SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
Download to read offline
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัย
ของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน
SAFETY
EMERGENCYEMERGENCY
P
reventio
n
P
reventio
n
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัย
ของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน
(SAFETY)
ชื่อหนังสือ : แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัย
	 ของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (SAFETY)
พิมพ์ครั้งแรก : พฤศจิกายน 2557
ISBN : 978-616-7951-00-3
บรรณาธิการ
	 นายแพทย์อนุรักษ์ อมรเพชรสถาพร 	 นายสุชาติ ได้รูป	
กองบรรณาธิการ
	 ดร.วิภาดา วิจักขณาลัญฉ์		 นางสาวกมลทิพย์ แซ่เล้า
	 นายศิริชัย นิ่มมา
	 และคณะทำ�งาน
ที่ปรึกษา
	 นายแพทย์วิทยา ชาติบัญชาชัย นายแพทย์อนุชา เศรษฐเสถียร
	 นายแพทย์ภูมินทร์ ศิลาพันธ์	 ดร.นายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิริคำ�ชัย
จัดพิมพ์โดย :
	         สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)
	          88/40 หมู่ที่ 4 ซอยสาธารณสุข 6 ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวัญ
	         อำ�เภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
พิมพ์ที่ :   บริษัท อัลทิเมท พริ้นติ้ง จำ�กัด E-mail : umnart_p@hotmail.com
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เล็งเห็นความส�ำคัญ และคุณค่าของ
บุคลากรทางการแพทย์ฉุกเฉิน จึงได้แต่งตั้งคณะท�ำงาน เนื่องจากบุคลากรจะเป็นผู้
ผลักดันให้ภารกิจต่าง ๆ ของหน่วยงานให้ส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ ซึ่งแนวคิดการสร้าง
องค์กรแห่งความสุข เป็นกระบวนการพัฒนาคนในองค์กร อย่างมีเป้าหมาย เพื่อให้
องค์กรมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะน�ำไปสู่การพัฒนาเติบโตอย่างต่อเนื่อง
ขององค์กร ตลอดจนเป็นเครื่องมือสําคัญในการสร้างความสมดุลระหว่างความสุข และ
ความสําเร็จ โดยองค์กรสามารถสร้างความสุขแก่บุคลากรได้โดยการพัฒนา ให้เห็นว่า
บุคลากรเป็นทรัพย์สิน เป็นทุนมนุษย์ที่มีค่าที่สุดขององค์กร ที่จะสามารถเพิ่ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางาน อันจะนําพาองค์กรไปสู่ความสําเร็จอย่าง
ยั่งยืน ดังนั้น สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ จึงได้ก�ำหนดนโยบาย “เป้าหมาย ๕ ค”
ได้แก่ ครอบคลุม คล่องแคล่ว ครบพร้อม ๒๔ ชั่วโมง คุณภาพ และคุ้มครอง  ดังนั้น การ
คุ้มครองผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และผู้ปฏิบัติงานของสถาบันการแพทย์
ฉุกเฉินแห่งชาติ โดยให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในการท�ำงาน และ
สามารถน�ำไปใช้เป็นเครื่องมือในการลดอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน  มีคุณภาพ
ชีวิตที่ดี รวมถึงมีความเก่งในการปฏิบัติงาน และมีความสุขตลอดไป
	 คณะท�ำงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติ
ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เล่มนี้ จะเป็นคู่มือที่น�ำไปใช้ในการพัฒนาระบบคุ้มครอง
ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน และผู้ป่วยฉุกเฉินให้ได้รับการบ�ำบัดรักษาเฉพาะอย่างทันท่วงที และ
หากท่านมีข้อเสนอแนะที่ต้องการให้ปรับปรุง โปรดเสนอแนะมายังสถาบันการแพทย์
ฉุกเฉินแห่งชาติ   E-mail : ems_std2014@niems.go.th
คณะท�ำงาน
สิงหาคม 2557
คำ�นำ�
บทที่ 1
	 บทนำ�
	 นิยามศัพท์							
	 ลักษณะงานด้านอาชีวอนามัย
	 สิ่งคุกคามสุขภาพ (Health Hazards)
	 1 ความร้อน (Heat)
	 2 เสียงดัง (Noise)
	 3. ความเครียด (Stress)
	 4. คุณภาพอากาศภายในอาคาร (Indoor Air Quality)
	
บทที่ 2
	 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
	 1. ผู้ปฏิบัติการของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	     และสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด	 			
	 2. ผู้ปฏิบัติการของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
