SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
์ m
               ต o
 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

              ซ .c
             ไ k
      ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร

           ็บ o
       เรื่อง หลักเศรษฐศาสตรเบืองตน ( ตอนที่ 1)

         เว nn
                                ้


        น a
                      เลม 1

      ่บ ob
     ร o
    พ r
   แ .k
  ย w
เผ w
   w
                      จัดทําโดย
            นางสาวนวลพรรณ มูลศาสตร
           โรงเรียนหนองโตง “สุรวิทยาคม”
      สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร เขต 1
คํานํา

          บทเรียนสําเร็จรูป เลมที่ 1 เรื่อง หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน (ตอนที่ 1) ผูสอนไดสรางและ
พัฒ นาขึ้น เพื่อ ใหเ ปน สื่ อประกอบการเรี ยนการสอน สาระการเรีย นรูสั งคมศึก ษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เพื่อพัฒนาผูเรียนไดมีคุณภาพตามหลักสูตร
การศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยมีสาระการเรียนรูครบถวน จัดกิจกรรมการเรียน



                   ์ m
การสอนอยางเปนระบบ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง สอดคลองกับกระบวนการเรียนรูที่เนน



                  ต o
ผูเรี ยนเปน สําคั ญ ตรงตามแนวทางของการปฏิ รูป การศึก ษา ซึ่ งสาระที่ 3 เศรษฐศาสตร นี้



                 ซ .c
ประกอบดวยบทเรียนสําเร็จรูป 7 เรื่อง ๆ ละ 1 เลม ดังนี้


                ไ k
                    1. หลักเศรษฐศาสตรเบืองตน (ตอนที่ 1)
                                            ้


              ็บ o
                    2. หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน (ตอนที่ 2)



            เว nn
                    3. เศรษฐศาสตรกับชีวิตประจําวัน : การผลิต



           น a
                    4. ระบบการแลกเปลี่ยน



         ่บ ob
                    5. ระบบเศรษฐกิจ


        ร o
                    6. สหกรณ


       พ r
                    7. สถาบันการเงิน


      แ .k
     ย w
   เผ w
          ผูสอนขอขอบคุณทุกทานที่ไดกรุณาใหคําปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือ ใหการจัดทําบทเรียน
สําเร็จรูปชุดนี้สําเร็จเปนรูปเลมที่สมบูรณ และหวังเปนอยางยิ่งวาบทเรียนสําเร็จรูปทั้งชุดนี้จะเปน
ประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนของครู นักเรียนและผูที่สนใจไดเปนอยางดี



      w
                                                                            นวลพรรณ มูลศาสตร
คําแนะนําสําหรับ “ครู”

เมื่อครูไดนําบทเรียนสําเร็จรูปนี้ไปใช ควรปฏิบัติดังนี้



                  ์ m
                 ต o
      1. ครูศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปและวิธีการใชใหเขาใจ


                ซ .c
      2. เตรียมและตรวจสอบบทเรียนสําเร็จรูป


               ไ k
         ใหเพียงพอและพรอมที่จะใชไดทันที

             ็บ o
           เว nn
      3. เตรียมกระดาษคําตอบของบทเรียนสําเร็จรูป



          น a
         ใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียน



        ่บ ob
      4. ครูชี้แจงวิธีการศึกษาบทเรียนสําเร็จรูป


       ร o
         ใหนักเรียนเขาใจ และพรอมที่จะศึกษา


      พ r
      5. เมื่อแจกบทเรียนสําเร็จรูปใหนักเรียนแลว


     แ .k
    ย w
         ครูตองเปนที่ปรึกษาใหกับนักเรียนระหวาง



  เผ w
         การทํากิจกรรม รวมทั้งบันทึกพฤติกรรม
         การทํางานกลุมลงแบบประเมินการจัดกิจกรรม
         กลุม

     w6. ระหวางการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
         จนถึงการตรวจกระดาษคําตอบครูสังเกต
         พฤติกรรมของนักเรียนเปนรายคน และบันทึก
         พฤติกรรมลงในแบบประเมินคุณลักษณะ
         อันพึงประสงค
คําแนะนําสําหรับนักเรียน




                ์ m
 การศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปเลมนี้


               ต o
 ใหนกเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
     ั


              ซ .c
             ไ k
           ็บ o
         เว nn
1. อานผลการเรียนรูที่คาดหวัง จุดประสงคการเรียน
2. ทําแบบทดสอบกอนเรียน 10 ขอ ลงในกระดาษคําตอบที่เตรียมไวให


        น a
3. ใหศึกษาทําความเขาใจเนื้อหาไปทีละกรอบ อยาศึกษาขามกรอบ เพราะบทเรียน


      ่บ ob
     ร o
   จะไมตอเนื่องกัน



    พ r
4. เมื่อพบขอคําถามใหทุกคนในกลุมชวยกันคิดหาคําตอบที่ถูกตอง แลวเขียนคําตอบ



   แ .k
   ลงในกระดาษคําตอบที่เตรียมไวให


  ย w
5. การตอบคําถามไมควรดูเฉลย เพราะเปนการไมซื่อสัตย ตอตนเอง ถาตอบผิด



เผ w
   ควรยอนกลับไปศึกษากรอบเดิมอีกครั้ง และแกไขใหถูกตอง
6. เมื่อศึกษาเนื้อหาและทํากิจกรรมครบแลวใหทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจ
   ในบทเรียนทั้งหมดดวยความตั้งใจและพยายามจนสุดความสามารถ


   w
7. การประเมินผลการเรียน นักเรียนตองไดคะแนนรอยละ 80 ขึ้นไป คือจะตองได
   8 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน หากต่ํากวานี้ตองทบทวนใหม และทํากิจกรรม
   ตามขั้นตอนอีกครั้งจนผานบทเรียนนี้ได

                   อานคําแนะนําเขาใจแลว
                       เปดหนาตอไป
                     ลงมือทําไดเลยนะจะ
แผนผังลําดับขั้นตอนการใชบทเรียนสําเร็จรูป



