SlideShare a Scribd company logo
การประดิษฐ์ สื่อการเรียนการสอนอย่ างง่ ายจากวัสดุเหลือใช้
  “สื่อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก”
                                     ้




                         จัดทาโดย
                  นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
                     ตาแหน่ ง ครู ค.ศ.1
               กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์
                                    ิ


                    โรงเรียนนนทรีวทยา
                                  ิ
         สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
                      ้ ่
 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
                                 ้
สื่ อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก
                                                         ้
หลักการและเหตุผล
           การจัดการการศึกษาในปัจจุบน ตามแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
                                                 ั
ต้องยึดหลักว่า “ผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถในการเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองได้                    และถือว่าผูเ้ รี ยนมี
ความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริ มให้ผเู้ รี ยนสามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติ
และเต็มตามศักยภาพ” ซึ่งตรงกับวิธีที่เรี ยกว่า เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ผูสอนมีความสาคัญในฐานะที่เป็ นผู้
                                                                             ้
ชี้แนะแนววิธีเรี ยนรู้แบบต่างๆและอธิบายความ รู้พ้ืนฐาน ให้ผเู้ รี ยนเข้าใจสาหรับเป็ นพื้นฐานที่จะศึกษา
ค้นคว้าต่อไปได้ดวยตนเอง ตามวิธีเรี ยนรู้ที่ได้รับการชี้แนะ และพัฒนาเป็ นวิธีเรี ยนรู้ของตนเอง
                            ้
           สื่อการเรี ยนการสอน และแหล่งการเรี ยนรู้ นับเป็ นสิ่งที่มีความสาคัญอย่างยิง ในการส่งเสริ มการ
                                                                                       ่
เรี ยนรู้ให้กบผูเ้ รี ยน ซึ่งนอกจากที่จะสร้างความสนใจใฝ่ รู้ในการเรี ยนแล้ว ยังทาให้ผเู้ รี ยนได้มีความรู้ ความ
                 ั
เข้าใจมากยิงขึ้นอีกด้วย ดังที่ได้กล่าวไว้ ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 การจัด
                   ่
กระบวนการเรี ยนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปนี้
                           (5) ส่งเสริ มสนับสนุนให้ผสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรี ยน และ
                                                      ู้
อานวยสะดวก เพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจยเป็ นส่วนหนึ่งของ
                                                                                            ั
กระบวนการเรี ยนรู้ ทั้งนี้ ผูสอนและผูเ้ รี ยนอาจเรี ยนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่ อการเรี ยนการสอน และแหล่ง
                                    ้
วิทยาการประเภทต่างๆ
           พลังงานจากน้ าตก นับเป็ นสาระหนึ่งในการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่ผเู้ รี ยนมักจะขาดความรู้
ความเข้าใจที่ถกต้องในการเปลี่ยนรู ปพลังงานจากพลังงานศักย์ เป็ นพลังงานจลน์ ตลอดจนการนาหลักการ
                        ู
นี้มาใช้ในการผลิตไฟฟ้ า ทั้งนี้เ นื่องมาจากโรงเรี ยนส่วนใหญ่ขาดสื่อการเรี ยนการสอนที่จะช่วยส่งเสริ ม
ความรู้ความเข้าใจให้กบผูเ้ รี ยนอย่างเป็ นรู ปธรรม
                                ั
           ข้าพเจ้า นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ในฐานะของครู ผสอน รายวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักและเห็นถึง
                                                                   ู้
ความสาคัญของการจัดการเรี ยนการสอน ตามแนวทางของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ2542ดังกล่าว       .ศ.
โดยสนใจในการพัฒนาสื่อการเรี ยนการสอนในสาระเกี่ยวกับพลังงานจากน้ าตกงได้จัดทาสื่อการเรี ยนการสอน
                                                                                จึ
แบบจาลองพลังงานน้ าตกขึ้น โดยใช้วสดุเหลือใช้ที่หาได้ง่าย และใช้วิธีการทาที่ไม่ยากมากนักในการประดิษฐ์
                                               ั
เพื่อใช้เป็ นสื่อการเรี ยนการสอนที่ วยส่งเสริ มความรู้ความเข้าใจให้กบผูเ้ รี ยน งขึ้น ตลอดจนเป็ นแนวทาง
                                          จะช่                            ั     มากยิ่
ให้กบครู ผสอนในการนาไปประดิษฐ์ ปรับปรุ งและพัฒนาสื่อการเรี ยการสอนจากวัสดุเหลือใช้ต่อไป
      ั       ู้                                                        น
จุดประสงค์
           1. เพื่อสร้างสื่อการเรี ยนการสอนแบบจาลองพลังงานน้ าตก จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อนาไปใช้ในการ
                     เรี ยนการสอนสาระวิชาวิทยาศาสตร์
           2. เพื่อเป็ นแนวทางให้กบครู ผสอนในการนาไปประดิษฐ์ ปรับปรุ งและพัฒนาสื่อการเรี ยนการ
                                            ั      ู้
                     สอนจากวัสดุเหลือใช้
วัสดุอุปกรณ์
                      วัสดุ                                           อุปกรณ์
ขวดน้ าพลาสติกแบบเหลี่ยมขนาดใหญ่ 1 ใบ             กรรไกร
ขวดน้ าพลาสติกแบบกลมขนาดใหญ่ 2 ใบ                 คัตเตอร์
ขวดน้ ามันพืชขนาดใหญ่ 2 ขวด                       ไม้บรรทัด
หลอดแก้วงอ 90 องศา 1 อัน                          ปากกา
แผ่นสังกะสี ขนาด 8 x 8 cm. 1 แผ่น
ไส้ปากกาใช้แล้ว 1 อัน
ยางลบ 2 ก้อน
กาวสองหน้าอย่างหนา
กระดาษกาวย่น