	 3. ผู้ปฏิบัติการนอกโรงพยาบาล
	 4. ผู้ปฏิบัติการในโรงพยาบาล
	
สารบัญ
1
1
1
2
3
15
15
16
22
30
39
สารบัญ
ภาคผนวก								
	 รายชื่อคณะทำ�งานและให้ความเห็น			
บรรณานุกรม	
51
52
55
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัย
ของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n(SAFETY)
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
1
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
	 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท�ำงาน ถือเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญยิ่งที่
น�ำไปสู่ความส�ำเร็จในการประกอบอาชีพสาขาต่างๆ เพราะหากผู้ปฏิบัติงานมีสุขภาพ
อนามัยที่ดีปราศจากความเจ็บป่วยจากการท�ำงานมีความปลอดภัยในการท�ำงาน ย่อมน�ำ
ไปสู่การเพิ่มผลผลิต มีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ เกิดผลก�ำไรเพิ่มขึ้นส่งผลดีต่อ
ภาพลักษณ์ขององค์การ สังคมและประเทศชาติ ดังนั้น บุคลากรทุกฝ่ายที่มี
ส่วนเกี่ยวข้อง ต้องตระหนักและเห็นความส�ำคัญของอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน
การท�ำงาน ด้วยการปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด ปรับปรุงสภาพ
งานและจัดท�ำกฎระเบียบในการท�ำงานให้เป็นมาตรฐาน
นิยามศัพท์
	 อาชีวอนามัย หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแล สุขภาพอนามัย
ของผู้ประกอบอาชีพทั้งหมด เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ
อนามัย รวมทั้งการด�ำรงค์คงไว้ซึ่งสภาพร่างกาย และจิตใจที่สมบูรณ์ของผู้ประกอบ
อาชีพทุกอาชีพ
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาพแวดล้อมของการท�ำงาน ที่ปราศจาก
ภัยคุกคาม ไม่มีอันตราย (Danger) และความเสี่ยงใดๆ (Risk) ในทางปฏิบัตินั้นอาจ
จะไม่สามารถควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงในการท�ำงานที่มีผลต่อสุขภาพ การบาด
เจ็บ การพิการ การตายได้ทั้งหมด แต่ต้องมีการด�ำเนินงาน มีการก�ำหนดกิจกรรมด้าน
ความปลอดภัยเพื่อให้เกิดอันตรายหรือความเสี่ยงน้อยสุดเท่าที่จะท�ำได้
บทที่ 1
บทนำ�
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
2
ลักษณะงานด้านอาชีวอนามัย
	 องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้
ประชุมร่วมกันให้ลักษณะงานด้านอาชีวอนามัยไว้ ประกอบด้วยลักษณะงาน 5 ประการ
ส�ำคัญคือ
	 1. การส่งเสริม (Promotion) หมายถึง การส่งเสริมและธ�ำรงค์รักษาไว้ เพื่อให้
แรงงานทุกอาชีพมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีจิตใจที่สมบูรณ์ที่สุด และมีความเป็นอยู่
ในสังคมที่ดีตามสถานะที่พึงมีได้
	 2. การป้องกัน (Prevention) หมายถึง งานด้านป้องกันแรงงานไม่ให้มีสุขภาพ
อนามัย เสื่อมโทรมหรือผิดปกติอันมีสาเหตุอันเนื่องมาจากสภาพ สภาวะการท�ำงานที่
ผิดปกติ
	 3. การป้องกันคุ้มครอง (Protection) หมายถึง การปกป้องคนท�ำงานใน
สถานประกอบการ หรือลูกจ้างไม่ให้ท�ำงานที่เสี่ยงต่อสภาพการท�ำงานที่อันตรายจน
เป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดปัญหาอุบัติเหตุ การบาดเจ็บจากการท�ำงานได้
	 4. การจัดการงาน (Placing) หมายถึง การจัดสภาพต่างๆของการท�ำงาน และ
ปรับสภาพแรงงาน ให้ท�ำงานในสิ่งแวดล้อมของการท�ำงานที่เหมาะสมกับความสามารถ
ของร่างกายและจิตใจของแต่ละคนมากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ โดยค�ำนึงถึงความเหมาะ
สมในด้านต่างๆ โดยการน�ำเอาด้านการลงทุนมาประกอบพิจารณาถึงความเป็นไปได้
ด้วย
	 5. การปรับงานให้กับคนและปรับคนให้กับงาน (Adaptation) หมายถึง การ
ปรับสภาพของงานและของคนให้สามารถท�ำงานได้อย่างเหมาะสม ค�ำนึงถึงสภาพทาง
สรีระวิทยาของแรงงานมากที่สุด อยู่ในพื้นฐานของความแตกต่างกันของสภาพร่างกาย
และจิตใจ พยายามเลือกจัดหางานให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายของแรงงานมากที่สุด
เพื่อประสิทธิภาพของงาน ท�ำงานให้เกิดประสิทธิผลมากที่สุด
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
3
สิ่งคุกคามสุขภาพ (Health Hazards)