                ์ m
               ต o
                            อานคําแนะนําสําหรับ



              ซ .c
                                   นักเรียน


             ไ k
           ็บ o
         เว nn
        น a
                                                      ทําแบบทดสอบ



      ่บ ob
                                                         กอนเรียน



     ร o
    พ r
                  ศึกษาเนื้อหาและปฏิบัติ


   แ .k
                     กิจกรรมทุกกรอบ


  ย w
เผ w    ทําแบบทดสอบหลังเรียน
                                                   ยอนกลับไป




   w                                                            ไมผานเกณฑ



      ผานเกณฑ




ศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปเลมตอไป
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

      บอกความหมาย ความสําคัญ ขอบขาย เปาหมาย เศรษฐศาสตรเบื้องตน
นําเสนอความหมาย ความสําคัญ ขอบขาย เปาหมายของเศรษฐศาสตรเบื้องตน
มีความซื่อสัตย และรับผิดชอบในการทํางาน



                   ์ m
                  ต o
                 ซ .c
                ไ k
                       จุดประสงคการเรียนรู


              ็บ o
            เว nn
   1. บอกความหมาย ความสําคัญ ขอบขาย เปาหมาย ของเศรษฐศาสตรเบื้องตนได



           น a
   2. นําเสนอความหมาย ความสําคัญ ขอบขาย เปาหมาย ของเศรษฐศาสตรเบื้องตนได



         ่บ ob
   3. มีความซือสัตย และรับผิดชอบในการทํางาน
              ่



        ร o
       พ r
      แ .k
     ย w
   เผ w                    สาระการเรียนรู



      w
     1.
     2.
     3.
     4.
          ความเปนมาของวิชาเศรษฐศาสตร
          ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร
          ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร
          ขอบขายของวิชาเศรษฐศาสตร
     5.   เปาหมายของวิชาเศรษฐศาสตร
วิชาสังคมศึกษา ศาสนา                                                 ประกอบแผน
                                     ทดสอบกอนเรียน
และวัฒนธรรม รหัส ส31101                                            การจัดการเรียนรูที่ 1
                                เรื่อง หลักเศรษฐศาสตร
                                                                        ชวงชั้นที่ 3
    สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร           เบื้องตน (ตอนที่ 1)           ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

คําชี้แจง      ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวทําเครื่องหมาย X ลงใน



                    ์ m
ชอง           ตัวเลือกของกระดาษคําตอบนี้



                   ต o
                  ซ .c
1. ความหมายของ “วิชาเศรษฐศาสตร” ตรงกับขอใดมากที่สุด


                 ไ k
   ก. การเลือกสิ่งที่ดีที่สุดใหแกชีวิต   ข. การจัดสรรทรัพยากรสูมวลชน


               ็บ o
   ค. การสรางความเปนธรรมในสังคม          ง. การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ



             เว nn
            น a
2. เศรษฐศาสตรเปนวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษยในดานใด



          ่บ ob
   ก. การบริโภค                              ข. การผลิต


         ร o
   ค. การดําเนินชีวิตประจําวัน               ง. การผลิตและการบริโภค


        พ r
       แ .k
3. เพราะเหตุใด วิชาเศรษฐศาสตรจึงมีความสําคัญสําหรับคนไทยในปจจุบัน


      ย w
    เผ w
   ก. มีแรงงานตางดาวเขามามาก                 ข. การเพิ่มของจํานวนประชากร
   ค. สินคาไทยตองแขงขันในระดับโลก            ง. ทรัพยากรมีนอยกวาจํานวนประชากร




       w
4. เปาหมายสูงสุดของการนําวิชาเศรษฐศาสตรมาพัฒนาประเทศ คือขอใด
   ก. ความมั่นคงของรัฐบาล                    ข. ความมั่นคงของสถาบันการเงิน
   ค. การอยูดีกินดีของประชาชน               ง. การเก็บภาษีอากรไดเต็มเม็ดเต็มหนวย

5. นักปรัชญาคนใดไดรับยกยองเปน “บิดาแหงวิชาเศรษฐศาสตร”
   ก. อดัม สมิธ                                ข. อริสโตเติล
   ค. โสเครติส                                 ง. คารล มารกซ
6. วิชาเศรษฐศาสตรชวยใหรูและเขาใจถึงสถานการณทางเศรษฐกิจในปจจุบันคือขอใด
   ก. ใชสินคาไทย                             ข. รูสาเหตุที่น้ํามันแพง
   ค. ประกอบอาชีพที่ตนถนัด                     ง. ซื้ออาหารรานปลอดฝุน




                   ์ m
7. เศรษฐศาสตรเปนศาสตรในสาขาใด



                  ต o
   ก. สังคมศาสตร                              ข. มนุษยศาสตร



                 ซ .c
   ค. วิทยาศาสตร                              ง. วิทยาศาสตรประยุกต



                ไ k
              ็บ o
8. ขอใดไมใชเศรษฐศาสตรจุลภาค



            เว nn
   ก. การบริโภคของบุคคล                        ข. การบริโภคของครัวเรือน



           น a
   ค. การผลิตของหนวยธุรกิจ                    ง. การออมและการลงทุน



         ่บ ob
        ร o
9. แนวคิดแบบเสรีนิยม หรือการสงเสริมระบบเศรษฐกิจแบบเสรี เปนแนวคิดของใคร



       พ r
   ก. อดัม สมิธ                             ข. โสเครติส


      แ .k
   ค. อริสโตเติล                            ง. คารล มารกซ


     ย w
   เผ w
10. ประโยชนสูงสุดที่ไดจากการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร คือขอใด
    ก. เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน             ข. สามารถทําเงินไดเปนจํานวนมาก



      w
    ค. รูเทาทันกลโกงในรูปแบบตาง ๆ           ง. ชวยใหจัดสรรทรัพยากร ไดเหมาะสม
                                                     และมีประสิทธิภาพ
กรอบที่ 1


