กร ถ้าในองค์กรมีหนึ่งคนที่มีความเครียดมาก ๆ จะ ส่งผลกระทบต่อคนอื่นที่มีจิตใจปกติได้  โดยคนที่มีความเครียดจะทางานได้ไม่เต็มที่ อาจจะมีการขาดงานบ่อย ๆ ทาให้เพิ่มภาระ งานกับเพื่อนร่วมงาน ในที่สุดทาให้ต้องถูกออกจากการทางาน  องค์กรจาเป็นต้องทบทวนตาแหน่งที่ทาให้เกิดความลาบากใจหรือมีความกดดันในการ ทางานของพนักงานด้วย
  • 25. การปรับสภาพการทางาน ท่าทางการนั่งทางาน อุปกรณ์ต่างๆ มีขนาด ระยะ แสงสว่าง ไม่เหมาะสม ทาให้ อวัยวะบางส่วนทางานหนัก ซึ่งการทางานติดต่อกันต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะส่งผล กระทบต่อสุขภาพ และอาจเกิดการบาดเจ็บของอวัยวะเรื้อรังได้ ดังนั้น สานักงาน หรือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ควรให้ความสาคัญต่อการจัดสถานที่ทางานให้เหมาะสม ดังต่อไปนี้
  • 26.  โต๊ะที่ใช้ในสานักงานจะมีรูปแบบทั่วไปเป็นทรงสี่เหลี่ยมอย่างง่าย บางครั้งมี ลิ้นชักติดกับพื้นผิวโต๊ะ  เมื่อเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง นักออกแบบโต๊ะและผู้ผลิตจึงต้องพัฒนา รูปแบบโต๊ะทางานเพื่อให้ตรงกับความต้องการ โดยต้องสนับสนุนกับอุปกรณ์ สานักงาน เช่น จอภาพ แป้ นพิมพ์ ไมโครโฟน โทรศัพท์เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ และเพื่อรองรับการเพิ่มจานวนของบุคคลในสานักงานโดยไม่ ต้องเพิ่มพื้นที่ของอาคาร  โต๊ะทางานสามารถเปลี่ยนรูปร่าง และรูปทรง ให้เหมาะสาหรับใช้คนเดียว สอง คน หรือใช้เป็นกลุ่มใหญ่โดยใช้โต๊ะทางานร่วมกันได้  โดยที่ผู้ใช้สามารถคงความสูง ปรับความสูงบางส่วนได้และมีลิ้นชักแนบใต้โต๊ะ หรือแท่นแขวนเคลื่อนที่ซึ่งในเรื่องของโต๊ะทางานควรพิจารณาดังนี้ โต๊ะทางาน (Desk) การปรับสภาพการทางาน
  • 27.  ความสูงของโต๊ะทางานควรมีความสูงพอเหมาะ  ขณะทางานไม่ต้องก้มศีรษะมากนัก  ผิวโต๊ะทาด้วยวัสดุที่ไม่สะท้อนแสงรบกวนการทางาน  หากเป็นโต๊ะที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะควรมีถาดรองแป้ นพิมพ์และเมาส์เพื่อให้หน้า จอคอมพิวเตอร์ใกล้ระดับสายตา และสามารถพิมพ์งานโดยใช้แป้ นพิมพ์และเมาส์ได้ นานโดยไม่ต้องยกไหล่  ความสูงของโต๊ะทางาน มักจะถูกออกแบบมาให้มีความสูง 720 มม.หรือประมาณ 25- 29 นิ้วตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่งจะเหมาะกับบุคลากรส่วนใหญ่ในสานักงาน  การทางานจะต้องมีพื้นที่ที่ว่างอย่างน้อย 650 มม. ระหว่างพื้นและพื้นใต้ผิวโต๊ะทางาน ความสูงโต๊ะทางาน(Desk height) การปรับสภาพการทางาน
