SlideShare a Scribd company logo
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 1 ของทังหมด 8 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
รหัสเอกสาร WI-RM-001
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
วิธีการปฏิบัติงาน
เรือง แนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน
(นายสุรเดช ศรีอังกูร) (นายสุรเดช ศรีอังกูร)
เลขานุการ เลขานุการ
คณะกรรมการบริหารความเสียง คณะกรรมการบริหารความเสียง
ผู้อนุมัติ
(นางขนิษฐา ธรรมรักษา)
รองประธาน
คณะกรรมการบริหารความเสียง
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 2 ของทังหมด 8 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
รหัสเอกสาร WI-RM-001
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
ประวัติการแก้ไข/ทบทวนเอกสาร
ครังที วันทีแก้ไข/
ทบทวน
เลขหน้า รายละเอียดการแก้ไข/ทบทวน ผู้แก้ไข/
ทบทวน
1 1 ต.ค.57 4,5 แก้ไขข้อ5.2.1 และ 5.2.2 สุรเดช
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 3 ของทังหมด 8 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
รหัสเอกสาร WI-RM-001
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
1. วัตถุประสงค์
เพือเป็นแนวทางในการรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/อุบัติการณ์/ความเสียงของบุคคลากรโรงพยาบาลท่าฉางให้
เป็นแนวทางเดียวกัน
2. ขอบเขต
บุคลากรของโรงพยาบาลท่าฉาง
3. นิยามศัพท์
ใบ IR ( Incident report) หมายถึง แบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
4. หน้าทีความรับผิดชอบ
4.1 บุคลากรโรงพยาบาลท่าฉางทุกคนมีหน้าทีในการค้นหาและรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/อุบัติการณ์/ความ
เสียง
4.2 เลขานุการและคณะกรรมการความเสียง ทําหน้าทีรวบรวมใบ IR และควบคุมการรายงานให้เป็นไปตามวิธีการ
ปฏิบัติงาน
5. ขันตอนการปฏิบัติ
5.1 โรงพยาบาลท่าฉางกําหนดโปรแกรมความเสียง(Risk heptagon)เพือจัดหมวดหมู่ของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/
อุบัติการณ์/ความเสียง ทีเกิดขึนดังนี
โปรแกรมทางคลินิก (Clinical Risk)
5.1.1 ด้านคลินิกบริการ
5.1.2 ด้านระบบยา
5.1.3 ด้านสิทธิผู้ป่วยและจริยธรรม
5.1.4 ด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชือในโรงพยาบาล
5.1.5 ด้านงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 4 ของทังหมด 8 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
รหัสเอกสาร WI-RM-001
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
โปรแกรมทางกายภาพ(Non Clinical Risk)
5.1.6 ด้านโครงสร้างกายภาพและสิงแวดล้อม
5.1.7 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
5.1.8 ด้านเครืองมือและอุปกรณ์
5.1.9 ด้านข้อร้องเรียน
โดยมีรายละเอียดตามแบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง(FM-RM-001) และแบบรายงานความคลาด