                                                   ความเปนมาของวิชาเศรษฐศาสตร



                 ์ m
                ต o
                 ในคริสศตวรรษที่ 18 มีนัก



               ซ .c
 เศรษฐศาสตร            ชาวอังกฤษ ชื่อ อดัม สมิธ


              ไ k
 (Adan Smith)           ซึ่งเปนบุคคลแรกที่


            ็บ o
 วางรากฐาน



          เว nn
                    ของวิชาเศรษฐศาสตร ไดเขียนตํารา



         น a
 เศรษฐศาสตร เลมแรกของโลกในป ค.ศ. 1776



       ่บ ob
 ชื่อ “The wealth of Nation” ( ความมั่งคั่งแหงชาติ)


      ร o
 โดยเสนอความคิดวา รัฐบาลที่เขามาบริหารประเทศ


     พ r
 ควรเขาแทรกแซงการผลิต และการคาใหนอยที่สุด


    แ .k
 โดยยินยอมใหเปนภาระหนาที่ของเอกชน ทั้งนี้เปน


   ย w
 เผ w
 การสะทอนถึงแนวคิดแบบเสรีนิยม หรือการสงเสริม
 ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี (Laissez Faire)

                                             จากหนังสือของอดัม สมิธ ดังกลาว


    w
                                             ถือวาเปนตําราทางเศรษฐศาสตร เลมแรก
                                             ของโลกและอดัม สมิธ ไดรับยกยองเปน
                                             “บิดาแหงวิชาเศรษฐศาสตร”




           คําถาม
บิดาแหงเศรษฐศาสตร คือ ใคร
              ?
กรอบที่ 2


        คําตอบจากกรอบที่ 1                     อดัม สมิธ



                  ์ m
                 ต o
                ซ .c
               ไ k    ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร
             ็บ o
           เว nn
          น a
        ่บ ob
       ร o
               วิชาเศรษฐศาสตร (Economics) คือ วิชาที่วาดวย


      พ r
     แ .k
    ย w
                     การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด
              เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยที่มีไมจํากัด


  เผ w
                โดยมุงใหเกิดประโยชนและประสิทธิภาพสูงสุด



     w                           เศรษฐศาสตรเปนศาสตรแขนงหนึ่ง
                                      ในสาขาสังคมศาสตร



           คําถาม
วิชาเศรษฐศาสตร หมายถึงอะไร ?
       …………………..
กรอบที่ 3


                                  วิชาที่วาดวยการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด
                                  เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยที่มีไมจํากัด


                 ์ m
คําตอบจากกรอบที่ 2


                ต o
                                     โดยมุงใหเกิดประโยชนและประสิทธิภาพสูงสุด



               ซ .c
              ไ k
            ็บ o
          เว nn
         น a
                                 ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร


       ่บ ob
      ร o
     พ r
                     วิชาเศรษฐศาสตรมีความสําคัญ ดังนี้


    แ .k
                           1. เปนเครื่องมือใชแกปญหาเศรษฐกิจของประเทศ ดวยมนุษย


   ย w
 เผ w
                              ประสบปญหาความขาดแคลนในทรัพยากรประเภทตาง ๆ
                              เพราะประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ไมสมดุลกับทรัพยากร
                              ที่มีอยูจํากัด ตองแกงแยงแขงขันกันสูง คนรวยมีโอกาส



    w
                              บริโภคมากกวาคนจน ทําใหเกิดปญหาความขัดแยงในสังคม
                              จึงตองนําวิชาเศรษฐศาสตรมาเปนเครื่องมือจัดสรร
                              ทรัพยากรให กระจายสูประชาชนทุกชนชั้นอยางทั่วถึง




              คําถาม
  ปญหาความขาดแคลนทรัพยากร
       เกิดขึ้นไดอยางไร ?
กรอบที่ 4


                                   ประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วไมสมดุลกับ
คําตอบจากกรอบที่ 3

                  ์ m
                                           ทรัพยากรที่มีอยูจํากัด



                 ต o
                ซ .c
               ไ k
             ็บ o
           เว nn
          น a
ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตรมีอีก ดังนี้


        ่บ ob
       ร o
      พ r
   2. นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน ดังเชน


     แ .k
           - การเลือกซื้อสินคา โดยการพิจารณาตัดสินใจ ไดแก


    ย w
  เผ w
      ราคาสินคา คุณภาพ ความพึงพอใจ จํานวนเงินที่มีอยู
         - การควบคุมคาใชจายในครอบครัว เพื่อใหครอบครัว
   สามารถตรวจสอบการใชจายเงินประจําวันได เชน ทําบัญชี



     w
   รายรับและรายจาย รูจักใชจายและเก็บออมทําใหสามารถ
   บริหารทรัพยสินของตนไดอยางมีประสิทธิภาพ




              คําถาม
 เรานําความรูดานเศรษฐศาสตรไป
    ใชชีวิตประจําวันอยางไร ?
กรอบที่ 5


                                      นําความรูไปใชในการเลือกซื้อสินคา
                                      และการควบคุมคาใชจายในครอบครัว


                      ์ m
 คําตอบจากกรอบที่ 4


                     ต o
                    ซ .c
                   ไ k
                 ็บ o
               เว nn
                    ขอบขายของวิชาเศรษฐศาสตร


              น a
            ่บ ob
        การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร จําแนกตามเนื้อหาได 2 สาขา ดังนี้


           ร o
          พ r
         แ .k
        ย w
    1. เศรษฐศาสตรจุลภาค                            2. เศรษฐศาสตรมหภาค



      เผ w
 เนนศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมทาง              เนนศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ



         w
เศรษฐกิจ ระดับยอย เชน ระดับ              โดยรวม หรือระดับประเทศ เชน การวางงาน
ผูบริโภค ระดับครอบครัว หรือ               ของคนทั้งประเทศการจัดทํางบประมาณ
การผลิตภาคเอกชน                            แผนดินประจําป ปญหาเงินเฟอ รายได
                                           ประชาชาติ การออมและการลงทุน เปนตน




                คําถาม
   การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรมีกี่สาขา
              อะไรบาง?
กรอบที่ 6


                                 มี 2 สาขา คือ เศรษฐศาสตรจุลภาค
คําตอบจากกรอบที่ 5                                และเศรษฐศาสตรมห


                   ์ m
                  ต o
                                 ภาค



                 ซ .c
                ไ k
              ็บ o
            เว nn
           น a
             เปาหมายของวิชาเศรษฐศาสตร