  • 28.  พื้นผิวโต๊ะเป็นอีกส่วนหนึ่งที่สาคัญของโต๊ะ เพราะผู้ใช้จะนาอุปกรณ์เกี่ยวกับ สานักงานมาวางไว้  สาหรับอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์นั้น ควรจะจัดหน้าจอ และแป้นพิมพ์วางไว้ตาแหน่ง หน้าของผู้ใช้ ซึ่งความลึกของโต๊ะควรมีระยะห่างจากตาแหน่งหน้าจอถึงปลายนิ้ว เป็น ตาแหน่งที่ใช้ในการทางาน  หน้าจอไม่ควรวางด้านหนึ่งด้านใดของโต๊ะ ซึ่งคนส่วนใหญ่แล้วเมื่อบนโต๊ะทางานมี เอกสารเป็นจานวนมาก ก็จะทาการย้ายจอภาพและแป้นพิมพ์ไปยังด้านข้างของโต๊ะ  ถ้าหน้าจออยู่ในตาแหน่งข้างใดข้างหนึ่ง ผู้ใช้จะต้องหมุนศีรษะ เวลาดูหน้าจอ และ จะต้องหันกลับไปมองที่เอกสารหรือแป้นพิมพ์รูปแบบนี้อาจทาให้เกิดการบิดของ ร่างกายประมาณ 20% พบความผิดปกติเกี่ยวกับอวัยวะส่วนคอและไหล่สูง พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design) การปรับสภาพการทางาน
  • 29. : ภาพแสดงรูปแบบพื้นผิวโต๊ะ (a) Cockpit-style surface (b) L-shaped surface (c) Wave surface  ผู้ผลิตจึงได้ออกแบบโต๊ะที่มีการเพิ่มพื้นที่ผิวเป็นแบบ Cockpit-stylesurfaces, L-shapedsurfaces และ Wavesurfaces ดังในภาพดังนี้ พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design) การปรับสภาพการทางาน
  • 30.  รูปแบบพื้นผิวโต๊ะดังกล่าว อาจสร้างปัญหา หากไม่ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ จะเห็นว่า ถ้าผู้ใช้เอียงเก้าอี้ที่มีที่วางแขน มักจะพบว่าที่วางแขนจะชนกับ ขอบโต๊ะของ L-shaped ภาพที่ทามุม 90° และเป็นตัวป้ องกันผู้ใช้จากการนั่ง ใกล้กับโต๊ะที่ต้องการ ดังภาพต่อไปนี้ : ภาพแสดงปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้เก้าอี้ที่มีที่วางแขนกับโต๊ะ L-shapedsurface พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design) การปรับสภาพการทางาน
  • 31.  ปัญหาที่เกิดขึ้นคล้ายกันกับรูปแบบผิวโต๊ะWave surface คือ เมื่อผู้ใช้เปลี่ยนไปยัง หน้าจอที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเก้าอี้ ที่วางแขนจะสัมผัสกับขอบโต๊ะ และทาให้ผู้ใช้ อยู่ตรงกลางของจอภาพ ผู้ใช้อาจพบว่า ต้องขยับร่างกายเล็กน้อย จากการที่จะต้อง เคลื่อนที่ไปข้างหนึ่งเพื่อใช้อุปกรณ์ หรืออาจต้องย้ายอุปกรณ์ออกจากพื้นที่ ที่ กาหนดบนโต๊ะเพื่อให้นั่งสบายมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากพื้นผิวที่ต้องใช้ร่วมกับ อุปกรณ์ ดังภาพต่อไปนี้ : ภาพแสดงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เก้าอี้ที่มีที่วางแขนกับโต๊ะ Wave surface พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design) การปรับสภาพการทางาน
  • 32.  โต๊ะที่มีพื้นผิวที่ต้องใช้เป็นคู่ ทาให้ไม่สมดุลและต้องมีการเอียงไปทางขวามือของ โต๊ะ และอื่น ๆ ที่เหลืออยู่ด้านซ้ายของโต๊ะซึ่งหมายความว่าสัดส่วนที่สาคัญของ การทางานของผู้ใช้พื้นที่จะอยู่ในทั้งด้านซ้ายหรือขวา ดังภาพด้านล่าง บางคนจะ คิดว่ามีการจากัดความยืดหยุ่นของการใช้พื้นที่ทางาน ซึ่งเป็นผลจากการไม่ได้ ทดลองใช้งานเฟอร์นิเจอร์ในที่ทางานจริงก่อนซื้อ : ภาพแสดงความไม่สมดุลของโต๊ะที่มีพื้นผิวเป็นคู่ พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design) การปรับสภาพการทางาน