งบประมาณที่ใช้ ประมาณ 10 บาท

วิธีการดาเนินงาน
1. ศึกษาหลักการเกี่ยวกับพลังงานน้ าตกและออกแบบสื่อการเรี ยนการสอนแบบจาลองพลังงานน้ าตก
2. จัดหา จัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์สาหรับการประดิษฐ์
3. ประดิษฐ์สื่อการเรี ยนการสอนแบบจาลองพลังงานน้ าตก ตามขั้นตอนดังนี้
        ส่ วนที่ 1 ส่ วนเก็บนาที่สูง
                             ้
        1) นาขวดน้ ามันพืชมา 2 ขวด ล้างทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย ใช้คตเตอร์ตดครึ่ งขวดทั้งสองใบ
                                                                    ั      ั
แล้วนามาซ้อนต่อกัน
        2) ใช้ตะปูเจาะที่ขวดบริ เวณส่วนล่างของขวดพลาสติดใบที่อยูดานบน เป็ นรู เล็กๆ แล้วใช้
                                                                ่ ้
หลอดแก้วงอ 90 องศา เสียบเข้าไปในรู สาหรับเป็ นท่อระบายน้ าออก



                                              ภาพแสดงส่วนเก็บน้ าที่สูง เมื่อประกอบเสร็ จแล้ว
ส่ วนที่ 2 ส่ วน กังหัน
1) นาแผ่นสังกะสี ขนาด 8 x 8 cm. มา 1 แผ่น ตัดเป็ นวงกลม
2) ใช้ไม้บรรทัดวัดรัศมีของแผ่นวงกลมสังกะสี โดยแบ่งออกเป็ นเป็ น 16 ส่วนๆละเท่าๆกัน