         ่บ ob
        ร o
การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรมีเปาหมายหรือวัตถุประสงค ดังนี้

       พ r
      แ .k
1. เพื่อใหมีความรู ความเขาใจถึงสถานการณเศรษฐกิจในปจจุบัน


     ย w
   เชน เขาใจสาเหตุของน้ํามันแพง ดอกเบี้ยเงินฝากต่ํา และเหตุการณ


   เผ w
  ผันผวนทางเศรษฐกิจอื่น ซึ่งจะชวยใหเตรียมรับปญหาตาง ๆ ได
2. เพื่อนําความรูไปใชเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพที่ตนถนัด เชน


      w
  การทํารานอาหาร ตองพิจารณาตนทุน วัตถุดิบ รสนิยมผูบริโภค
3. เพื่อใหเขาใจถึงแนวนโยบาย และการบริหารงานของรัฐบาล เชน
  การเสียภาษีอากร การประหยัดพลังงาน ไฟฟา และน้ํามัน เปนตน



             คําถาม
    การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรมี
        เปาหมายอยางไร ?
กรอบที่ 7


                                1. เพื่อใหมีความรู ความเขาใจถึงสถานการณเศรษฐกิจในปจจุบัน



                  ์ m
คําตอบจากกรอบที่ 6              2. เพื่อนําความรูไปใชเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพ



                 ต o
                                3. เพื่อใหเขาใจถึงแนวนโยบาย และการบริหารงานของรัฐบาล



                ซ .c
               ไ k
             ็บ o
           เว nn            สรุปสาระการเรียนรู

          น a
        ่บ ob
       ร o
      พ r
     แ .k
         อดัม สมิธ ไดรับยกยองวาเปน “บิดาแหงวิชาเศรษฐศาสตร”



    ย w
         วิชาเศรษฐศาสตรเปนวิชาทีวาดวยการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู
                                     ่



  เผ w
อยางจํากัดเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยที่มีไมจํากัด
         วิชาเศรษฐศาสตรมีความสําคัญ ดังนี้
               1. เปนเครื่องมือใชแกปญหาเศรษฐกิจของประเทศ


     w
               2. นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน
       การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร จําแนกตามเนื้อหาได 2 สาขา คือ
เศรษฐศาสตรจุลภาค และเศรษฐศาสตรมหภาค
         เปาหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร คือ ใหมีความรู
ความเขาใจถึงสถานการณเศรษฐกิจในปจจุบัน นําความรูไปใชเปน
พื้นฐานในการประกอบอาชีพ และเขาใจถึงแนวนโยบาย และ
การบริหารงานของรัฐบาล
วิชาสังคมศึกษา ศาสนา                                                 ประกอบแผน
                                      ทดสอบหลังเรียน
และวัฒนธรรม รหัส ส31101                                            การจัดการเรียนรูที่ 1
                                เรือง หลักเศรษฐศาสตร
                                   ่
                                                                        ชวงชั้นที่ 3
    สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร            เบื้องตน (ตอนที่ 1)          ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1




                    ์ m
คําชี้แจง      ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวทําเครื่องหมาย X ลงใน



                   ต o
ชอง           ตัวเลือกของกระดาษคําตอบนี้



                  ซ .c
                 ไ k
1. คําจํากัดความของ “วิชาเศรษฐศาสตร” ตรงกับขอใดมากที่สุด


               ็บ o
   ก. การเลือกสิ่งที่ดีที่สุดใหแกชีวิต       ข. การจัดสรรทรัพยากรสูมวลชน



             เว nn
   ค. การสรางความเปนธรรมในสังคม              ง. การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ



            น a
          ่บ ob
2. นักปรัชญาคนใดไดรับยกยองเปน “บิดาแหงวิชาเศรษฐศาสตร”


         ร o
   ก. อดัม สมิธ                                ข. อริสโตเติล


        พ r
   ค. โสเครติส                                 ง. คารล มารกซ


       แ .k
      ย w
    เผ w
3. เศรษฐศาสตรเปนวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษยในดานใด
   ก. การบริโภค                              ข. การผลิต
   ค. การดําเนินชีวิตประจําวัน               ง. การผลิตและการบริโภค



       w
4. เศรษฐศาสตรเปนศาสตรในสาขาใด
   ก. สังคมศาสตร
   ค. วิทยาศาสตร
                                                 ข. มนุษยศาสตร
                                                 ง. วิทยาศาสตรประยุกต

5. เพราะเหตุใด วิชาเศรษฐศาสตรจึงมีความสําคัญสําหรับคนไทยในปจจุบัน
   ก. มีแรงงานตางดาวเขามามาก                 ข. การเพิ่มของจํานวนประชากร
   ค. สินคาไทยตองแขงขันในระดับโลก            ง. ทรัพยากรมีนอยกวาจํานวนประชากร
6. เปาหมายสูงสุดของการนําวิชาเศรษฐศาสตรมาพัฒนาประเทศ คือขอใด
   ก. ความมั่นคงของรัฐบาล                    ข. ความมั่นคงของสถาบันการเงิน
   ค. การอยูดีกินดีของประชาชน               ง. การเก็บภาษีอากรไดเต็มเม็ดเต็มหนวย




                   ์ m
7. วิชาเศรษฐศาสตรชวยใหรูและเขาใจถึงสถานการณทางเศรษฐกิจในปจจุบันคือขอใด
                   



                  ต o
   ก. ใชสินคาไทย                            ข. รูสาเหตุที่น้ํามันแพง



                 ซ .c
   ค. ประกอบอาชีพที่ตนถนัด                    ง. ซื้ออาหารรานปลอดฝุน



                ไ k
              ็บ o
8. แนวคิดแบบเสรีนิยม หรือการสงเสริมระบบเศรษฐกิจแบบเสรี เปนแนวคิดของใคร