  • 33.  อีกหนึ่งคุณสมบัติของพื้นผิวที่สาคัญและสมควรจะกล่าวถึง คือ ขอบของโต๊ะ โดย ปกติโต๊ะรุ่นเก่าขอบโต๊ะจะทามุม 90° ในกรณีนี้ยังมีหลายรุ่นที่ผู้ขายทาให้ราคาถูก ลง ขอบของโต๊ะทางานควรจะกลมมน หรือ "bull-nosed" ถือว่าเหมาะสมดังในภาพ ภาพแสดงเขตการเข้าถึงสะดวกและพื้นที่ทางานปกติ (McKeownและ Twiss, 2004) พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design) การปรับสภาพการทางาน
  • 34. คุณลักษณะใต้พื้นผิว (Undersurface features) การออกแบบพื้นผิวใต้โต๊ะนี้ไม่มีความสาคัญเท่าพื้นผิวโต๊ะ เพราะจะมี ผลกระทบเฉพาะเรื่องความสะดวกสบายแต่ละบุคคลควรมีพื้นที่ว่างอย่าง เพียงพอสาหรับการขยับขาจากหน้าไปหลัง และจากข้างหนึ่งไปอีกข้างหนึ่ง เพื่อให้สามารถย้ายขาอย่างอิสระและเปลี่ยนตาแหน่งได้ง่ายโดยไม่มีอุปสรรค สาหรับข้อแนะนาทั่วไปคือโต๊ะทางานของแต่ละบุคคล ควรมีที่ว่างใต้โต๊ะ อย่างน้อย 600 มม. ด้านหน้า ถึงด้านหลังและ600 มม. จากซ้ายไปขวา เทียบกับ ตาแหน่งที่นั่ง ถ้าจะให้ดีที่สุดควรเป็น 1,000 มม. ในบริเวณนี้ควรพิจารณา คุณสมบัติอื่น เช่น ความสะดวกของการไปด้านหลังของโต๊ะ ขอบโต๊ะ และขา โต๊ะซึ่งอาจเป็นอุปสรรคกับพื้นได้ พื้นผิวโต๊ะ (Worksurface design) การปรับสภาพการทางาน
  • 35.  เก้าอี้ที่ได้รับการออกแบบมาเป็นอย่างดีโดยคานึงถึงหลักสรีรศาสตร์ ของมนุษย์หรือเก้าอี้เออร์กอนอมิกส์ (Ergonomics chair)นั้น  ต้องช่วยลดหรือบรรเทาปัญหาความเค้นและความเครียดที่เกิดขึ้นมาจาก การที่บุคลากรสานักงานใช้งานพวกเครื่องคอมพิวเตอร์ แป้ นพิมพ์ และ อุปกรณ์สานักงานอย่างอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี  เก้าอี้ที่ถูกหลักการยศาสตร์นั้นผู้ออกแบบจะมีการนาเอาหลักเกณฑ์ ทางด้านการยศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของความสมดุลของเก้าอี้มุมเอนหลัง ที่พอดีและการหมุนเคลื่อนไหวของเก้าอี้ในทิศทางต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ ในงานออกแบบด้วย เก้าอี้(Chair) การปรับสภาพการทางาน
  • 36. ความสมดุล (Seat balance) เก้าอี้ที่ดีต้องช่วยส่งเสริมให้ผู้นั่งมีท่าทางทรวดทรง การนั่งที่ถูกต้องหรือท่าทางการนั่งที่สมดุลตามธรรมชาติของลากระดูกสัน หลังที่เรียงตัวเป็นรูปตัวอักษรอังกฤษตัว“S” เมื่อมองจากทางด้านข้างโดยที่หลังส่วนล่างที่เรียกว่าLumbar spines จะแอ่น เว้ามาทางด้านหน้าส่วนหลังช่วงเอวหรือส่วนล่างของตัว“S” จะเป็นส่วนที่ ต้องรองรับน้าหนักตัวส่วนบนคือ ศีรษะ แขนและลาตัวทั้งหมดเอาไว้และ กล้ามเนื้อหลังส่วนเอวนี้ก็ต้องพยายามทางานอย่างหนักคือ ทั้งหดทั้งดึงเพื่อ รักษาแนวลาสันหลังรูปตัวเอสนี้เอาไว้ไม่ให้เป็นตัวเอสหลังค่อมหรือตัวเอสห งายหลังจนเสียสมดุลที่ดีไป เก้าอี้(Chair) การปรับสภาพการทางาน