3) เจาะรู ที่จุดศูนย์กลางของแผ่นวงกลมสังกะสี แล้วใช้กรรไกรตัดตามเส้นประ โดยตัดลึกเข้าไป
     จากขอบด้านละประมาณ 3 Cm.
4) ใช้มือบิดที่แผนสังกะสียอยๆที่ตดแล้ว แต่ละแผ่นไปในทางเดียวกันเพื่อทาเป็ นกังหัน
                                  ่      ั
5) นาไส้ปากกาที่หมดแล้วเสียบเข้าไปในรู ตรงกลางกังหันและใช้ยางลบซึ่งตัดเป็ นก้อนสี่เหลี่ยม
     เล็กๆ 2 ก้อน เสียบเข้าไปทั้ง 2 ด้านของกังหันเพื่อยึดกังหันไว้ให้อยูกบที่
                                                                        ่ ั
ส่ วนที่ 3 ส่ วนขวดรองรับนา     ้
1) นาขวดน้ าพลาสติกแบบเหลี่ยมขนาดใหญ่ มา 1 ใบ เจาะช่อง 2 ช่อง
           - ช่องที่ 1 อยูบริ เวณก้นขวด เจาะเป็ นช่องสาหรับใส่ส่วนเก็บน้ าที่สูง
                              ่
           - ช่องที่ 2 อยูบริ เวณด้านบนของขวด เจาะเป็ นช่องสี่เหลี่ยมยาว สาหรับเป็ นที่ยดกังหัน
                            ่                                                           ึ
                ไว้กบขวด และเป็ นช่องที่น้ าไหลลงมาโดนกังหัน ให้กงหันหมุน
                     ั                                             ั
2) นาขวดพลาสติกวางนอนลง เจาะรู 2 รู บริ เวณด้านบนของช่องที่ 2 โดยให้รูมีขนาดใหญ่กว่าไส้
     ปากกา เพื่อเป็ นรู สาหรับเสียบไส้ปากกาที่เสียบกับกังหันไว้แล้ว
3) นาไส้ปากกาที่เสียบกับกังหันไว้แล้วมาสอดเข้ากับรู ท้งสองด้าน โดยจัดตาแหน่งของกังหันให้
                                                          ั
     อยูตรงกลาง ระหว่างช่อง จากนั้นนากระดาษกาวย่นตัดเป็ นเส้นเล็กๆ พันที่ปลายของไส้ปากกา
         ่
     ทั้ง 2 ด้าน เพื่อป้ องกันไม้ให้เลื่อนไปเลื่อนมา
4) นาขวดน้ าพลาสติกแบบกลมขนาดใหญ่ 2 ใบ ตัดเอาเฉพาะส่วนก้นขวดโดยมีปลายไว้ 2 ด้าน
          แล้วนาไปรองไว้ใต้ขวดน้ าพลาสติกแบบเหลี่ยม ซึ่งวางนอนอยู่ ติดกันด้วยกาวสองหน้าอย่าง
          หนา เพื่อช่วยให้สามารถตั้งตรงอยูได้โดยไม่ลม
                                          ่         ้
4. ทดสอบการทางานของแบบจาลองพลังงานน้ าตก โดยเทน้ าลงในส่วนเก็บน้ าที่สูง ส่วนที่ 1 แล้วปรับ
ตาแหน่งของหลอดแก้วให้น้ าไหลลงบนใบพัดของกังหัน เพื่อให้กงหันหมุนได้คล่องและสะดวก
                                                          ั




                       ภาพแสดงสื่อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก
                                                                ้

วิธีการใช้ งาน
     1. วางแบบจาลองพลังงานน้ าตกบนพื้นราบ
     2. นาน้ าสะอาดเทลงในส่วนเก็บน้ าที่สูงให้เต็ม โดยระดับน้ าอยูสูงกว่าระดับของหลอดแก้วที่ต่อไว้
                                                                  ่
     3. น้ าจะไหลลงมาตามหลอดแก้ว และทาให้กงหันหมุน
                                                 ั