            เว nn
   ก. อดัม สมิธ                             ข. โสเครติส



           น a
   ค. อริสโตเติล                            ง. คารล มารกซ



         ่บ ob
        ร o
9. ขอใดไมใชเศรษฐศาสตรจุลภาค



       พ r
   ก. การบริโภคของบุคคล                       ข. การบริโภคของครัวเรือน


      แ .k
   ค. การผลิตของหนวยธุรกิจ                   ง. การออมและการลงทุน


     ย w
   เผ w
10. ประโยชนสูงสุดที่ไดจากการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร คือขอใด
    ก. เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน             ข. สามารถทําเงินไดเปนจํานวนมาก



      w
    ค. รูเทาทันกลโกงในรูปแบบตาง ๆ           ง. ชวยใหจัดสรรทรัพยากร ไดเหมาะสม
                                                     และมีประสิทธิภาพ
เฉลยแบบทดสอบ
      เรื่อง หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน (ตอนที่ 1)



                ์ m
ขอ       กอนเรียน         ขอ        หลังเรียน
 1            ข
               ต o
              ซ .c
                             1             ข
 2
             ไ k
              ง

           ็บ o
                             2             ก


         เว nn
 3            ง              3             ง


        น a
 4            ค              4             ก
 5
      ่บ ob
     ร o
              ก              5             ง


    พ r
 6            ข              6             ค
 7
   แ .k
  ย w
              ก              7             ข


เผ w
 8            ง              8             ก
 9            ก              9             ง
10
   w          ง             10             ง

More Related Content

What's hot

สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNan NaJa
 
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
อช31003
อช31003อช31003
อช31003patara4
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้นเศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้นpeter dontoom
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงJirathorn Buenglee
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 

What's hot (20)

สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรอบรู้วิชาชีพครู 100 ข้อ(สอบครูดอทคอมติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคมศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
อช31003
อช31003อช31003
อช31003
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้นเศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to P73240631522