เคลือนทางยา (Medication error)
5.2 โรงพยาบาลท่าฉางกําหนดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/อุบัติการณ์/ความเสียงทีรายงานมา
ดังนี
5.2.1ความเสียงทางคลินิก (Clinical Risk) แบ่งออกเป็น 9 ระดับ( A – I ) ดังนี
 ยังไม่เกิดความผิดพลาด แต่เสียงทีจะเกิดความผิดพลาดหรือเกิดความผิดพลาดแล้วแต่ยัง
ไม่ถึงตัวผู้รับบริการหรือทรัพย์สินไม่เสียหาย
A : ไม่มีความผิดพลาดเกิดขึน แต่มีเหตุการณ์ทีอาจทําให้เกิดปัญหาหรือความผิดพลาดได้
หรือเหตุการณ์เสียงทีทําให้ทรัพย์สินเสียหาย
B : มีความผิดพลาดเกิดขึน แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรหรือไม่เกิดความ
เสียหายต่อทรัพย์สินไปไม่ถึงผู้รับบริการ/บุคลากรหรือทรัพย์สิน
 เกิดความผิดพลาดและถึงตัวผู้รับบริการแล้วแต่ไม่ได้รับอันตรายหรือทรัพย์สินเสียหายมูลค่าไม่มาก
C : มีความผิดพลาดเกิดขึน แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากร ถึงแม้ว่าความ
ผิดพลาดนันจะไปถึงผู้รับริการ
D : มีความผิดพลาดเกิดขึน แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากร แต่ยังจําเป็นต้องมีการติดตาม
เฝ้าระวังผู้รับบริการ/บุคลากร
 เกิดความผิดพลาดและถึงตัวรับบริการแล้วต้องแก้ไขเพิมเติมหรือทรัพย์สินเสียหายปานกลาง
E : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรเพียงชัวคราว รวมถึงจําเป็นต้อง
ได้รับการรักษาหรือแก้ไขเพิมเติม
F : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรเพียงชัวคราวรวมถึงจําเป็นต้อง
ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลหรือยืดระยะเวลาในการรักษาตัวในโรงพยาบาลออกไป
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 5 ของทังหมด 8 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
รหัสเอกสาร WI-RM-001
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
 เกิดความผิดพลาดและถึงตัวผู้รับบริการแล้วทําให้เกิดการพิการถาวร เกือบเสียชีวิต เสียชีวิตหรืทรัพย์สิน
เสียหายมาก
G : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรทําให้พิการถาวร
H : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรจนส่งผลให้เกิดการช่วยชีวิต
I : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรซึงอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิต
5.2.2 ความเสียงทางกายภาพ( Non Clinical Risk ) แบ่งออกเป็น 4 ระดับ( 1 – 4 ) ดังนี
ระดับ 1 : มีโอกาสเกิดความเสียง/ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ
ระดับ 2 : เกิดความเสียงแต่ไม่มีความเสียหายเกิดขึน ไม่มีสูญเสียรายได้รายได้/ ค่าเสียหาย< 10,000
/ ข้อร้องเรียนเรืองเล็ก (ตกลงกันได้ในหน่วยงาน)
ระดับ 3 : เกิดความเสียง มีการเสียหาย/สูญหาย/สูญเสียรายได้แต่สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้หรือมี