	 สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ (Physical health hazards) หมายถึง
การท�ำงานในสิ่งแวดล้อมที่มีความร้อน ความเย็น เสียงดัง ความสั่นสะเทือน แสงสว่าง
ความกดบรรยากาศสูง อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพคน
ท�ำงาน สิ่งคุกคามสุขภาพ ทางกายภาพ ในที่นี้จะกล่าวถึงสิ่งคุกคามต่อสุขภาพที่พบใน
ส�ำนักงาน ได้แก่
1.ความร้อน (Heat)   
ผลกระทบต่อสุขภาพ
	 1) การเป็นลมเนื่องจากความร้อนในร่างกายสูง (Heat Stroke) เกิดจาก
ร่างกายได้รับความร้อนจนอุณหภูมิ ในร่างกายสูงมาก ท�ำให้ระบบควบคุมอุณหภูมิของ
ร่างกายที่สมองไม่สามารถท�ำงานได้ตามปกติ  มีอาการคือ ผิวหนังแห้ง มึนงง ปวดศีรษะ
กระหายน�้ำ  อาเจียน เป็นตะคริวที่กล้ามเนื้อ ชักกระตุก และหมดสติ เมื่อพบผู้ปฏิบัติ
งานมีอาการดังกล่าว ควรน�ำไปยังบริเวณที่มีอากาศเย็นทันที เช็ดตัวด้วยน�้ำเย็นเพื่อให้
มีการระบายความร้อนออกจากร่างกายได้ดีขึ้นใช้พัดลมช่วยในการระบายอากาศ
บริเวณนั้น  ขยับขยายเสื้อผ้าที่สวมใส่ให้สบาย และพบแพทย์เพื่อท�ำการรักษา
	 2) การอ่อนเพลียเนื่องจากความร้อน (Heat Exhaustion) เมื่อร่างกายได้รับ
ความร้อนสูง เส้นเลือดที่ผิวหนัง ขยายตัว เลือดจึงไหลไปสู่บริเวณผิวหนังมากขึ้น ท�ำให้
ระบบหมุนเวียนของเลือดไปเลี้ยงสมองได้ไม่เต็มที่  เกิดความอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เป็น
ลม หน้ามืด ชีพจรเต้นอ่อนลง เมื่อผู้ปฏิบัติงานมีอาการดังกล่าว  ควรน�ำไปยังบริเวณที่มี
อากาศเย็น ดื่มน�้ำจ�ำนวนมาก กรณีอาการรุนแรงให้พบแพทย์
	 3) การเป็นตะคริวเนื่องจากความร้อน (Heat Cramp) เมื่อร่างกายได้รับ
ความร้อนมากเกินไป จะเสียสมดุล ของเกลือแร่ โดยถูกขับออกมาพร้อมเหงื่อ ท�ำให้เกิด
อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือที่เรียกว่า ตะคริว  หากดื่มน�้ำเกลือแร่จะช่วยคลายอาการ
เกร็งได้
	 4) อาการผดผื่นตามผิวหนัง (Heat Rash) เมื่อร่างกายได้รับความร้อนจะขับ
เหงื่อออกทางผิวหนัง หากผิวหนังที่ชุ่มด้วยเหงื่อเป็นเวลานานโดยไม่มีการระเหยของ
เหงื่อ จะท�ำให้ต่อมขับเหงื่ออุดตัน และเกิดอาการระคายเคือง เกิดผื่น อาการคันตามมา
ซึ่งป้องกันได้โดยท�ำให้ผิวหนังแห้งและสะอาด
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
4
การป้องกันและควบคุม
           1) ลดความร้อนในผู้ตัวปฏิบัติงานและที่ท�ำงานที่มีแหล่งความร้อนด้วยวิธีใด
วิธีหนึ่ง หรือมากกว่า ตามความเหมาะสม ดังนี้
	 - จัดให้ผู้ปฏิบัติงานมีระยะพักบ่อยขึ้น และพักในที่มีอากาศเย็น
	 - เครื่องมืออุปกรณ์ที่มีแหล่งความร้อนสูงควรมีฉนวนหุ้มกันความร้อน
	 - ติดตั้งระบบดูดอากาศเฉพาะที่เพื่อระบายความร้อนออกไปจากตัว
ผู้ปฏิบัติงาน
	 - ติดตั้งฉากกันความร้อนระหว่างแหล่งก�ำเนิดความร้อนกับตัวผู้ปฏิบัติงาน
	 - จัดให้มีพัดลมเป่าเพื่อเพิ่มการไหลเวียนของอากาศ และการระเหยของเหงื่อ
	 - จัดให้มีบริเวณส�ำหรับพักที่มีอากาศเย็น
	 - ให้ความรู้กับผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่ท�ำงานในที่มีแหล่งความร้อน เพื่อให้เกิด
ความตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพ
	 - ในผู้ปฏิบัติงานใหม่ในระยะแรกควรก�ำหนดชั่วโมงการท�ำงานที่ต้องสัมผัส
กับความร้อนเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถค่อยๆ ปรับสภาพร่างกายเข้ากับความร้อน
ได้ (Acclimatized)≈ในกรณีที่ผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับการปรับสภาพความเคยชินแล้ว
ภายหลังหากถูกเปลี่ยนไปท�ำงานอื่นหรือมีเหตุให้หยุดงานนานวันจนสูญเสียความ
สามารถในการปรับตัวก็ต้องจัดโปรแกรมการปรับสภาพเคยชินใหม่เช่นเดียวกัน
	 2) จัดให้มีโครงการเฝ้าคุมสิ่งแวดล้อมการท�ำงานโดยมีกิจกรรมการประเมิน
การสัมผัสความร้อนในรูปของ ดัชนีความร้อน (WBGT index)
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
5
2.เสียงดัง (Noise)
            เสียงดัง หมายถึง เสียงที่ไม่พึงปรารถนา เกิดจากคลื่นเสียงสั่นสะเทือนอย่าง
รวดเร็วในอากาศ สามารถตรวจวัดได้ โดยใช้เครื่องมือวัดเสียง หน่วยที่วัดความเข้มเสียง
คือ เดซิเบล เอ (Decibel-weighting A)