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 

Similar to P73240631522 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 

P73240631522

  • 1. ์ m ต o กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซ .c ไ k ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร ็บ o เรื่อง หลักเศรษฐศาสตรเบืองตน ( ตอนที่ 1) เว nn ้ น a เลม 1 ่บ ob ร o พ r แ .k ย w เผ w w จัดทําโดย นางสาวนวลพรรณ มูลศาสตร โรงเรียนหนองโตง “สุรวิทยาคม” สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร เขต 1
  • 2. คํานํา บทเรียนสําเร็จรูป เลมที่ 1 เรื่อง หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน (ตอนที่ 1) ผูสอนไดสรางและ พัฒ นาขึ้น เพื่อ ใหเ ปน สื่ อประกอบการเรี ยนการสอน สาระการเรีย นรูสั งคมศึก ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เพื่อพัฒนาผูเรียนไดมีคุณภาพตามหลักสูตร การศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยมีสาระการเรียนรูครบถวน จัดกิจกรรมการเรียน ์ m การสอนอยางเปนระบบ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง สอดคลองกับกระบวนการเรียนรูที่เนน ต o ผูเรี ยนเปน สําคั ญ ตรงตามแนวทางของการปฏิ รูป การศึก ษา ซึ่ งสาระที่ 3 เศรษฐศาสตร นี้ ซ .c ประกอบดวยบทเรียนสําเร็จรูป 7 เรื่อง ๆ ละ 1 เลม ดังนี้ ไ k 1. หลักเศรษฐศาสตรเบืองตน (ตอนที่ 1) ้ ็บ o 2. หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน (ตอนที่ 2) เว nn 3. เศรษฐศาสตรกับชีวิตประจําวัน : การผลิต น a 4. ระบบการแลกเปลี่ยน ่บ ob 5. ระบบเศรษฐกิจ ร o 6. สหกรณ พ r 7. สถาบันการเงิน แ .k ย w เผ w ผูสอนขอขอบคุณทุกทานที่ไดกรุณาใหคําปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือ ใหการจัดทําบทเรียน สําเร็จรูปชุดนี้สําเร็จเปนรูปเลมที่สมบูรณ และหวังเปนอยางยิ่งวาบทเรียนสําเร็จรูปทั้งชุดนี้จะเปน ประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนของครู นักเรียนและผูที่สนใจไดเปนอยางดี w นวลพรรณ มูลศาสตร
  • 3. คําแนะนําสําหรับ “ครู” เมื่อครูไดนําบทเรียนสําเร็จรูปนี้ไปใช ควรปฏิบัติดังนี้ ์ m ต o 1. ครูศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปและวิธีการใชใหเขาใจ ซ .c 2. เตรียมและตรวจสอบบทเรียนสําเร็จรูป ไ k ใหเพียงพอและพรอมที่จะใชไดทันที ็บ o เว nn 3. เตรียมกระดาษคําตอบของบทเรียนสําเร็จรูป น a ใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียน ่บ ob 4. ครูชี้แจงวิธีการศึกษาบทเรียนสําเร็จรูป ร o ใหนักเรียนเขาใจ และพรอมที่จะศึกษา พ r 5. เมื่อแจกบทเรียนสําเร็จรูปใหนักเรียนแลว แ .k ย w ครูตองเปนที่ปรึกษาใหกับนักเรียนระหวาง เผ w การทํากิจกรรม รวมทั้งบันทึกพฤติกรรม การทํางานกลุมลงแบบประเมินการจัดกิจกรรม กลุม w6. ระหวางการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน จนถึงการตรวจกระดาษคําตอบครูสังเกต พฤติกรรมของนักเรียนเปนรายคน และบันทึก พฤติกรรมลงในแบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค
  • 4. คําแนะนําสําหรับนักเรียน ์ m การศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปเลมนี้ ต o ใหนกเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ ั ซ .c ไ k ็บ o เว nn 1. อานผลการเรียนรูที่คาดหวัง จุดประสงคการเรียน 2. ทําแบบทดสอบกอนเรียน 10 ขอ ลงในกระดาษคําตอบที่เตรียมไวให น a 3. ใหศึกษาทําความเขาใจเนื้อหาไปทีละกรอบ อยาศึกษาขามกรอบ เพราะบทเรียน ่บ ob ร o จะไมตอเนื่องกัน พ r 4. เมื่อพบขอคําถามใหทุกคนในกลุมชวยกันคิดหาคําตอบที่ถูกตอง แลวเขียนคําตอบ แ .k ลงในกระดาษคําตอบที่เตรียมไวให ย w 5. การตอบคําถามไมควรดูเฉลย เพราะเปนการไมซื่อสัตย ตอตนเอง ถาตอบผิด เผ w ควรยอนกลับไปศึกษากรอบเดิมอีกครั้ง และแกไขใหถูกตอง 6. เมื่อศึกษาเนื้อหาและทํากิจกรรมครบแลวใหทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจ ในบทเรียนทั้งหมดดวยความตั้งใจและพยายามจนสุดความสามารถ w 7. การประเมินผลการเรียน นักเรียนตองไดคะแนนรอยละ 80 ขึ้นไป คือจะตองได 8 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน หากต่ํากวานี้ตองทบทวนใหม และทํากิจกรรม ตามขั้นตอนอีกครั้งจนผานบทเรียนนี้ได อานคําแนะนําเขาใจแลว เปดหนาตอไป ลงมือทําไดเลยนะจะ
  • 5. แผนผังลําดับขั้นตอนการใชบทเรียนสําเร็จรูป ์ m ต o อานคําแนะนําสําหรับ ซ .c นักเรียน ไ k ็บ o เว nn น a ทําแบบทดสอบ ่บ ob กอนเรียน ร o พ r ศึกษาเนื้อหาและปฏิบัติ แ .k กิจกรรมทุกกรอบ ย w เผ w ทําแบบทดสอบหลังเรียน ยอนกลับไป w ไมผานเกณฑ ผานเกณฑ ศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปเลมตอไป
  • 6. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง บอกความหมาย ความสําคัญ ขอบขาย เปาหมาย เศรษฐศาสตรเบื้องตน นําเสนอความหมาย ความสําคัญ ขอบขาย เปาหมายของเศรษฐศาสตรเบื้องตน มีความซื่อสัตย และรับผิดชอบในการทํางาน ์ m ต o ซ .c ไ k จุดประสงคการเรียนรู ็บ o เว nn 1. บอกความหมาย ความสําคัญ ขอบขาย เปาหมาย ของเศรษฐศาสตรเบื้องตนได น a 2. นําเสนอความหมาย ความสําคัญ ขอบขาย เปาหมาย ของเศรษฐศาสตรเบื้องตนได ่บ ob 3. มีความซือสัตย และรับผิดชอบในการทํางาน ่ ร o พ r แ .k ย w เผ w สาระการเรียนรู w 1. 2. 3. 4. ความเปนมาของวิชาเศรษฐศาสตร ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร ขอบขายของวิชาเศรษฐศาสตร 5. เปาหมายของวิชาเศรษฐศาสตร