  • 38. ปรับความสูงที่นั่ง(Seat height adjustment)  ช่วงของการปรับเก้าอี้สานักงานจะแตกต่างกันไปในแต่ละรุ่นหรือแต่ละ บริษัท  สาหรับเก้าอี้ที่ดีที่สุด ที่นั่งควรสามารถปรับความสูงได้ระหว่าง 380 มม. ถึง 530 มม.จากพื้น  ขณะนั่งสะโพก เข่า ข้อเท้า ทามุม 90 องศา ให้ต้นขาขนานพื้นอยู่ระดับ เดียวกับสะโพก เท้าวางราบกับพื้น เก้าอี้(Chair) การปรับสภาพการทางาน
  • 39. ปรับพนักพิง (Backrest adjustment)  การปรับพนักพิงเพื่อให้สัมผัสรองรับความโค้งแอ่นของบั้นเอวของแต่ละ บุคคลควรพอดี  ถ้าหากไม่พอดีควรมีหมอนเล็กหนุนที่บั้นเอว เพื่อรักษาความโค้งปกติจะ สังเกตว่าหากพอดีแล้วจะรู้สึกสบายหลังขึ้น  การใช้ที่นั่งที่มีพนักพิงสูงเพื่อสนับสนุนหัวของผู้ใช้ซึ่งเจตนาของผู้ใช้เพื่อ พักผ่อนหรือเป็นที่พักของศีรษะ แต่การมีที่พิงศีรษะอาจทาให้บุคคลไม่ กระตือรือร้นในการทางานกับคอมพิวเตอร์ เก้าอี้(Chair) การปรับสภาพการทางาน
  • 40. ที่วางแขน (Armrests) ถ้าที่วางแขนออกแบบมาไม่ดี และตาแหน่งของที่วางแขนไม่ดี อาจสร้างปัญหาให้กับ ผู้ใช้ได้ หากมีการติดมาอย่างถาวรกับเก้าอี้ ปัญหาหลักคือ ที่วางแขนบางอันกลายเป็นตัว ป้ องกันผู้ใช้นั่งใกล้เคียงกับขอบชั้นในของโต๊ะ ทาให้ระยะทางระหว่างผู้ใช้และ แป้ นพิมพ์หรือเมาส์ไกลกัน ผู้ใช้ก็จะทาการกางแขนทั้งสองข้างออก ซึ่งทาให้เพิ่มภาระ สาหรับแขนมากขึ้น ถ้ามีที่วางแขน ควรจะใช้ในท่าทางที่ถูกสนับสนุนปลายแขนของผู้ใช้แต่ไม่รบกวน วิธีการทางานของผู้ใช้ควรย้ายแขนได้อย่างอิสระ สามารถจับต้องวัตถุหรือใช้ แป้ นพิมพ์เมาส์ได้สะดวก  ถ้าผู้ใช้ทางานกับเก้าอี้ที่มีที่วางแขนแล้วเกิดปัญหา ก็ควรถอดออกได้โดยง่าย เก้าอี้(Chair) การปรับสภาพการทางาน
  • 41. กลไกการปรับ(Adjustment mechanisms) กลไกการปรับคุณสมบัติสาคัญของกลไกการปรับใด ๆ ควรที่จะใช้งานง่ายจาก ตาแหน่งที่นั่ง การปรับที่ต้องให้ผู้ใช้ยืนขึ้นเพื่อดาเนินการควบคุมได้ หากมีการควบคุมการทางานที่ซับซ้อน ผู้ใช้จะไม่ค่อยชอบ และต้องเสียเวลา กับการทาความคุ้นเคยกับการควบคุมนั้นและจะเป็นผลให้ไม่ใช้มันอีกเลย กลไกการปรับที่นั่งจะอยู่ใต้เก้าอี้ใช้ควบคุมการเปลี่ยนการตั้งค่าของที่นั่งเพื่อให้ สามารถปรับแรงรองรับผู้ใช้ที่มีน้าหนักแตกต่างกันได้เพื่อให้มีความต้านทาน เพียงพอในการเคลื่อนไหวของพนักพิง เก้าอี้(Chair) การปรับสภาพการทางาน