ผลกระทบต่อสุขภาพ
	 การสัมผัสเสียงดังสม�่ำเสมอ มีความเข้มสูง และต่อเนื่องในช่วงเวลาหนึ่ง จะ
ท�ำให้เกิดการสูญเสีย การได้ยินแบบชั่วคราว (Temporary hearing loss) การสูญเสีย
การได้ยินแบบนี้สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้ หลังจากหยุดสัมผัสเสียงดังภายใน
1 – 2 ชั่วโมง หรืออาจเป็นวันก็ได้
	 การสัมผัสเสียงที่มีความเข้มสูงเป็นระยะเวลานานหลายปี จะท�ำให้เกิดการ
สูญเสียการได้ยินแบบถาวร (Permanent hearing loss) ซึ่งไม่มีโอกาสกลับคืนสู่สภาพ
ปกติ เนื่องจาก Hair Cell ถูกท�ำลาย และไม่มีทางรักษาให้หายได้
	 การสัมผัสเสียงดังมีผลท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการท�ำงานของร่างกาย เช่น
มีผลต่อการท�ำงานของ Cardiovascular Endocrine Neurological และสรีระของ
ร่างกาย เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบว่า เสียงดังท�ำให้เกิด การรบกวนการพูด การสื่อความ
หมาย และกลบเสียงสัญญาณต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุจากการท�ำงาน
การป้องกันและควบคุม
	 1) จัดให้มีโครงการเฝ้าคุมเฝ้าระวังเสียงดัง ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมการ
ตรวจวัดเสียง โดยใช้เครื่องมือ วัดเสียงและหรือเครื่องวัดปริมาณเสียงสะสม การตรวจ
สมรรถภาพการได้ยินในกลุ่มผู้ที่ท�ำงานสัมผัสเสียงดัง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
	 2) จัดให้มีโครงการลดระดับเสียงดัง หากผลการตรวจวัดพบว่าเสียงดังเกิน
ค่ามาตรฐาน โดยด�ำเนินการด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีร่วมกันตามความเหมาะสม
ได้แก่
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
6
	 - ด้านวิศวกรรม เช่น ใช้วิธีการปิดล้อมอุปกรณ์เครื่องจักรส่วนที่ท�ำให้เกิดเสียงดัง
การใช้วัสดุรองกัน การสั่นสะเทือนของเครื่องจักร เป็นต้น
	 - การบริหารจัดการ เช่น ลดระยะเวลาการท�ำงานที่ต้องสัมผัสเสียงดัง
	 - การใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียง เช่น ที่ครอบหู ที่อุดหู เป็นต้น
สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ (Ergonomics)
	 การยศาสตร์ หรือ เออร์โกโนมิคส์ หมายถึง ศาสตร์ในการจัดสภาพงาน
ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงานของคนทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยการออกแบบ
เครื่องจักร สถานที่ท�ำงาน ลักษณะงาน เครื่องมือ และสภาพแวดล้อม  การท�ำงานเพื่อ
ให้เกิดความปลอดภัย สะดวกสบาย เพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน และป้องกันผล
กระทบต่อสุขภาพ
สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์
	 หมายถึง สิ่งคุกคามสุขภาพที่เกิดขึ้นจากท่าทางการท�ำงานที่ผิดปกติ หรือฝืน
ธรรมชาติ การท�ำงานซ�้ำซาก การท�ำงานที่กล้ามเนื้อออกแรงมากเกินความสามารถใน
การรับน�้ำหนัก การนั่ง หรือยืนท�ำงาน ที่สถานีงานออกแบบไม่เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน
การใช้เครื่องมือที่ออกแบบไม่ดี การยกเคลื่อนย้ายของอย่างไม่ถูกต้อง ผลจากการ
ท�ำงานในลักษณะดังกล่าวเป็นระยะเวลานาน ก่อให้เกิดความไม่สบาย การบาดเจ็บและ
เจ็บป่วยได้
ผลกระทบต่อสุขภาพ
             การท�ำงานในที่ท�ำงาน หรือลักษณะงานที่เป็นปัญหาทางการยศาสตร์ เช่น การ
นั่งท�ำงาน หรือยืนท�ำงาน ติดต่อโดยไม่ได้เปลี่ยนอริยาบทเป็นเวลานานๆ การก้มโค้งตัว
ไปด้านหน้าตลอดการบรรจุผลิตภัณฑ์ การยกคอ และไหล่ ตลอดเวลา เนื่องจากความ
สูงของโต๊ะและเก้าอี้ไม่สัมพันธ์กัน การท�ำงานซ�้ำซาก การยกสิ่งของที่มีน�้ำหนักมาก
เป็นครั้งคราว หรือยกสิ่งของน�้ำหนักน้อยแต่ยกบ่อยๆ เป็นต้น ซึ่งการท�ำงานลักษณะ
ดังกล่าวทุกวันเป็นระยะเวลานานจะท�ำให้เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูก
โครงร่าง (Musculoskeletal disorders: MSDs) ซึ่งหมายถึงอาการเจ็บปวด ถาวร และ
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
7
มีความเสื่อมของกล้ามเนื้อ รวมถึงข้อต่อ เอ็น และเนื้อเยื่ออื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียง ตัวอย่าง