  • 7. วิชาสังคมศึกษา ศาสนา ประกอบแผน ทดสอบกอนเรียน และวัฒนธรรม รหัส ส31101 การจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง หลักเศรษฐศาสตร ชวงชั้นที่ 3 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร เบื้องตน (ตอนที่ 1) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวทําเครื่องหมาย X ลงใน ์ m ชอง ตัวเลือกของกระดาษคําตอบนี้ ต o ซ .c 1. ความหมายของ “วิชาเศรษฐศาสตร” ตรงกับขอใดมากที่สุด ไ k ก. การเลือกสิ่งที่ดีที่สุดใหแกชีวิต ข. การจัดสรรทรัพยากรสูมวลชน ็บ o ค. การสรางความเปนธรรมในสังคม ง. การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เว nn น a 2. เศรษฐศาสตรเปนวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษยในดานใด ่บ ob ก. การบริโภค ข. การผลิต ร o ค. การดําเนินชีวิตประจําวัน ง. การผลิตและการบริโภค พ r แ .k 3. เพราะเหตุใด วิชาเศรษฐศาสตรจึงมีความสําคัญสําหรับคนไทยในปจจุบัน ย w เผ w ก. มีแรงงานตางดาวเขามามาก ข. การเพิ่มของจํานวนประชากร ค. สินคาไทยตองแขงขันในระดับโลก ง. ทรัพยากรมีนอยกวาจํานวนประชากร w 4. เปาหมายสูงสุดของการนําวิชาเศรษฐศาสตรมาพัฒนาประเทศ คือขอใด ก. ความมั่นคงของรัฐบาล ข. ความมั่นคงของสถาบันการเงิน ค. การอยูดีกินดีของประชาชน ง. การเก็บภาษีอากรไดเต็มเม็ดเต็มหนวย 5. นักปรัชญาคนใดไดรับยกยองเปน “บิดาแหงวิชาเศรษฐศาสตร” ก. อดัม สมิธ ข. อริสโตเติล ค. โสเครติส ง. คารล มารกซ
  • 8. 6. วิชาเศรษฐศาสตรชวยใหรูและเขาใจถึงสถานการณทางเศรษฐกิจในปจจุบันคือขอใด ก. ใชสินคาไทย ข. รูสาเหตุที่น้ํามันแพง ค. ประกอบอาชีพที่ตนถนัด ง. ซื้ออาหารรานปลอดฝุน ์ m 7. เศรษฐศาสตรเปนศาสตรในสาขาใด ต o ก. สังคมศาสตร ข. มนุษยศาสตร ซ .c ค. วิทยาศาสตร ง. วิทยาศาสตรประยุกต ไ k ็บ o 8. ขอใดไมใชเศรษฐศาสตรจุลภาค เว nn ก. การบริโภคของบุคคล ข. การบริโภคของครัวเรือน น a ค. การผลิตของหนวยธุรกิจ ง. การออมและการลงทุน ่บ ob ร o 9. แนวคิดแบบเสรีนิยม หรือการสงเสริมระบบเศรษฐกิจแบบเสรี เปนแนวคิดของใคร พ r ก. อดัม สมิธ ข. โสเครติส แ .k ค. อริสโตเติล ง. คารล มารกซ ย w เผ w 10. ประโยชนสูงสุดที่ไดจากการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร คือขอใด ก. เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ข. สามารถทําเงินไดเปนจํานวนมาก w ค. รูเทาทันกลโกงในรูปแบบตาง ๆ ง. ชวยใหจัดสรรทรัพยากร ไดเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
  • 9. กรอบที่ 1 ความเปนมาของวิชาเศรษฐศาสตร ์ m ต o ในคริสศตวรรษที่ 18 มีนัก ซ .c เศรษฐศาสตร ชาวอังกฤษ ชื่อ อดัม สมิธ ไ k (Adan Smith) ซึ่งเปนบุคคลแรกที่ ็บ o วางรากฐาน เว nn ของวิชาเศรษฐศาสตร ไดเขียนตํารา น a เศรษฐศาสตร เลมแรกของโลกในป ค.ศ. 1776 ่บ ob ชื่อ “The wealth of Nation” ( ความมั่งคั่งแหงชาติ) ร o โดยเสนอความคิดวา รัฐบาลที่เขามาบริหารประเทศ พ r ควรเขาแทรกแซงการผลิต และการคาใหนอยที่สุด แ .k โดยยินยอมใหเปนภาระหนาที่ของเอกชน ทั้งนี้เปน ย w เผ w การสะทอนถึงแนวคิดแบบเสรีนิยม หรือการสงเสริม ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี (Laissez Faire) จากหนังสือของอดัม สมิธ ดังกลาว w ถือวาเปนตําราทางเศรษฐศาสตร เลมแรก ของโลกและอดัม สมิธ ไดรับยกยองเปน “บิดาแหงวิชาเศรษฐศาสตร” คําถาม บิดาแหงเศรษฐศาสตร คือ ใคร ?
  • 10. กรอบที่ 2 คําตอบจากกรอบที่ 1 อดัม สมิธ ์ m ต o ซ .c ไ k ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร ็บ o เว nn น a ่บ ob ร o วิชาเศรษฐศาสตร (Economics) คือ วิชาที่วาดวย พ r แ .k ย w การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยที่มีไมจํากัด เผ w โดยมุงใหเกิดประโยชนและประสิทธิภาพสูงสุด w เศรษฐศาสตรเปนศาสตรแขนงหนึ่ง ในสาขาสังคมศาสตร คําถาม วิชาเศรษฐศาสตร หมายถึงอะไร ? …………………..
  • 11. กรอบที่ 3 วิชาที่วาดวยการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยที่มีไมจํากัด ์ m คําตอบจากกรอบที่ 2 ต o โดยมุงใหเกิดประโยชนและประสิทธิภาพสูงสุด ซ .c ไ k ็บ o เว nn น a ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร ่บ ob ร o พ r วิชาเศรษฐศาสตรมีความสําคัญ ดังนี้ แ .k 1. เปนเครื่องมือใชแกปญหาเศรษฐกิจของประเทศ ดวยมนุษย ย w เผ w ประสบปญหาความขาดแคลนในทรัพยากรประเภทตาง ๆ เพราะประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ไมสมดุลกับทรัพยากร ที่มีอยูจํากัด ตองแกงแยงแขงขันกันสูง คนรวยมีโอกาส w บริโภคมากกวาคนจน ทําใหเกิดปญหาความขัดแยงในสังคม จึงตองนําวิชาเศรษฐศาสตรมาเปนเครื่องมือจัดสรร ทรัพยากรให กระจายสูประชาชนทุกชนชั้นอยางทั่วถึง คําถาม ปญหาความขาดแคลนทรัพยากร เกิดขึ้นไดอยางไร ?
  • 12. กรอบที่ 4 ประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วไมสมดุลกับ คําตอบจากกรอบที่ 3 ์ m ทรัพยากรที่มีอยูจํากัด ต o ซ .c ไ k ็บ o เว nn น a ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตรมีอีก ดังนี้ ่บ ob ร o พ r 2. นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน ดังเชน แ .k - การเลือกซื้อสินคา โดยการพิจารณาตัดสินใจ ไดแก ย w เผ w ราคาสินคา คุณภาพ ความพึงพอใจ จํานวนเงินที่มีอยู - การควบคุมคาใชจายในครอบครัว เพื่อใหครอบครัว สามารถตรวจสอบการใชจายเงินประจําวันได เชน ทําบัญชี w รายรับและรายจาย รูจักใชจายและเก็บออมทําใหสามารถ บริหารทรัพยสินของตนไดอยางมีประสิทธิภาพ คําถาม เรานําความรูดานเศรษฐศาสตรไป ใชชีวิตประจําวันอยางไร ?