ข้ อสังเกต
     1. ควรวางส่วนเก็บน้ าที่สูง โดยให้ตาแหน่งของหลอดแก้วตรงกับตาแหน่งของกังหัน
     2. เมื่อน้ าในส่วนเก็บน้ าที่สูงใกล้ต่ากว่าระดับของหลอดแก้ว ควรเติมอย่างต่อเนื่อง
     3. เมื่อน้ าไหลลงมาผ่านกังหันในช่วงหนึ่งปริ มาณน้ าในขวดพลาสติกส่วนรองรับน้ าจะสูงขึ้นเรื่ อยๆ
         ซึ่งถ้าสูงถึงระดับกังหัน จะทาให้กงหันหมุนช้าลงหรื ออาจหยุดหมุนเนื่องจากน้ าที่ขงอยูในขวดจะ
                                             ั                                          ั ่
         ต้านทานการหมุนของกังหัน ดังนั้นจึงควรเทน้ าออกจากขวดเป็ นระยะๆ
     4. อาจทดลองโดยยกส่วนเก็บน้ าที่สูงให้สูงขึ้น แล้วสังเกตผลต่อการหมุนของกังหัน
หลักการทางวิทยาศาสตร์ ที่สามารถอธิบายได้ จากสื่อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก               ้
           พลังงานน้ า ต้นกาเนิดจากพลังงานแสงอาทิตย์ทาให้น้ าบนพื้นโลกระเหยและรอยตัวขึ้นสูงเมื่อไอน้ า
ในบรรยากาศกลันตัวเป็ นฝน ความเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกทาให้ไหลลงสู่ที่ต่า พลังงานน้ าจึงเกิด
                  ่
จากพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานศักย์จากความเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกการนาเอาพลังงานน้ า
มาใช้ประโยชน์ทาได้โดยให้น้ าไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่า พลังงานศักย์ของน้ าถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงานจลน์
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนนี้คือ กังหันน้ า (Turbines) น้ าที่มีความเร็ วสูงจะผ่านเข้าท่อแล้วให้พลังงานจลน์
ส่งผลกังหันน้ าหมุน
           การผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานน้ านี้ทาได้โดยอาศัยพลังงานของน้ าตก ออกจากน้ าตามธรรมชาติ หรื อ
น้ าตกที่เกิดจากการดัดแปลงสภาพธรรมชาติ เช่น น้ าตกที่เกิดจากการสร้างเขื่อนกั้นน้ า น้ าตกจากทะเลสาบ
บนเทือกเขาสู่หุบเขา กระแสน้ าในแม่น้ าไหลตกหน้าผา เป็ นต้น การสร้างเขื่อนกั้นน้ าและให้น้ าตกไหลผ่าน
กังหันน้ าซึ่งติดอยูบนเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ ากาลังงานน้ าที่ได้จะขึ้นอยูกบความสูงของน้ าและอัตราการไหลของ
                    ่                                                ่ ั
น้ าที่ปล่อยลงมา กระแสน้ าจะหมุนมอเตอร์ให้มอเตอร์ปั่นกระแสไฟฟ้ า นอกจากนี้ การนาน้ ามาใช้งาน จะใช้
น้ าหมุนกังหัน เช่น หลุก หลุกจะตักน้ า จากคลองเข้าสู่ทางระบายน้ าเล็ก ๆ ซึ่งตัดเข้าสู่เรื อกสวนไร่ นา
           นอกจากนี้ยงสามารถเชื่อมโยงถึงความรู้เกี่ยวกับพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ได้อีกด้วย
                       ั
           พลังงานศักย์ คือ พลังงานที่สะสมในมวลที่ระดับความสูงหนึ่ง พลังงานศักย์จะเปลี่ยนรู ปเป็ น
พลังงานจลน์ (พลังในการเคลื่อนที่) เมื่อมวลนั้นมีการเปลี่ยนระดับจากที่สูงลงสู่ที่ที่มีระดับต่ากว่า เช่น น้ าอยู่
บนที่สูง (เขื่อนเก็บกักน้ าหรื ออ่างเก็บน้ าบนภูเขา) น้ าจะเก็บสะสมพลังงานศักย์ไว้ ทันทีที่ปล่อยน้ านี้ออกมา
น้ านี้ออกมาน้ าจะมีแรงมากพอที่จะปั่นเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า ในตอนที่น้ าไหลลงมาน้ าจะปลดปล่อยพลังงาน
ศักย์ออกมาเป็ นพลังงานจลน์
           พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่มีอยูในวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น รถยนต์กาลัง แล่น เครื่ องบินกาลังบิน
                                             ่
พัดลมกาลังหมุนน้ ากาลังไหลหรื อน้ าตกจากหน้าผา จึงกล่าวได้ว่า “วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ล้วนมีพลังงานจลน์
ทั้งสิน ปริ มาณพลังงานจลน์ ในวัตถุจะมีมากหรื อน้ อยขึนอยู่กับมวลและความเร็ วของวัตถุนั้น”
       ้                                                   ้

ประโยชน์ ที่ได้ รับจากสื่อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก  ้
   1. เป็ นการนาวัสดุเหลือใช้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยประดิษฐ์เป็ นสื่อการสอนที่ช่วยส่งเสริ ม
      ความรู้ความเข้าใจให้กบผูเ้ รี ยน ซึ่งครู ผสอนสามารถผลิตขึ้นใช้เองได้ง่าย
                                 ั              ู้
   2. เป็ นการลดปริ มาณขยะ ซึ่งช่วยลดสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
   3. ช่วยให้นกเรี ยนมีความรู้ ความเข้าใจและสนุกสนานในการเรี ยนมากขึ้น
                   ั
   4. แม้ว่าแบบจาลองพลังงานน้ าตกนี้จะเคยมีผผลิตออกมาหลายแบบแล้ว แต่แบบนี้ถือว่าเป็ นแบบที่ทา
                                                   ู้
      ได้ง่าย เห็นผลจริ ง และมีความสะดวกในการใช้และการเคลื่อนย้าย เป็ นอีกรู ปแบบหนึ่งที่สามารถ
      ใช้เป็ นสื่อการเรี ยนรู้ได้เป็ นอย่างดี
ภาพแสดงส่ วนประกอบของสื่ อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก
                                                        ้


       ส่วนเก็บน้ าที่สูง (สาหรับใส่น้ า)
          ทาจากขวดน้ ามันพืช 2 ใบ



                                            หลอดแก้วงอ 90 องศา



                                                      กังหันทาจากสังกะสี
                                                                                ส่วนรองรับน้ า
                                                                           ทาจากขวดพลาสติกเหลี่ยม