เช่น โรคปวดหลัง ส่วนบั้นเอว (Low back pain) เอ็นอักเสบ (Tendinitis) เอ็นและ
ปลอกหุ้มอักเสบ (Tenosynovitis) กลุ่มอาการอุโมงค์ คาร์ปาล (Carpal Tunnel
Syndrome: CTS) เป็นต้น นอกจากจะเกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกโครง
ร่างแล้ว ยังก่อให้เกิดความล้าจากการท�ำงาน และความเครียดจากการท�ำงานด้วย
การประเมินปัญหาการยศาสตร์ ด�ำเนินการ ดังนี้
1.การค้นหาปัญหา (Risk identification)
              โดยการส�ำรวจปัจจัยทางด้านการยศาสตร์ที่สามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ของผู้ปฏิบัติงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุ หรือจัดล�ำดับความส�ำคัญของงานที่
ต้องการการวิเคราะห์ ปัจจัยที่ส�ำคัญที่ต้องพิจารณา ได้แก่ ลักษณะการออกแบบสถานที่
ตั้งของการท�ำงาน ที่นั่ง ลักษณะท่าทางในการท�ำงาน การยกสิ่งของ การออกแรง ข้อมูล
เกี่ยวกับการยกสิ่งของ เช่น ขนาด น�้ำหนักสิ่งของ เป็นต้น ลักษณะการออกแบบแผง
หน้าปัดและอุปกรณ์ควบคุม ลักษณะการออกแบบเครื่องจักรและอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ
เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานและลักษณะการใช้งาน การออกแบบงานและการจัดรูป
งาน สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการท�ำงาน อันตรายจากการใช้เครื่องมือต่างๆ
การเก็บ และการบ�ำรุงรักษา การฝึกอบรม
2. วิเคราะห์ปัญหาการยศาสตร์ (Risk evaluation)
               เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงทั้งหมดที่ค้นหามาได้ โดยกระท�ำอย่างเป็นระบบ ท�ำให้
ทราบสาเหตุของปัญหา และทราบความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งได้มาตรการ
ควบคุมปัจจัยเสี่ยงอย่างเหมาะสม โดยพิจารณาเกี่ยวกับการท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนไหวที่ฝืนธรรมชาติ การท�ำงานที่ต้องออกแรงมากเกินไป การเคลื่อนไหวที่สูญเสีย
ประโยชน์ หรือพลังงานโดยไม่จ�ำเป็น จังหวะของงานที่ไม่เหมาะสม ปัจจัยที่ก่อให้
เกิดความล้าโดยมีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลหลายวิธี ได้แก่ การสังเกตทั่วไป การใช้
แบบสอบถามหรือแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์โดยใช้การบันทึกวิดีทัศน์ การถ่ายภาพ
การประเมินความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน และการวัดปัจจัยเสี่ยง ด้วยเครื่องมือต่างๆ
หลังจากรวบรวมข้อมูลแล้ว ควรน�ำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ร่วมกัน เพื่อสรุปว่ามี
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
8
ปัญหาการยศาสตร์หรือไม่ ถ้ามี มีมากน้อยขนาดไหน และสาเหตุที่แท้จริงคืออะไร เมื่อ
ระบุสาเหตุได้ จะน�ำไปสู่การก�ำหนดมาตรการควบคุมแก้ไขต่อไป
3. การควบคุมแก้ไขปัญหาการยศาสตร์ (Risk control)
	 เป็นกระบวนการก�ำจัดหรือลดปัจจัยเสี่ยงที่มีอยู่ในที่ท�ำงาน เพื่อความ
ปลอดภัยยิ่งขึ้นส�ำหรับผู้ปฏิบัติงาน และส่งผลให้อัตราการเจ็บป่วย หรือการเกิดอุบัติเหตุ
ลดลง การควบคุมแก้ไขนี้ สามารถกระท�ำได้โดยการผสมผสานระหว่างการควบคุมทาง
วิศวกรรม การควบคุมทางบริหารจัดการ และการควบคุมการปฏิบัติงาน
	 3.1 การควบคุมทางวิศวกรรมอาจท�ำได้โดยการออกแบบงานใหม่เพื่อขจัด
ปัญหาที่จะเกิดขึ้น หรือการปรับงานให้เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน การจัดสภาพแวดล้อม
การท�ำงานให้เหมาะสม การปรับปรุงวิธี ท�ำงานใหม่ การออกแบบอุปกรณ์เครื่องมือใหม่
การออกแบบสถานีงานใหม่เพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติงาน ไม่ต้องออกแรงมากเกินไป และ
หลีกเลี่ยงการท�ำงานซ�้ำๆ รวมไปถึงท่าทางการท�ำงานที่ฝืนธรรมชาติ
	 3.2 การควบคุมทางการบริหารจัดการ เช่น การก�ำหนดวิธีการท�ำงานให้
หลากหลาย การเพิ่มจ�ำนวนผู้ปฏิบัติงาน การสับเปลี่ยนหมุนเวียนงาน การจัดให้มีเวลา
พักสั้นๆ หรือเวลาผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
	 3.3 การควบคุมการปฏิบัติงานควรมีการก�ำหนดวิธีการท�ำงานเพื่อความ
ปลอดภัย กฎระเบียบความปลอดภัย รวมไปถึงการตรวจตราให้มีการปฏิบัติงานอย่าง