เครืองมือทดแทนหรือสามารถรอได้ตามระบบปกติของโรงพยาบาล/ ค่าเสียหาย
10,000 - 50,000 / ข้อร้องเรียนเรืองใหญ่ (อาศัยทีมไกล่เกลียให้ช่วยเหลือ)
ระดับ 4: เกิดความเสียงระดับรุนแรง อาจก่อให้เกิดการฟ้องร้อง/สูญเสียภาพลักษณ์ต่อสาธารณ/ผิดวินัย
ข้าราชการ/มีการดําเนินการตามกระบวนการยุติธรรม/ มีการเสียหายรุนแรง/ค่าเสียหาย
> 50,000/ การฟ้องร้อง (ฟ้องร้องต่อองค์กรภายนอก)
5.3 เมือบุคลากรโรงพยาบาลท่าฉางพบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/อุบัติการณ์/ความเสียงหรือได้จากการค้นหา/รายงาน
ตามระเบียบปฏิบัติเรืองการบริการจัดการความเสียง (SP-RM-001) ให้มีการปฏิบัติดังนี
5.3.1 ให้บันทึกเหตุการณ์ทีเกิดขึนในแบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง(FM-RM-001) ในกรณีความเสียง
เป็นระบบยาให้บันทึกในแบบรายงานความคลาดเคลือนทางยา (Medication error)
5.3.2 การบันทึกให้บันทึกข้อมูลทีเกียวกับผู้ป่วย,เหตุการณ์ทีเกิดขึนและประเมินระดับความรุนแรง
5.3.3 จากนันให้นําส่งเลขานุการความเสียงเพือดําเนินการต่อไป ตามแผนผังการรายงานความเสียงดังนี
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 6 ของทังหมด 8 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
รหัสเอกสาร WI-RM-001
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
พบอุบัติการณ์/ความเสียง
ผู้พบอุบัติการณ์ประเมิน
ความรุนแรงของเหตุการณ์
ความรุนแรง
ระดับ A-D (1-2)
ความรุนแรงระดับ E,F(3) ความรุนแรง
ระดับ G-I (4), *Sentinel event
- กรณีเป็นอุบัติการณ์/ความ
เสียงของตนเองให้สรุปปัญหา/
การแก้ไข/การป้ องกันเก็บเป็น
Risk profile ในหน่วยงาน
-กรณีเป็นอุบัติการณ์/ความ
เสียงของหน่วยงานอืนให้หัวหน้า
เวรหรือหัวหน้าฝ่ายแจ้งให้
หน่วยงานนันรับทราบโดยวาจา
จากนันให้เขียนใบ IR ส่ง
หัวหน้าหน่วยงานภายใน 1วัน
หรือวันรุ่งขึนของวันทําการ
เพือส่งให้คณะกรรมการ
บริหารความเสียง
รายงานผู้อํานวยการหรือผู้
ทีได้รับมอบหมายทันที
รายงานหัวหน้างานและ
หัวหน้าฝ่ ายพร้อมเขียนใบ
IR ส่ง เลขานุการความ
เสียงภายใน 24 ชัวโมง
คณะกรรมการบริหารความเสียง
แจ้งเหตุการณ์ทีอาจนําไปสู่ความ
ไม่พึงพอใจหรือฟ้ องร้องให้ทีมไกล่
เกลียทราบ
รายงานหัวหน้าเวรทันทีและให้รายงานแพทย์เวร
ทันทีเพือร่วมกันพิจารณาว่านําไปสู่ความไม่พึง
พอใจหรือฟ้ องร้องหรือไม่
กรณีเป็นอุบัติการณ์/ความเสียงของหน่วย
งานอืนให้หัวหน้าเวรแจ้งให้หน่วยงานนันทราบ
โดยวาจา
รายงานหัวหน้างานและหัวหน้าฝ่ายรับทราบใน
วันรุ่งขึนของวันทําการ พร้อมทังเขียนใบ IRส่งให้
เลขานุการความเสียงรับทราบภายใน 72 ชัวโมง
เลขานุการความเสียงรายงานให้
ทีมบริหารความเสียงและ ผอ.
สรุปรายงานการบริหารความเสียง
เข้าสู่คณะกรรมการบริหาร
เลขาฯความเสียงลงทะเบียนรับใบ IR
และพิจารณาการส่งให้ทีมหรือ
หน่วยงานทีรับผิดชอบ
หน่วยงานหรือทีมรับผิดชอบระบุ
สาเหตุของปัญหา/วางแนวทาง