  • 13. กรอบที่ 5 นําความรูไปใชในการเลือกซื้อสินคา และการควบคุมคาใชจายในครอบครัว ์ m คําตอบจากกรอบที่ 4 ต o ซ .c ไ k ็บ o เว nn ขอบขายของวิชาเศรษฐศาสตร น a ่บ ob การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร จําแนกตามเนื้อหาได 2 สาขา ดังนี้ ร o พ r แ .k ย w 1. เศรษฐศาสตรจุลภาค 2. เศรษฐศาสตรมหภาค เผ w เนนศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมทาง เนนศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ w เศรษฐกิจ ระดับยอย เชน ระดับ โดยรวม หรือระดับประเทศ เชน การวางงาน ผูบริโภค ระดับครอบครัว หรือ ของคนทั้งประเทศการจัดทํางบประมาณ การผลิตภาคเอกชน แผนดินประจําป ปญหาเงินเฟอ รายได ประชาชาติ การออมและการลงทุน เปนตน คําถาม การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรมีกี่สาขา อะไรบาง?
  • 14. กรอบที่ 6 มี 2 สาขา คือ เศรษฐศาสตรจุลภาค คําตอบจากกรอบที่ 5 และเศรษฐศาสตรมห ์ m ต o ภาค ซ .c ไ k ็บ o เว nn น a เปาหมายของวิชาเศรษฐศาสตร ่บ ob ร o การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรมีเปาหมายหรือวัตถุประสงค ดังนี้ พ r แ .k 1. เพื่อใหมีความรู ความเขาใจถึงสถานการณเศรษฐกิจในปจจุบัน ย w เชน เขาใจสาเหตุของน้ํามันแพง ดอกเบี้ยเงินฝากต่ํา และเหตุการณ เผ w ผันผวนทางเศรษฐกิจอื่น ซึ่งจะชวยใหเตรียมรับปญหาตาง ๆ ได 2. เพื่อนําความรูไปใชเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพที่ตนถนัด เชน w การทํารานอาหาร ตองพิจารณาตนทุน วัตถุดิบ รสนิยมผูบริโภค 3. เพื่อใหเขาใจถึงแนวนโยบาย และการบริหารงานของรัฐบาล เชน การเสียภาษีอากร การประหยัดพลังงาน ไฟฟา และน้ํามัน เปนตน คําถาม การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรมี เปาหมายอยางไร ?
  • 15. กรอบที่ 7 1. เพื่อใหมีความรู ความเขาใจถึงสถานการณเศรษฐกิจในปจจุบัน ์ m คําตอบจากกรอบที่ 6 2. เพื่อนําความรูไปใชเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพ ต o 3. เพื่อใหเขาใจถึงแนวนโยบาย และการบริหารงานของรัฐบาล ซ .c ไ k ็บ o เว nn สรุปสาระการเรียนรู น a ่บ ob ร o พ r แ .k อดัม สมิธ ไดรับยกยองวาเปน “บิดาแหงวิชาเศรษฐศาสตร” ย w วิชาเศรษฐศาสตรเปนวิชาทีวาดวยการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู ่ เผ w อยางจํากัดเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยที่มีไมจํากัด วิชาเศรษฐศาสตรมีความสําคัญ ดังนี้ 1. เปนเครื่องมือใชแกปญหาเศรษฐกิจของประเทศ w 2. นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร จําแนกตามเนื้อหาได 2 สาขา คือ เศรษฐศาสตรจุลภาค และเศรษฐศาสตรมหภาค เปาหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร คือ ใหมีความรู ความเขาใจถึงสถานการณเศรษฐกิจในปจจุบัน นําความรูไปใชเปน พื้นฐานในการประกอบอาชีพ และเขาใจถึงแนวนโยบาย และ การบริหารงานของรัฐบาล
  • 16. วิชาสังคมศึกษา ศาสนา ประกอบแผน ทดสอบหลังเรียน และวัฒนธรรม รหัส ส31101 การจัดการเรียนรูที่ 1 เรือง หลักเศรษฐศาสตร ่ ชวงชั้นที่ 3 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร เบื้องตน (ตอนที่ 1) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ์ m คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวทําเครื่องหมาย X ลงใน ต o ชอง ตัวเลือกของกระดาษคําตอบนี้ ซ .c ไ k 1. คําจํากัดความของ “วิชาเศรษฐศาสตร” ตรงกับขอใดมากที่สุด ็บ o ก. การเลือกสิ่งที่ดีที่สุดใหแกชีวิต ข. การจัดสรรทรัพยากรสูมวลชน เว nn ค. การสรางความเปนธรรมในสังคม ง. การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ น a ่บ ob 2. นักปรัชญาคนใดไดรับยกยองเปน “บิดาแหงวิชาเศรษฐศาสตร” ร o ก. อดัม สมิธ ข. อริสโตเติล พ r ค. โสเครติส ง. คารล มารกซ แ .k ย w เผ w 3. เศรษฐศาสตรเปนวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษยในดานใด ก. การบริโภค ข. การผลิต ค. การดําเนินชีวิตประจําวัน ง. การผลิตและการบริโภค w 4. เศรษฐศาสตรเปนศาสตรในสาขาใด ก. สังคมศาสตร ค. วิทยาศาสตร ข. มนุษยศาสตร ง. วิทยาศาสตรประยุกต 5. เพราะเหตุใด วิชาเศรษฐศาสตรจึงมีความสําคัญสําหรับคนไทยในปจจุบัน ก. มีแรงงานตางดาวเขามามาก ข. การเพิ่มของจํานวนประชากร ค. สินคาไทยตองแขงขันในระดับโลก ง. ทรัพยากรมีนอยกวาจํานวนประชากร
  • 17. 6. เปาหมายสูงสุดของการนําวิชาเศรษฐศาสตรมาพัฒนาประเทศ คือขอใด ก. ความมั่นคงของรัฐบาล ข. ความมั่นคงของสถาบันการเงิน ค. การอยูดีกินดีของประชาชน ง. การเก็บภาษีอากรไดเต็มเม็ดเต็มหนวย ์ m 7. วิชาเศรษฐศาสตรชวยใหรูและเขาใจถึงสถานการณทางเศรษฐกิจในปจจุบันคือขอใด  ต o ก. ใชสินคาไทย ข. รูสาเหตุที่น้ํามันแพง ซ .c ค. ประกอบอาชีพที่ตนถนัด ง. ซื้ออาหารรานปลอดฝุน ไ k ็บ o 8. แนวคิดแบบเสรีนิยม หรือการสงเสริมระบบเศรษฐกิจแบบเสรี เปนแนวคิดของใคร เว nn ก. อดัม สมิธ ข. โสเครติส น a ค. อริสโตเติล ง. คารล มารกซ ่บ ob ร o 9. ขอใดไมใชเศรษฐศาสตรจุลภาค พ r ก. การบริโภคของบุคคล ข. การบริโภคของครัวเรือน แ .k ค. การผลิตของหนวยธุรกิจ ง. การออมและการลงทุน ย w เผ w 10. ประโยชนสูงสุดที่ไดจากการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร คือขอใด ก. เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ข. สามารถทําเงินไดเปนจํานวนมาก w ค. รูเทาทันกลโกงในรูปแบบตาง ๆ ง. ชวยใหจัดสรรทรัพยากร ไดเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
  • 18. เฉลยแบบทดสอบ เรื่อง หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตน (ตอนที่ 1) ์ m ขอ กอนเรียน ขอ หลังเรียน 1 ข ต o ซ .c 1 ข 2 ไ k ง ็บ o 2 ก เว nn 3 ง 3 ง น a 4 ค 4 ก 5 ่บ ob ร o ก 5 ง พ r 6 ข 6 ค 7 แ .k ย w ก 7 ข เผ w 8 ง 8 ก 9 ก 9 ง 10 w ง 10 ง