                         แกนกังหันทาจากไส้ปากกา




                                            ฐานตั้ง
                                  ทาจากก้นขวดพลาสติกกลม

More Related Content

What's hot

โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Jiraprapa Suwannajak
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาkrujee
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
Krittalak Chawat
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
DrWilaiporn Rittikoop
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.suchinmam
 
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรงรูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
ปุญญิศา เกิดมณี
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
ครู กรุณา
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPwaranyuati
 

What's hot (20)

โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรงรูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
Ast.c2560.4t
Ast.c2560.4tAst.c2560.4t
Ast.c2560.4t
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSP
 
คค
 

Viewers also liked

การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
Kobwit Piriyawat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (7)

การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 

Similar to การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54นู๋หนึ่ง nooneung
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)nwichunee
 
นาว
นาวนาว
นาวwisnun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยNetchanOk Maneechai
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
Weerachat Martluplao
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2Pak Ubss
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
SAKANAN ANANTASOOK
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 

Similar to การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
11
1111
11
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
P73240631522
P73240631522P73240631522
P73240631522
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 

More from Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Kobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 

การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้

  • 1. การประดิษฐ์ สื่อการเรียนการสอนอย่ างง่ ายจากวัสดุเหลือใช้ “สื่อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก” ้ จัดทาโดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ตาแหน่ ง ครู ค.ศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ ิ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ้ ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ้
  • 2. สื่ อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก ้ หลักการและเหตุผล การจัดการการศึกษาในปัจจุบน ตามแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ั ต้องยึดหลักว่า “ผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถในการเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผูเ้ รี ยนมี ความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริ มให้ผเู้ รี ยนสามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ” ซึ่งตรงกับวิธีที่เรี