ปลอดภัยและถูกวิธี ทั้งนี้จะต้องจัดให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการยศาสตร์
แก่ผู้ปฏิบัติงาน และผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดให้ทราบและเข้าใจหลักการของการยศาสตร์
อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งมีเนื้อหาในการค้นหาปัญหา การวิเคราะห์และการ
ควบคุม  แก้ไข เพื่อบุคลากรในสถานที่ท�ำงานนั้นๆ สามารถด�ำเนินงานด้านการยศาสตร์
ได้เอง
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
9
ปัญหาด้านการยศาสตร์ที่พบบ่อยในงานส�ำนักงาน
1. การนั่งท�ำงานเป็นเวลานาน
	 การนั่งท�ำงานติดต่อกันเป็นเวลานาน แม้ว่ามีการออกแรงของกล้ามเนื้อน้อย
กว่าการท�ำงานอย่างอื่น แต่ก็พบว่ามีความเสี่ยงต่อความผิดปกติของกล้ามเนื้อได้ เช่น มี
อาการปวดหลัง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และพบรายงานเส้นเลือดขอด คอแข็ง และขาหมด
ความรู้สึกในผู้ที่นั่งท�ำงานเป็นเวลานาน มากกว่าพบในผู้ที่ออกแรงท�ำงานหนักอื่นๆ
กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ เจ้าหน้าที่งานธุรการ หรือ ป้อนข้อมูลลงคอมพิวเตอร์
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
            โดยทั่วไปแล้วการท�ำงานมักจะกระท�ำในลักษณะเดิมติดต่อกันค่อนข้างนาน
เป็นเวลา 30 นาทีขึ้นไป จุดที่ท�ำงาน หรือ สถานีงาน (workstation) ซึ่งหมายถึง ที่ที่
ผู้ปฏิบัติงานอยู่ท�ำงานเป็นประจ�ำเช่น โต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น และในกรณี การนั่งท�ำงาน
จะต้องมีการออกแบบสถานีงานอย่างเหมาะสม คือระดับการท�ำงานนั้น ผู้ปฏิบัติงาน
สามารถมองเห็นงานชัดเจนและอยู่ในท่าทางการนั่งที่ไม่ต้องก้มหลัง หรือเกร็งตัว ยืดตัว
ขณะนั่งท�ำงาน
การป้องกันและควบคุม
	 1. ข้อเสนอแนะเพื่อการจัดสถานีงานอย่างเหมาะสม ในการเอื้อให้ผู้ปฏิบัติ
งานนั่งท�ำงานอย่างสะดวกสบาย  โดยพิจารณาในเรื่องดังต่อไปนี้
	 1.1 ในบริเวณที่นั่งท�ำงานจะต้องมีการจัดวางสิ่งของที่ต้องใช้งานให้พร้อม
และสามารถหยิบจับได้ง่ายโดยไม่ต้องเอื้อม
	 1.2 ไม่ควรต้องใช้แรงมาก แม้ว่าจะเป็นการออกแรงเป็นครั้งคราวก็ตาม เช่น
ขณะนั่งท�ำงานไม่ควรต้องออกแรงยกวัตถุซึ่งมีน�้ำหนักมากกว่า 4.5 กิโลกหรือเกร็งตัว
ยืดตัวขณะนั่งท�ำงาน
	 1.3 จัดให้มีเก้าอี้ที่ดี คือ แข็งแรง ปลอดภัย เหมาะสมกับขนาดสัดส่วน
ร่างกายของผู้ปฏิบัติงาน และสามารถปรับระดับให้พอดีกับผู้ปฏิบัติงานแต่ละคน ตลอด
จนสอดคล้องกับลักษณะงานที่ท�ำ คือ เอื้ออ�ำนวยให้สามารถเคลื่อนไหวร่างกายขณะ
ท�ำงานได้อย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นการโน้มตัวไปข้างหน้า การลุกขึ้น หรือนั่ง  ลงได้อย่างสะดวก
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
10
	 1.4 จัดให้มีห้องพักเท้าส�ำหรับเคลื่อนไหวเท้าได้สะดวก ถ้าพื้นที่มีความจ�ำกัด
มากจะส่งผลให้ท่าทางของร่างกายอยู่ในท่าที่ไม่สบายและเกิดความล้าได้
	 1.5 ต้องไม่มีการยกสิ่งของใดๆ จากระดับพื้นในขั้นตอนการท�ำงาน
	 1.6 ระดับความสูงของหน้างานขณะนั่งท�ำงาน ให้พิจารณาระดับความสูง
ของข้อศอกเช่นเดียวกับการยืนท�ำงาน ส่วนใหญ่การนั่งท�ำงานมักเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้
สายตามากในการท�ำงาน งานที่ต้องการความละเอียดมาก จะต้องการระดับความสูง
หน้างานสูงกว่างานที่ต้องการความละเอียดต�่ำกว่า รวมทั้งพิจารณาในเรื่องของแสงจ้า
แสงสะท้อน และมุมในการมองด้วย ทั้งนี้จะต้องไม่ท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานอยู่ในท่าทางที่
ฝืนธรรมชาติ ซึ่งการนั่งท�ำงานในงานบางลักษณะ เช่น งานส่องกล้องจุลทรรศน์ เมื่อ
ออกแบบให้มีที่รองแขนและข้อศอก ร่วมกับปรับระดับการมองที่ชัดเจน จะท�ำให้
ผู้ปฏิบัติงานอยู่ในท่าทางไม่ฝืนธรรมชาติ
	 2) ข้อแนะน�ำในการปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะงานที่ต้องท�ำ
นานถึง 4 ชั่วโมง หรือมากกว่าในแต่ละวันจะก่อให้เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและ
กระดูกโครงร่างส่วนต่างๆ ได้แก่ มือ/แขน ไหล่ คอ และหลัง
	 2.1. การจัดสถานีงานให้เหมาะสมขณะท�ำงานกับคอมพิวเตอร์ จะต้องจัด