ป้ องกัน จากนันส่งให้คณะกรรมการ
ความเสียงพิจารณา
คณะกรรมการบริหารความเสียงวิเคราะห์
สาเหตุและมาตรการป้ องกันใบ IR เพือ
พิจารณาปิดประเด็นต่อไป
เลขาฯความเสียง
ลงทะเบียนรับใบ IR และ
พิจารณาการส่งให้ทีมหรือ
หน่วยงานทีรับผิดชอบ
ดําเนินการหา RCA
เพือหามาตรการ
ป้ องกันไม่ให้เกิดซํา
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 7 ของทังหมด 8 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
รหัสเอกสาร WI-RM-001
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
* หมายเหตุ ความเสียงระดับรุนแรง(Sentinel event) ทีต้องรายงานให้ผู้อํานวยการทราบทันทีมีดังนี
ความเสียงทางคลินิก(Clinical - Risk) ความเสียงด้านกายภาพ (Non - Clinical Risk)
1. เกิดโรคติดต่อร้ายแรง ทีต้องรายงาน และ
ควบคุมป้องกันโดยด่วน ได้แก่ SAR,
ไข้หวัดนก , H1N1
2. ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการ
รักษาพยาบาล ทําให้ผู้ป่วยเกือบเสียชีวิต หรือ
เสียชีวิต เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตขณะผ่าตัด / หลัง
ผ่าตัด ,แม่เสียชีวิตขณะคลอด /
หลังคลอด ,ให้เลือดผิดคน ,ให้ยาผิด
3. ผู้ป่วยหรือญาติหรือเจ้าหน้าทีโรงพยาบาล
รับประทานยาของโรงพยาบาลแล้วเกิด
อันตรายเกือบเสียชีวิต หรือเสียชีวิต
4. การส่งมอบเด็กผิดคน หรือเด็กถูกขโมยจาก
โรงพยาบาล
5. ผู้ป่วยพยายามฆ่าตัวตาย ทําร้ายตัวเอง หรือ
ทําร้ายผู้อืนขณะอยู่ในโรงพยาบาล
6. เกิดอุบัติเหตุหมู่หรือเจ็บป่วยหมู่
1. มีการทําร้ายผู้ป่วย / ญาติ หรือเจ้าหน้าทีใน
โรงพยาบาล
2. เกิดเพลิงไหม้,นําท่วมขันรุนแรงภายใน
โรงพยาบาล
3. เกิดแก๊ส,หม้อนึง ,ถังออกซิเจน ระเบิด
4. เกิดอุบัติการณ์ทีเสียงต่อการถูกฟ้องร้อง
5. เครืองมือสําคัญชํารุดหรือทํางานผิดปกติ
และระบบสํารองใช้งานไม่ได้ หรือ ไม่มี
ได้แก่ เครืองกระตุ้นหัวใจไฟฟ้า, ระบบสํารอง
ไฟฟ้าสํารอง , ระบบคอมพิวเตอร์เครือข่ายล่ม
6. บุคลากรได้รับอุบัติเหตุ อาการสาหัส หรือ
เสียชีวิต
7. รถโรงพยาบาลเกิดอุบัติเหตุ เสียหายมาก
ต้องซ่อม หรือมีผู้บาดเจ็บ หรือเกิดระหว่าง
นําส่งผู้ป่วย
8. มีการโจรกรรม ลักขโมยทรัพย์สินของ
โรงพยาบาล บุคลากร หรือผู้ป่วย / ญาติ
9. ผู้ป่วย / ญาติ ได้รับอุบัติเหตุภายในโรงพยาบาล
เกือบเสียชีวิตหรือเสียชีวิต เช่นถูกไฟฟ้าช๊อต
แล้วเสียชีวิต
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 8 ของทังหมด 8 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง
รหัสเอกสาร WI-RM-001
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
6. เอกสารอ้างอิง
6.1 ระบบบริหารความเสียงในโรงพยาบาล : นพ. อนุวัฒน์ศุภชุติกุล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
6.2 Patient Safety concept and practice :สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
6.3 คู่มือการบริหารความเสียง: โรงพยาบาลท่าฉาง จ. สุราษฏร์ธานี