  • 43. ที่วางเท้า (Footrests)  ถ้าเท้าของผู้ใช้ไม่สัมผัสพื้น อาจจะเนื่องจากว่าผู้ใช้ตัวเล็ก เก้าอี้ควรจะมีที่วางเท้า เพราะที่วางเท้า เปรียบเสมือนพื้น ลักษณะของที่วางเท้าจึงต้องคล้ายกับพื้น ต้องเป็นพื้นที่ผิวขนาดใหญ่ เพื่อให้ สามารถรองรับการวางเท้าทั้งสองอย่างสบาย  ที่วางเท้าบางอันจะออกแบบด้วยพื้นผิวพลาสติก วัตถุประสงค์เพื่อป้องกันเท้าลื่นไหล  ผู้ใช้มีความแตกต่างทั้งรูปร่าง และขา ซึ่งมีความยาวแตกต่างกัน ที่รองเท้าจึงควรปรับระดับความสูง และควรเอียงได้  หากผู้ใช้โต๊ะแบ่งพื้นที่การทางานออกเป็นสองส่วนงานที่แตกต่าง ซึ่งปกติเกิดขึ้นกับโต๊ะแบบL- shapedsurfaces ควรจะให้มีที่รองเท้าสองที่ไว้ใต้โต๊ะแต่ละส่วน เท้าของผู้ใช้จะสัมผัสกับพื้นเมื่อมีการ ใช้เก้าอี้ อุปกรณ์เสริม (Accessories) การปรับสภาพการทางาน
  • 44. ที่วางข้อมือ(Wristrests)  ที่วางข้อมือ ประกอบไปด้วยเจลที่วางอยู่หน้าเมาส์ ผู้คนทั่วไปมักจะใช้รองข้อมือ ในขณะกาลังคลิกข้อมูลและควรใช้เป็นที่พักมือเมื่อผู้ใช้ไม่ได้ใช้แล้ว  ถ้าไม่มีที่วางข้อมือจะพบว่ามือของผู้ใช้จะลอยอยู่เหนือเมาส์ เมื่อเป็นกรณีนี้จะต้อง ใช้กล้ามเนื้อส่วนใหญ่จากแขน เพื่อให้ตาแหน่งมือเทียบเท่ากับเมาส์  หากแต่ผู้ใช้ใช้ที่วางข้อมือขณะที่พยายามทางานกับเมาส์ ก็จะมีประสิทธิภาพเป็นที่ พักไปด้วย  ดังนั้นองค์กรควรให้ที่วางข้อมือแก่พนักงาน นอกจากนี้ยังควรให้ข้อมูลประกอบที่ เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้เห็นความสาคัญของการใช้ที่วางข้อมือขณะปฏิบัติการ อุปกรณ์เสริม (Accessories) การปรับสภาพการทางาน
  • 45. ที่จับกระดาษ (Document holder)  ที่จับกระดาษ หรือที่จับสาเนา ควรจะจัดหาไว้ในสถานการณ์ที่บุคคลต้องดูเอกสาร ขณะโต้ตอบกับ หน้าจอ หรือแป้นพิมพ์  โดยปกติผู้ใช้จานวนมากที่วางเอกสารต้นฉบับบนพื้นผิวโต๊ะข้าง ๆ แป้ นพิมพ์ ผลที่ตามมา คือ การ มองลงมาที่เอกสารจะต้องก้มศีรษะ และคอจะต้องหมุนหัวซ้า ๆ จากเอกสารไปที่หน้าจอ อาจเกิด ปัจจัยเสี่ยงสาหรับอาการปวดคอ  ดังนั้นการทางานในลักษณะนี้น่าจะทาให้ไม่สบายที่คอ การใช้ที่จับเอกสารเพื่อดูเนื้อหาควรมีความ สูงระดับเดียวกันกับหน้าจอ เพื่อลดการทาซ้า ๆ กับกล้ามเนื้อคอ  นอกจากนี้ยังมีการใช้เอกสารที่อยู่บนพื้นผิวโต๊ะ ซึ่งอยู่ในระยะที่แตกต่าง และไกลจากหน้าจอ เวลาที่ ผู้ใช้ดูเอกสารแล้วกลับไปดูที่หน้าจอ และกลับมาอีกครั้งจะต้องปรับโฟกัสสายตา การปรับโฟกัส สายตาดังกล่าวจะเพิ่มขึ้นตามจานวนครั้ง ทาให้ผู้ใช้จานวนมากเกิดความเมื่อยล้าสายตาหรือปวดหัว ตามมา อุปกรณ์เสริม (Accessories) การปรับสภาพการทางาน
  • 47. อุปกรณ์ปรับระดับความสูงของจอภาพ(Screen risers)  อุปกรณ์ปรับระดับความสูงของจอภาพ มีสองรูปแบบ คือแบบแรกเป็นแผ่นแบนที่ สนับสนุนจอซีอาที ดั้งเดิมที่วางบนโต๊ะ  อีกแบบที่ประกอบด้วยที่ยึดไปด้านหลังของจอแบน แขนเหล่านี้เอาไว้สาหรับปรับ ความสูง  ซึ่งผู้ใช้สามารถตั้งค่าความสูงของหน้าจอเพื่อให้เหมาะสมได้แขนยังสามารถให้ผู้ใช้ สามารถดึงหน้าจอมาด้านหน้า หรือผลักกลับไปด้านหลัง  ช่วยให้มีพื้นที่ว่างของโต๊ะเมื่อไม่ใช้งานหน้าจอ อุปกรณ์เสริม (Accessories) การปรับสภาพการทางาน