สถานีงานเอื้อให้ผู้ปฏิบัติงาน อยู่ในท่าทางเป็นปกติ ไม่ฝืนธรรมชาติ ได้แก่ มือ ข้อมือ
และแขนอยู่ในแนวตรง และเกือบจะขนานกับพื้น
	 1) ศีรษะและคออยู่ในลักษณะสมดุลย์ อาจจะก้มไปด้านหน้าเล็กน้อย และ
ควรอยู่ในแนวเดียวกับล�ำตัว
	 2) ไหล่อยู่ในลักษณะผ่อนคลาย ไม่ยกเกร็ง แขนส่วนบนไม่เกร็ง อยู่ด้านข้าง
แนบล�ำตัว
	 3) ข้อศอกอยู่ใกล้ตัว และสามารถงอท�ำมุมระหว่าง 90 – 120 องศา และควร
เป็นเก้าอี้ที่มีที่หนุนรอง
	 4) มีพนักพิงรองรับหลัง โดยเฉพาะหลังส่วนล่าง ทั้งในขณะนั่งท�ำงาน และ
ขณะพิงพนักพิง
	 5) ต้นขาและสะโพก ได้รับการรองรับโดยที่นั่งซึ่งมีขนาดกว้างพอ สามารถ
ปรับระดับสูงต�่ำได้
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
11
	 6) หัวเข่าควรอยู่ในระดับเดียวกับสะโพก โดยที่ให้เท้าอยู่ด้านหน้าเล็กน้อย
	 7) เท้าวางราบบนพื้น หรือวางราบบนที่วางเท้าในกรณีจัดที่วางเท้าเพื่อปรับ
ระดับความสูงแก่คนตัวเตี้ย  ซึ่งที่นั่งปรับระดับให้เหมาะสมไม่ได้
	 2.2. การจัดวางจอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์
	 1) ให้ส่วนบนสุดของจอภาพอยู่ระดับสายตา หรือต�่ำกว่าระดับสายตา
เล็กน้อย เพื่อให้พื้นที่ใช้งานส่วนใหญ่ หรือจุดกึ่งกลางของคอมพิวเตอร์ต�่ำกว่าระดับ
สายตาเป็นมุมประมาณ 15 - 20 องศา
	 2) นั่งห่างจากจอภาพในระยะที่อ่านตัวอักษรได้อย่างชัดเจน โดยที่ศีรษะและ
ล�ำตัวตั้งตรงปกติแล้ว ระยะห่างระหว่างจอภาพและตาประมาณ 50 – 100 เซนติเมตร
(ขนาดของตัวอักษรจะต้องใหญ่ขึ้น กรณีที่จอภาพมีขนาดเล็กกว่า)
	 3) ในกลุ่มผู้ใช้แว่นสายตาแบบสองเลนส์จะต้องกระดกศีรษะไปด้านหลัง หรือ
เงยหน้ามองผ่านเลนส์ชั้นล่างท�ำให้เกิดความล้าของกล้ามเนื้อบริเวณคอ จึงควรวาง
จอภาพในระดับต�่ำเพื่อไม่ต้องก้มๆ  ขณะท�ำงาน ซึ่งจะช่วยลดปัญหาความล้ากล้ามเนื้อ
บริเวณคอ นอกจากนี้ ควรปรับระดับความสูงของเก้าอี้ จนถึงระดับที่มองเห็นงานโดย
ไม่ต้องกระดกศีรษะไปด้านหลัง ทั้งนี้อาจจะต้องปรับระดับของคีย์บอร์ดให้สูงขึ้น
พร้อมทั้งใช้ที่วางเท้าตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล ระดับความสูงของคีย์บอร์ด
ที่สูงหรือต�่ำเกินไปท�ำให้มือและแขนของผู้ปฏิบัติงานอยู่ในต�ำแหน่งที่ไม่เหมาะสม
ก่อให้เกิดปัญหาที่มือ ข้อมือและไหล่ จึงควรปรับระดับความสูงของเก้าอี้เพื่อนั่งท�ำงาน
ในท่าทางเป็นปกติ ไม่ฝืนธรรมชาติ กล่าวคือ ระดับข้อศอกควรอยู่ระดับเดียวกับคีย์บอร์ด
แนบข้าง  ล�ำตัว ไหล่อยู่ในลักษณะผ่อนคลาย ไม่งอข้อมือขึ้น หรือหักลงขณะใช้คีย์บอร์ด
              4) ระยะห่างระหว่างคีย์บอร์ดและตัวผู้ปฏิบัติงาน หากใกล้หรือไกลเกิน
ไปจะท�ำให้ต้องอยู่ในท่าทางฝืนธรรมชาติก่อให้เกิดปัญหาต่อมือ ข้อมือและไหล่ จึงควร
วางคีย์บอร์ดตรงด้านหน้าด้วยระยะห่าง ที่ท�ำให้ข้อศอกอยู่ใกล้ล�ำตัว และแขนท่อนล่าง
ขนานกับพื้น
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
12
3. ความเครียด (Stress)
              หมายถึง ความไม่สมบูรณ์ที่เกิดขึ้น และรับรู้ได้ระหว่างความสามารถใน
ความต้องการของร่างกายกับการตอบสนองภายใต้สภาวะที่ล้มเหลวนั้นๆ  
ผลกระทบต่อสุขภาพ
	 ความเครียดส่งผลท�ำให้เบื่ออาหารเกิดแผลอักเสบในกระเพาะอาหารเกิด
ความผิดปกติด้านจิตใจ ปวดศีรษะ ข้างเดียว นอนไม่หลับ มีอารมณ์แปรปรวน ส่งผล
ต่อสัมพันธภาพภายในของครอบครัวและสังคม ผู้มีความเครียดมาก อาจแสดงออกได้
หลายทาง เช่น สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ ใช้ยาคลายเครียด หรือแสดงอารมณ์ก้าวร้าว
นอกจากนี้ ความเครียดมีผลกระทบต่อทัศนคติ และพฤติกรรม การติดต่อสื่อสารกับ
ผู้ป่วย และเพื่อนร่วมงาน
การป้องกันและควบคุม
	 1) จัดให้มีโครงการจัดการบริหารความเครียดภายในองค์กร
	 2) จัดให้มีการท�ำงานเป็นกะอย่างเหมาะสม และมีจ�ำนวนทีมงานที่เพียงพอ
	 3) ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการท�ำงานให้น่าอยู่ น่าท�ำงาน
	 4) ผู้ที่ท�ำหน้าที่ควบคุม ก�ำกับงาน ควรมีความยืดหยุ่นและยอมรับฟังความคิดเห็น
	 5) จัดให้มีกิจกรรมคลายเครียด
	 6) จัดภาระงานให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้รับผิดชอบงาน เป็นต้น