More Related Content

What's hot

ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
Suradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
Suradet Sriangkoon
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
Suradet Sriangkoon
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
Aphisit Aunbusdumberdor
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Prachaya Sriswang
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
Suradet Sriangkoon
 
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
Suradet Sriangkoon
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
Dr.Suradet Chawadet
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
อลงกรณ์ อารามกูล
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
Sutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
 
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 

Viewers also liked

แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงแนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
Suradet Sriangkoon
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
tumetr1
 
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
Suradet Sriangkoon
 
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
Rungnapa Rungnapa
 
ก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Haก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Ha
Suradet Sriangkoon
 
แนวทางการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยง
แนวทางการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงแนวทางการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยง
แนวทางการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยง
Suradet Sriangkoon
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
SlideShare
 
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCAแบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
Suradet Sriangkoon
 
แบบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
แบบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานแบบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
แบบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
Danai Thongsin
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (13)

แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงแนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
 
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
 
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
 
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
คู่มือบริหารความเสี่ยง สวทช.
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
ก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Haก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Ha
 
แนวทางการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยง
แนวทางการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงแนวทางการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยง
แนวทางการรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยง
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCAแบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
 
PDSA
PDSAPDSA
PDSA
 
แบบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
แบบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานแบบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
แบบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 

More from Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
Suradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
Suradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
Suradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
Suradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
Suradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
Suradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
Suradet Sriangkoon
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
Suradet Sriangkoon
 
Grows model
Grows modelGrows model
Grows model
Suradet Sriangkoon
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
Suradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
Suradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
Suradet Sriangkoon
 

More from Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 
Grows model
Grows modelGrows model
Grows model
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
 