ยกว่า เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ผูสอนมีความสาคัญในฐานะที่เป็ นผู้ ้ ชี้แนะแนววิธีเรี ยนรู้แบบต่างๆและอธิบายความ รู้พ้ืนฐาน ให้ผเู้ รี ยนเข้าใจสาหรับเป็ นพื้นฐานที่จะศึกษา ค้นคว้าต่อไปได้ดวยตนเอง ตามวิธีเรี ยนรู้ที่ได้รับการชี้แนะ และพัฒนาเป็ นวิธีเรี ยนรู้ของตนเอง ้ สื่อการเรี ยนการสอน และแหล่งการเรี ยนรู้ นับเป็ นสิ่งที่มีความสาคัญอย่างยิง ในการส่งเสริ มการ ่ เรี ยนรู้ให้กบผูเ้ รี ยน ซึ่งนอกจากที่จะสร้างความสนใจใฝ่ รู้ในการเรี ยนแล้ว ยังทาให้ผเู้ รี ยนได้มีความรู้ ความ ั เข้าใจมากยิงขึ้นอีกด้วย ดังที่ได้กล่าวไว้ ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 การจัด ่ กระบวนการเรี ยนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปนี้ (5) ส่งเสริ มสนับสนุนให้ผสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรี ยน และ ู้ อานวยสะดวก เพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจยเป็ นส่วนหนึ่งของ ั กระบวนการเรี ยนรู้ ทั้งนี้ ผูสอนและผูเ้ รี ยนอาจเรี ยนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่ อการเรี ยนการสอน และแหล่ง ้ วิทยาการประเภทต่างๆ พลังงานจากน้ าตก นับเป็ นสาระหนึ่งในการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่ผเู้ รี ยนมักจะขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถกต้องในการเปลี่ยนรู ปพลังงานจากพลังงานศักย์ เป็ นพลังงานจลน์ ตลอดจนการนาหลักการ ู นี้มาใช้ในการผลิตไฟฟ้ า ทั้งนี้เ นื่องมาจากโรงเรี ยนส่วนใหญ่ขาดสื่อการเรี ยนการสอนที่จะช่วยส่งเสริ ม ความรู้ความเข้าใจให้กบผูเ้ รี ยนอย่างเป็ นรู ปธรรม ั ข้าพเจ้า นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ในฐานะของครู ผสอน รายวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักและเห็นถึง ู้ ความสาคัญของการจัดการเรี ยนการสอน ตามแนวทางของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ2542ดังกล่าว .ศ. โดยสนใจในการพัฒนาสื่อการเรี ยนการสอนในสาระเกี่ยวกับพลังงานจากน้ าตกงได้จัดทาสื่อการเรี ยนการสอน จึ แบบจาลองพลังงานน้ าตกขึ้น โดยใช้วสดุเหลือใช้ที่หาได้ง่าย และใช้วิธีการทาที่ไม่ยากมากนักในการประดิษฐ์ ั เพื่อใช้เป็ นสื่อการเรี ยนการสอนที่ วยส่งเสริ มความรู้ความเข้าใจให้กบผูเ้ รี ยน งขึ้น ตลอดจนเป็ นแนวทาง จะช่ ั มากยิ่ ให้กบครู ผสอนในการนาไปประดิษฐ์ ปรับปรุ งและพัฒนาสื่อการเรี ยการสอนจากวัสดุเหลือใช้ต่อไป ั ู้ น จุดประสงค์ 1. เพื่อสร้างสื่อการเรี ยนการสอนแบบจาลองพลังงานน้ าตก จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อนาไปใช้ในการ เรี ยนการสอนสาระวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อเป็ นแนวทางให้กบครู ผสอนในการนาไปประดิษฐ์ ปรับปรุ งและพัฒนาสื่อการเรี ยนการ ั ู้ สอนจากวัสดุเหลือใช้
  • 3. วัสดุอุปกรณ์ วัสดุ อุปกรณ์ ขวดน้ าพลาสติกแบบเหลี่ยมขนาดใหญ่ 1 ใบ กรรไกร ขวดน้ าพลาสติกแบบกลมขนาดใหญ่ 2 ใบ คัตเตอร์ ขวดน้ ามันพืชขนาดใหญ่ 2 ขวด ไม้บรรทัด หลอดแก้วงอ 90 องศา 1 อัน ปากกา แผ่นสังกะสี ขนาด 8 x 8 cm. 1 แผ่น ไส้ปากกาใช้แล้ว 1 อัน ยางลบ 2 ก้อน กาวสองหน้าอย่างหนา กระดาษกาวย่น งบประมาณที่ใช้ ประมาณ 10 บาท วิธีการดาเนินงาน 1. ศึกษาหลักการเกี่ยวกับพลังงานน้ าตกและออกแบบสื่อการเรี ยนการสอนแบบจาลองพลังงานน้ าตก 2. จัดหา จัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์สาหรับการประดิษฐ์ 3. ประดิษฐ์สื่อการเรี ยนการสอนแบบจาลองพลังงานน้ าตก ตามขั้นตอนดังนี้ ส่ วนที่ 1 ส่ วนเก็บนาที่สูง ้ 1) นาขวดน้ ามันพืชมา 2 ขวด ล้างทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย ใช้คตเตอร์ตดครึ่ งขวดทั้งสองใบ ั ั แล้วนามาซ้อนต่อกัน 2) ใช้ตะปูเจาะที่ขวดบริ เวณส่วนล่างของขวดพลาสติดใบที่อยูดานบน เป็ นรู เล็กๆ แล้วใช้ ่ ้ หลอดแก้วงอ 90 องศา เสียบเข้าไปในรู สาหรับเป็ นท่อระบายน้ าออก ภาพแสดงส่วนเก็บน้ าที่สูง เมื่อประกอบเสร็ จแล้ว