  • 48. ชุดโทรศัพท์หูฟัง (Telephone headset)  ในปัจจุบันมีการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล์เพิ่มขึ้น และใช้โทรศัพท์ลดลง แต่ก็ยังมีอยู่จานวนหนึ่งที่ต้องพูดคุยทางโทรศัพท์เป็นเวลานาน หรือซ้า ๆ ในวัน ทางาน  ถึงแม้ว่าหน่วยงานที่ดาเนินการโดยเฉพาะเป็นศูนย์โทรศัพท์ได้ตั้งค่าให้รองรับการ ทางานพร้อมหูฟังไว้แล้ว แต่ก็มีสานักงานจานวนมากที่หูฟังเป็นอุปสรรคระหว่างหู และไหล่ ในขณะที่ผู้ใช้ใช้งาน หรือมีการเข้าถึงข้อมูลบนหน้าจอ  ผลของการใช้กล้ามเนื้อในแบบคงที่นาน ๆ จะนาไปสู่ความไม่สบายของคอ  หูฟังโทรศัพท์ควรจะให้บริการแก่ผู้ดาเนินงานที่ต้องใช้โทรศัพท์ในเวลาเดียวกันกับ การโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เสริม (Accessories) การปรับสภาพการทางาน
  • 49. แท่นอ่านหนังสือ(Readingslopes)  บุคคลบางคนจะต้องอ่านเอกสารจานวนมาก และใช้เวลาต่อเนื่อง ต้องก้มศีรษะไป บนโต๊ะเป็นระยะเวลานาน เพื่อก้มลงไปอ่านเอกสาร  การกระทานี้นาไปสู่ความไม่สบายทั้งคอและหลัง  สถานการณ์นี้สามารถแก้ไขได้โดยใช้แท่นอ่านหนังสือ บางครั้งเรียกว่า ผู้อ่าน หรือ บรรณาธิการแบบพกพา  เหมาะสาหรับโต๊ะที่สูง และไม่สามารถปรับระดับได้ความลาดเอียงทาให้เอกสารทา มุมได้เหมาะสมกับผู้ใช้โดยช่วยลดการก้มไปข้างหน้า อุปกรณ์เสริม (Accessories) การปรับสภาพการทางาน
  • 50. : ภาพแสดงตัวอย่างแทนอ่านหนังสือ (ก) เอกสารที่มีระยะห่างต่อการอ่าน หรือ เขียน (ข) เอกสารบนแท่นอ่านหนังสือ ที่มีระยะเหมาะสมต่อการอ่าน และเขียน (ค) เอกสารบนแท่นอ่านหนังสือ ที่มีระยะเหมาะสมต่อการอ่าน อุปกรณ์เสริม (Accessories) การปรับสภาพการทางาน
  • 51. สรุป...หลักสาคัญของการยศาสตร์ การตระหนักว่า ท่านั่งที่ไม่ถูกต้อง และการทางานโดยไม่มีการพัก จะนาไปสู่ความ ผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal Disorders: MSD) เป็นเรื่องที่มี ความสาคัญลาดับต้นๆสาหรับทุกคนที่ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ การที่มีโต๊ะทางานที่ถูกหลักการยศาสตร์ที่สุด อาจยังคงไม่สามารถป้ องกันอาการ ผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกได้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ควรเปลี่ยนท่าทางและเดินออก จากโต๊ะทางานหลาย ๆ ครั้งต่อวัน เพื่อไม่ให้เกิดความเมื่อยล้าจากการนั่งนาน ๆ ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพในบริษัทควรแนะนาให้ลุกไปดื่มน้าตลอดวันซึ่งเป็น การรับประกันว่าผู้ใช้ได้พักอย่างแน่นอน