แนวทางการรายงานความเสี่ยง

  • 1. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 1 ของทังหมด 8 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง รหัสเอกสาร WI-RM-001 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - วิธีการปฏิบัติงาน เรือง แนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน (นายสุรเดช ศรีอังกูร) (นายสุรเดช ศรีอังกูร) เลขานุการ เลขานุการ คณะกรรมการบริหารความเสียง คณะกรรมการบริหารความเสียง ผู้อนุมัติ (นางขนิษฐา ธรรมรักษา) รองประธาน คณะกรรมการบริหารความเสียง
  • 2. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 2 ของทังหมด 8 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง รหัสเอกสาร WI-RM-001 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา ประวัติการแก้ไข/ทบทวนเอกสาร ครังที วันทีแก้ไข/ ทบทวน เลขหน้า รายละเอียดการแก้ไข/ทบทวน ผู้แก้ไข/ ทบทวน 1 1 ต.ค.57 4,5 แก้ไขข้อ5.2.1 และ 5.2.2 สุรเดช
  • 3. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 3 ของทังหมด 8 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง รหัสเอกสาร WI-RM-001 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา 1. วัตถุประสงค์ เพือเป็นแนวทางในการรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/อุบัติการณ์/ความเสียงของบุคคลากรโรงพยาบาลท่าฉางให้ เป็นแนวทางเดียวกัน 2. ขอบเขต บุคลากรของโรงพยาบาลท่าฉาง 3. นิยามศัพท์ ใบ IR ( Incident report) หมายถึง แบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง 4. หน้าทีความรับผิดชอบ 4.1 บุคลากรโรงพยาบาลท่าฉางทุกคนมีหน้าทีในการค้นหาและรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/อุบัติการณ์/ความ เสียง 4.2 เลขานุการและคณะกรรมการความเสียง ทําหน้าทีรวบรวมใบ IR และควบคุมการรายงานให้เป็นไปตามวิธีการ ปฏิบัติงาน 5. ขันตอนการปฏิบัติ 5.1 โรงพยาบาลท่าฉางกําหนดโปรแกรมความเสียง(Risk heptagon)เพือจัดหมวดหมู่ของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/ อุบัติการณ์/ความเสียง ทีเกิดขึนดังนี โปรแกรมทางคลินิก (Clinical Risk) 5.1.1 ด้านคลินิกบริการ 5.1.2 ด้านระบบยา 5.1.3 ด้านสิทธิผู้ป่วยและจริยธรรม 5.1.4 ด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชือในโรงพยาบาล 5.1.5 ด้านงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
  • 4. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 4 ของทังหมด 8 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง รหัสเอกสาร WI-RM-001 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา โปรแกรมทางกายภาพ(Non Clinical Risk) 5.1.6 ด้านโครงสร้างกายภาพและสิงแวดล้อม 5.1.7 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5.1.8 ด้านเครืองมือและอุปกรณ์ 5.1.9 ด้านข้อร้องเรียน โดยมีรายละเอียดตามแบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง(FM-RM-001) และแบบรายงานความคลาด เคลือนทางยา (Medication error) 5.2 โรงพยาบาลท่าฉางกําหนดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/อุบัติการณ์/ความเสียงทีรายงานมา ดังนี 5.2.1ความเสียงทางคลินิก (Clinical Risk) แบ่งออกเป็น 9 ระดับ( A – I ) ดังนี  ยังไม่เกิดความผิดพลาด แต่เสียงทีจะเกิดความผิดพลาดหรือเกิดความผิดพลาดแล้วแต่ยัง ไม่ถึงตัวผู้รับบริการหรือทรัพย์สินไม่เสียหาย A : ไม่มีความผิดพลาดเกิดขึน แต่มีเหตุการณ์ทีอาจทําให้เกิดปัญหาหรือความผิดพลาดได้ หรือเหตุการณ์เสียงทีทําให้ทรัพย์สินเสียหาย B : มีความผิดพลาดเกิดขึน แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรหรือไม่เกิดความ เสียหายต่อทรัพย์สินไปไม่ถึงผู้รับบริการ/บุคลากรหรือทรัพย์สิน  เกิดความผิดพลาดและถึงตัวผู้รับบริการแล้วแต่ไม่ได้รับอันตรายหรือทรัพย์สินเสียหายมูลค่าไม่มาก C : มีความผิดพลาดเกิดขึน แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากร ถึงแม้ว่าความ ผิดพลาดนันจะไปถึงผู้รับริการ D : มีความผิดพลาดเกิดขึน แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากร แต่ยังจําเป็นต้องมีการติดตาม เฝ้าระวังผู้รับบริการ/บุคลากร  เกิดความผิดพลาดและถึงตัวรับบริการแล้วต้องแก้ไขเพิมเติมหรือทรัพย์สินเสียหายปานกลาง E : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรเพียงชัวคราว รวมถึงจําเป็นต้อง ได้รับการรักษาหรือแก้ไขเพิมเติม F : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรเพียงชัวคราวรวมถึงจําเป็นต้อง ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลหรือยืดระยะเวลาในการรักษาตัวในโรงพยาบาลออกไป
  • 5. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 5 ของทังหมด 8 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง รหัสเอกสาร WI-RM-001 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา  เกิดความผิดพลาดและถึงตัวผู้รับบริการแล้วทําให้เกิดการพิการถาวร เกือบเสียชีวิต เสียชีวิตหรืทรัพย์สิน เสียหายมาก G : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรทําให้พิการถาวร H : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรจนส่งผลให้เกิดการช่วยชีวิต I : มีความผิดพลาดเกิดขึน และเป็นอันตรายต่อผู้รับบริการ/บุคลากรซึงอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิต 5.2.2 ความเสียงทางกายภาพ( Non Clinical Risk ) แบ่งออกเป็น 4 ระดับ( 1 – 4 ) ดังนี ระดับ 1 : มีโอกาสเกิดความเสียง/ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ระดับ 2 : เกิดความเสียงแต่ไม่มีความเสียหายเกิดขึน ไม่มีสูญเสียรายได้รายได้/ ค่าเสียหาย< 10,000 / ข้อร้องเรียนเรืองเล็ก (ตกลงกันได้ในหน่วยงาน) ระดับ 3 : เกิดความเสียง มีการเสียหาย/สูญหาย/สูญเสียรายได้แต่สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้หรือมี เครืองมือทดแทนหรือสามารถรอได้ตามระบบปกติของโรงพยาบาล/ ค่าเสียหาย 10,000 - 50,000 / ข้อร้องเรียนเรืองใหญ่ (อาศัยทีมไกล่เกลียให้ช่วยเหลือ) ระดับ 4: เกิดความเสียงระดับรุนแรง อาจก่อให้เกิดการฟ้องร้อง/สูญเสียภาพลักษณ์ต่อสาธารณ/ผิดวินัย ข้าราชการ/มีการดําเนินการตามกระบวนการยุติธรรม/ มีการเสียหายรุนแรง/ค่าเสียหาย > 50,000/ การฟ้องร้อง (ฟ้องร้องต่อองค์กรภายนอก) 5.3 เมือบุคลากรโรงพยาบาลท่าฉางพบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์/อุบัติการณ์/ความเสียงหรือได้จากการค้นหา/รายงาน ตามระเบียบปฏิบัติเรืองการบริการจัดการความเสียง (SP-RM-001) ให้มีการปฏิบัติดังนี 5.3.1 ให้บันทึกเหตุการณ์ทีเกิดขึนในแบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง(FM-RM-001) ในกรณีความเสียง เป็นระบบยาให้บันทึกในแบบรายงานความคลาดเคลือนทางยา (Medication error) 5.3.2 การบันทึกให้บันทึกข้อมูลทีเกียวกับผู้ป่วย,เหตุการณ์ทีเกิดขึนและประเมินระดับความรุนแรง 5.3.3 จากนันให้นําส่งเลขานุการความเสียงเพือดําเนินการต่อไป ตามแผนผังการรายงานความเสียงดังนี
  • 6. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 6 ของทังหมด 8 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง รหัสเอกสาร WI-RM-001 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา พบอุบัติการณ์/ความเสียง ผู้พบอุบัติการณ์ประเมิน ความรุนแรงของเหตุการณ์ ความรุนแรง ระดับ A-D (1-2) ความรุนแรงระดับ E,F(3) ความรุนแรง ระดับ G-I (4), *Sentinel event - กรณีเป็นอุบัติการณ์/ความ เสียงของตนเองให้สรุปปัญหา/ การแก้ไข/การป้ องกันเก็บเป็น Risk profile ในหน่วยงาน -กรณีเป็นอุบัติการณ์/ความ เสียงของหน่วยงานอืนให้หัวหน้า เวรหรือหัวหน้าฝ่ายแจ้งให้ หน่วยงานนันรับทราบโดยวาจา จากนันให้เขียนใบ IR ส่ง หัวหน้าหน่วยงานภายใน 1วัน หรือวันรุ่งขึนของวันทําการ เพือส่งให้คณะกรรมการ บริหารความเสียง รายงานผู้อํานวยการหรือผู้ ทีได้รับมอบหมายทันที รายงานหัวหน้างานและ หัวหน้าฝ่ ายพร้อมเขียนใบ IR ส่ง เลขานุการความ เสียงภายใน 24 ชัวโมง คณะกรรมการบริหารความเสียง แจ้งเหตุการณ์ทีอาจนําไปสู่ความ ไม่พึงพอใจหรือฟ้ องร้องให้ทีมไกล่ เกลียทราบ รายงานหัวหน้าเวรทันทีและให้รายงานแพทย์เวร ทันทีเพือร่วมกันพิจารณาว่านําไปสู่ความไม่พึง พอใจหรือฟ้ องร้องหรือไม่ กรณีเป็นอุบัติการณ์/ความเสียงของหน่วย งานอืนให้หัวหน้าเวรแจ้งให้หน่วยงานนันทราบ โดยวาจา รายงานหัวหน้างานและหัวหน้าฝ่ายรับทราบใน วันรุ่งขึนของวันทําการ พร้อมทังเขียนใบ IRส่งให้ เลขานุการความเสียงรับทราบภายใน 72 ชัวโมง เลขานุการความเสียงรายงานให้ ทีมบริหารความเสียงและ ผอ. สรุปรายงานการบริหารความเสียง เข้าสู่คณะกรรมการบริหาร เลขาฯความเสียงลงทะเบียนรับใบ IR และพิจารณาการส่งให้ทีมหรือ หน่วยงานทีรับผิดชอบ หน่วยงานหรือทีมรับผิดชอบระบุ สาเหตุของปัญหา/วางแนวทาง ป้ องกัน จากนันส่งให้คณะกรรมการ ความเสียงพิจารณา คณะกรรมการบริหารความเสียงวิเคราะห์ สาเหตุและมาตรการป้ องกันใบ IR เพือ พิจารณาปิดประเด็นต่อไป เลขาฯความเสียง ลงทะเบียนรับใบ IR และ พิจารณาการส่งให้ทีมหรือ หน่วยงานทีรับผิดชอบ ดําเนินการหา RCA เพือหามาตรการ ป้ องกันไม่ให้เกิดซํา
  • 7. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 7 ของทังหมด 8 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง รหัสเอกสาร WI-RM-001 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา * หมายเหตุ ความเสียงระดับรุนแรง(Sentinel event) ทีต้องรายงานให้ผู้อํานวยการทราบทันทีมีดังนี ความเสียงทางคลินิก(Clinical - Risk) ความเสียงด้านกายภาพ (Non - Clinical Risk) 1. เกิดโรคติดต่อร้ายแรง ทีต้องรายงาน และ ควบคุมป้องกันโดยด่วน ได้แก่ SAR, ไข้หวัดนก , H1N1 2. ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการ รักษาพยาบาล ทําให้ผู้ป่วยเกือบเสียชีวิต หรือ เสียชีวิต เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตขณะผ่าตัด / หลัง ผ่าตัด ,แม่เสียชีวิตขณะคลอด / หลังคลอด ,ให้เลือดผิดคน ,ให้ยาผิด 3. ผู้ป่วยหรือญาติหรือเจ้าหน้าทีโรงพยาบาล รับประทานยาของโรงพยาบาลแล้วเกิด อันตรายเกือบเสียชีวิต หรือเสียชีวิต 4. การส่งมอบเด็กผิดคน หรือเด็กถูกขโมยจาก โรงพยาบาล 5. ผู้ป่วยพยายามฆ่าตัวตาย ทําร้ายตัวเอง หรือ ทําร้ายผู้อืนขณะอยู่ในโรงพยาบาล 6. เกิดอุบัติเหตุหมู่หรือเจ็บป่วยหมู่ 1. มีการทําร้ายผู้ป่วย / ญาติ หรือเจ้าหน้าทีใน โรงพยาบาล 2. เกิดเพลิงไหม้,นําท่วมขันรุนแรงภายใน โรงพยาบาล 3. เกิดแก๊ส,หม้อนึง ,ถังออกซิเจน ระเบิด 4. เกิดอุบัติการณ์ทีเสียงต่อการถูกฟ้องร้อง 5. เครืองมือสําคัญชํารุดหรือทํางานผิดปกติ และระบบสํารองใช้งานไม่ได้ หรือ ไม่มี ได้แก่ เครืองกระตุ้นหัวใจไฟฟ้า, ระบบสํารอง ไฟฟ้าสํารอง , ระบบคอมพิวเตอร์เครือข่ายล่ม 6. บุคลากรได้รับอุบัติเหตุ อาการสาหัส หรือ เสียชีวิต 7. รถโรงพยาบาลเกิดอุบัติเหตุ เสียหายมาก ต้องซ่อม หรือมีผู้บาดเจ็บ หรือเกิดระหว่าง นําส่งผู้ป่วย 8. มีการโจรกรรม ลักขโมยทรัพย์สินของ โรงพยาบาล บุคลากร หรือผู้ป่วย / ญาติ 9. ผู้ป่วย / ญาติ ได้รับอุบัติเหตุภายในโรงพยาบาล เกือบเสียชีวิตหรือเสียชีวิต เช่นถูกไฟฟ้าช๊อต แล้วเสียชีวิต
  • 8. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 8 ของทังหมด 8 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง รหัสเอกสาร WI-RM-001 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา 6. เอกสารอ้างอิง 6.1 ระบบบริหารความเสียงในโรงพยาบาล : นพ. อนุวัฒน์ศุภชุติกุล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 6.2 Patient Safety concept and practice :สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 6.3 คู่มือการบริหารความเสียง: โรงพยาบาลท่าฉาง จ. สุราษฏร์ธานี