  • 4. ส่ วนที่ 2 ส่ วน กังหัน 1) นาแผ่นสังกะสี ขนาด 8 x 8 cm. มา 1 แผ่น ตัดเป็ นวงกลม 2) ใช้ไม้บรรทัดวัดรัศมีของแผ่นวงกลมสังกะสี โดยแบ่งออกเป็ นเป็ น 16 ส่วนๆละเท่าๆกัน 3) เจาะรู ที่จุดศูนย์กลางของแผ่นวงกลมสังกะสี แล้วใช้กรรไกรตัดตามเส้นประ โดยตัดลึกเข้าไป จากขอบด้านละประมาณ 3 Cm. 4) ใช้มือบิดที่แผนสังกะสียอยๆที่ตดแล้ว แต่ละแผ่นไปในทางเดียวกันเพื่อทาเป็ นกังหัน ่ ั 5) นาไส้ปากกาที่หมดแล้วเสียบเข้าไปในรู ตรงกลางกังหันและใช้ยางลบซึ่งตัดเป็ นก้อนสี่เหลี่ยม เล็กๆ 2 ก้อน เสียบเข้าไปทั้ง 2 ด้านของกังหันเพื่อยึดกังหันไว้ให้อยูกบที่ ่ ั ส่ วนที่ 3 ส่ วนขวดรองรับนา ้ 1) นาขวดน้ าพลาสติกแบบเหลี่ยมขนาดใหญ่ มา 1 ใบ เจาะช่อง 2 ช่อง - ช่องที่ 1 อยูบริ เวณก้นขวด เจาะเป็ นช่องสาหรับใส่ส่วนเก็บน้ าที่สูง ่ - ช่องที่ 2 อยูบริ เวณด้านบนของขวด เจาะเป็ นช่องสี่เหลี่ยมยาว สาหรับเป็ นที่ยดกังหัน ่ ึ ไว้กบขวด และเป็ นช่องที่น้ าไหลลงมาโดนกังหัน ให้กงหันหมุน ั ั 2) นาขวดพลาสติกวางนอนลง เจาะรู 2 รู บริ เวณด้านบนของช่องที่ 2 โดยให้รูมีขนาดใหญ่กว่าไส้ ปากกา เพื่อเป็ นรู สาหรับเสียบไส้ปากกาที่เสียบกับกังหันไว้แล้ว 3) นาไส้ปากกาที่เสียบกับกังหันไว้แล้วมาสอดเข้ากับรู ท้งสองด้าน โดยจัดตาแหน่งของกังหันให้ ั อยูตรงกลาง ระหว่างช่อง จากนั้นนากระดาษกาวย่นตัดเป็ นเส้นเล็กๆ พันที่ปลายของไส้ปากกา ่ ทั้ง 2 ด้าน เพื่อป้ องกันไม้ให้เลื่อนไปเลื่อนมา
  • 5. 4) นาขวดน้ าพลาสติกแบบกลมขนาดใหญ่ 2 ใบ ตัดเอาเฉพาะส่วนก้นขวดโดยมีปลายไว้ 2 ด้าน แล้วนาไปรองไว้ใต้ขวดน้ าพลาสติกแบบเหลี่ยม ซึ่งวางนอนอยู่ ติดกันด้วยกาวสองหน้าอย่าง หนา เพื่อช่วยให้สามารถตั้งตรงอยูได้โดยไม่ลม ่ ้ 4. ทดสอบการทางานของแบบจาลองพลังงานน้ าตก โดยเทน้ าลงในส่วนเก็บน้ าที่สูง ส่วนที่ 1 แล้วปรับ ตาแหน่งของหลอดแก้วให้น้ าไหลลงบนใบพัดของกังหัน เพื่อให้กงหันหมุนได้คล่องและสะดวก ั ภาพแสดงสื่อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก ้ วิธีการใช้ งาน 1. วางแบบจาลองพลังงานน้ าตกบนพื้นราบ 2. นาน้ าสะอาดเทลงในส่วนเก็บน้ าที่สูงให้เต็ม โดยระดับน้ าอยูสูงกว่าระดับของหลอดแก้วที่ต่อไว้ ่ 3. น้ าจะไหลลงมาตามหลอดแก้ว และทาให้กงหันหมุน ั ข้ อสังเกต 1. ควรวางส่วนเก็บน้ าที่สูง โดยให้ตาแหน่งของหลอดแก้วตรงกับตาแหน่งของกังหัน 2. เมื่อน้ าในส่วนเก็บน้ าที่สูงใกล้ต่ากว่าระดับของหลอดแก้ว ควรเติมอย่างต่อเนื่อง 3. เมื่อน้ าไหลลงมาผ่านกังหันในช่วงหนึ่งปริ มาณน้ าในขวดพลาสติกส่วนรองรับน้ าจะสูงขึ้นเรื่ อยๆ ซึ่งถ้าสูงถึงระดับกังหัน จะทาให้กงหันหมุนช้าลงหรื ออาจหยุดหมุนเนื่องจากน้ าที่ขงอยูในขวดจะ ั ั ่ ต้านทานการหมุนของกังหัน ดังนั้นจึงควรเทน้ าออกจากขวดเป็ นระยะๆ 4. อาจทดลองโดยยกส่วนเก็บน้ าที่สูงให้สูงขึ้น แล้วสังเกตผลต่อการหมุนของกังหัน
  • 6. หลักการทางวิทยาศาสตร์ ที่สามารถอธิบายได้ จากสื่อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก ้ พลังงานน้ า ต้นกาเนิดจากพลังงานแสงอาทิตย์ทาให้น้ าบนพื้นโลกระเหยและรอยตัวขึ้นสูงเมื่อไอน้ า ในบรรยากาศกลันตัวเป็ นฝน ความเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกทาให้ไหลลงสู่ที่ต่า พลังงานน้ าจึงเกิด ่ จากพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานศักย์จากความเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกการนาเอาพลังงานน้ า มาใช้ประโยชน์ทาได้โดยให้น้ าไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่า พลังงานศักย์ของน้ าถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงานจลน์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนนี้คือ กังหันน้ า (Turbines) น้ าที่มีความเร็ วสูงจะผ่านเข้าท่อแล้วให้พลังงานจลน์ ส่งผลกังหันน้ าหมุน การผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานน้ านี้ทาได้โดยอาศัยพลังงานของน้ าตก ออกจากน้ าตามธรรมชาติ หรื อ น้ าตกที่เกิดจากการดัดแปลงสภาพธรรมชาติ เช่น น้ าตกที่เกิดจากการสร้างเขื่อนกั้นน้ า น้ าตกจากทะเลสาบ บนเทือกเขาสู่หุบเขา กระแสน้ าในแม่น้ าไหลตกหน้าผา เป็ นต้น การสร้างเขื่อนกั้นน้ าและให้น้ าตกไหลผ่าน กังหันน้ าซึ่งติดอยูบนเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ ากาลังงานน้ าที่ได้จะขึ้นอยูกบความสูงของน้ าและอัตราการไหลของ ่ ่ ั น้ าที่ปล่อยลงมา กระแสน้ าจะหมุนมอเตอร์ให้มอเตอร์ปั่นกระแสไฟฟ้ า นอกจากนี้ การนาน้ ามาใช้งาน จะใช้ น้ าหมุนกังหัน เช่น หลุก หลุกจะตักน้ า จากคลองเข้าสู่ทางระบายน้ าเล็ก ๆ ซึ่งตัดเข้าสู่เรื อกสวนไร่ นา นอกจากนี้ยงสามารถเชื่อมโยงถึงความรู้เกี่ยวกับพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ได้อีกด้วย ั พลังงานศักย์ คือ พลังงานที่สะสมในมวลที่ระดับความสูงหนึ่ง พลังงานศักย์จะเปลี่ยนรู ปเป็ น พลังงานจลน์ (พลังในการเคลื่อนที่) เมื่อมวลนั้นมีการเปลี่ยนระดับจากที่สูงลงสู่ที่ที่มีระดับต่ากว่า เช่น น้ าอยู่ บนที่สูง (เขื่อนเก็บกักน้ าหรื ออ่างเก็บน้ าบนภูเขา) น้ าจะเก็บสะสมพลังงานศักย์ไว้ ทันทีที่ปล่อยน้ านี้ออกมา น้ านี้ออกมาน้ าจะมีแรงมากพอที่จะปั่นเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า ในตอนที่น้ าไหลลงมาน้ าจะปลดปล่อยพลังงาน ศักย์ออกมาเป็ นพลังงานจลน์ พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่มีอยูในวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น รถยนต์กาลัง แล่น เครื่ องบินกาลังบิน ่ พัดลมกาลังหมุนน้ ากาลังไหลหรื อน้ าตกจากหน้าผา จึงกล่าวได้ว่า “วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ล้วนมีพลังงานจลน์ ทั้งสิน ปริ มาณพลังงานจลน์ ในวัตถุจะมีมากหรื อน้ อยขึนอยู่กับมวลและความเร็ วของวัตถุนั้น” ้ ้ ประโยชน์ ที่ได้ รับจากสื่อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก ้ 1. เป็ นการนาวัสดุเหลือใช้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยประดิษฐ์เป็ นสื่อการสอนที่ช่วยส่งเสริ ม ความรู้ความเข้าใจให้กบผูเ้ รี ยน ซึ่งครู ผสอนสามารถผลิตขึ้นใช้เองได้ง่าย ั ู้ 2. เป็ นการลดปริ มาณขยะ ซึ่งช่วยลดสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน 3. ช่วยให้นกเรี ยนมีความรู้ ความเข้าใจและสนุกสนานในการเรี ยนมากขึ้น ั 4. แม้ว่าแบบจาลองพลังงานน้ าตกนี้จะเคยมีผผลิตออกมาหลายแบบแล้ว แต่แบบนี้ถือว่าเป็ นแบบที่ทา ู้ ได้ง่าย เห็นผลจริ ง และมีความสะดวกในการใช้และการเคลื่อนย้าย เป็ นอีกรู ปแบบหนึ่งที่สามารถ ใช้เป็ นสื่อการเรี ยนรู้ได้เป็ นอย่างดี
  • 7. ภาพแสดงส่ วนประกอบของสื่ อการเรียนการสอนแบบจาลองพลังงานนาตก ้ ส่วนเก็บน้ าที่สูง (สาหรับใส่น้ า) ทาจากขวดน้ ามันพืช 2 ใบ หลอดแก้วงอ 90 องศา กังหันทาจากสังกะสี ส่วนรองรับน้ า ทาจากขวดพลาสติกเหลี่ยม แกนกังหันทาจากไส้ปากกา ฐานตั้ง ทาจากก้นขวดพลาสติกกลม