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
13
4. คุณภาพอากาศภายในอาคาร (Indoor Air Quality)
	 ในชีวิตประจ�ำวันของคนส่วนใหญ่จะใช้เวลามากกว่า 90% อยู่ในอาคาร
ไม่ว่าจะอยู่ในบ้านเรือน อพาตเมนต์ คอนโดมีเนียม โรงแรม โรงเรียน หรือสถานที่
ท�ำงาน ส�ำนักงาน มีข้อมูลจากการศึกษาวิจัยมากมายพบว่า คุณภาพอากาศภายใน
อาคารแย่กว่าคุณภาพอากาศภายนอกอาคารเสียอีก อาคารส�ำนักงานหรืออาคารที่พัก
อาศัยในปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นตึกสูง และมักจะถูกออกแบบเป็นแบบปิดทึบเพื่อเป็นการ
ประหยัดพลังงาน แต่หารู้ไม่ว่าได้ดักเอาสิ่งปนเปื้อนต่างๆ หลายชนิดไว้ในอาคาร โดย
เฉพาะอย่างยิ่ง อาคารส�ำนักงานจะมีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ส�ำนักงานที่มีส่วน
ประกอบของสารเคมี วัสดุสังเคราะห์ เช่น น�้ำยาลบค�ำผิด กาว น�้ำยาท�ำความสะอาดพื้น
เป็นต้น มีการใช้เครื่องถ่ายเอกสาร คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ไฟฟ้ามากมาย ดังนั้น จึง
ไม่น่าแปลกใจว่าจ�ำนวนข้อร้องเรียนหรือเสียงบ่นถึงการเจ็บป่วย  หรือการไม่สบายกาย
(Discomfort) ของคนที่ท�ำงานอยู่ในอาคารนับวันจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในอาคารสูง ที่ปิดทึบหรือใช้เครื่องปรับอากาศ หน่วยงานสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา
(Environmental Protection Agency: EPA) ได้ท�ำการศึกษาและสรุปไว้
	 - สิ่งปนเปื้อนหลายชนิดในอาคารพบในปริมาณสูงกว่าที่พบภายนอกอาคาร
2 – 5 เท่า
	 - จากกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในอาคารท�ำให้ระดับของมลพิษอากาศ
ภายในอาคารมากกว่าภายนอกอาคาร  ถึง 1,000 เท่า
	 - ในอาคารส�ำนักงานหรืออาคารที่พักอาศัยที่สร้างเสร็จใหม่ๆ มีระดับของ
สารระเหยอินทรีย์ในอากาศมากกว่า ภายนอกอาคารถึง 100 เท่า คุณภาพอากาศ
ส�ำนักงานใน สพฉ. และส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดถือว่าส�ำคัญมาก เนื่องจาก
เจ้าหน้าที่ต้องนั่งท�ำงานเป็นเวลานาน
	 โดยทั่วไปการเจ็บป่วยหรือโรคที่เกิดขึ้นจากการท�ำงานในอาคารนั้น ไม่รุนแรง
และเฉียบพลันเหมือนโรคติดเชื้อบางชนิด แต่มีผลท�ำให้ผู้ที่ท�ำงานเกิดความผิดปกติ
ทางกายมีผลท�ำให้ประสิทธิภาพการท�ำงานลดลง ลักษณะอาการของโรคจากการท�ำงาน
ในอาคารนั้น เริ่มได้ตั้งแต่ปวดศีรษะ คัดจมูก ระคายเคืองตา ไอ จาม และเป็นผื่นตาม
ผิวหนัง จนกระทั่ง มีการติดเชื้อที่มีอาการคล้ายปอดอักเสบ ผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิด
ขึ้นจากการท�ำงานในอาคารที่มีปัญหาคุณภาพอากาศ สามารถจ�ำแนกได้ออกเป็น2กลุ่ม
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
14
การควบคุมและป้องกัน
	 1. ต้องมั่นใจว่าอากาศสะอาดจากภายนอกเข้าสู่อาคารอย่างเพียงพอ
	 - จัดตารางบ�ำรุงรักษา และมีการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบปรับ
อากาศอย่างสม�่ำเสมอ
	 - ท่อควบคุมการไหลเข้า ออกของอากาศ จะต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง
	 - อัตราการไหลต�่ำสุดของอากาศจากภายนอกไม่ควรน้อยกว่า 20 ลบ.ฟุตต่อ
นาทีต่อคน
	 - ระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ไม่ควรเกิน 1,000 ppm (ACGIS 2013)
	 -หากอาคารมีการจัดพื้นที่ใหม่เช่นกั้นห้องหรือใช้ฉากกั้นพื้นที่ควรตรวจสอบ
ให้มั่นใจว่า การไหลและ การกระจายตัวของอากาศเพียงพอ
	 - ควรจัดระบบระบายอากาศให้เหมาะสมกับจ�ำนวนคนในห้อง
	 2. ท�ำการก�ำจัดหรือควบคุมแหล่งที่อาจก่อให้เกิดการปนเปื้อนต่อสารเคมี
และเชื้อชีวภาพ
	 - ควรก�ำจัดสิ่งที่จะก่อให้เกิดมลพิษ หรือการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีสารเคมี
ในระดับต�่ำ 
	 - หากพื้นที่ใดที่จ�ำเป็นต้องมีการใช้สารเคมี ควรมีระบบระบายอากาศเฉพาะที่
และต้องมั่นใจว่าระบบระบาย อากาศเฉพาะที่นั้นจะไม่น�ำอากาศที่มีสิ่งปนเปื้อน/มลพิษ
ที่ระบายออกไป กลับเข้ามาในห้อง/อาคารอีก
	 - ไม่ควรอนุญาตให้สูบบุหรี่ในอาคาร หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ควรแยกพื้นที่เฉพาะ
และจัดให้มีระบบระบายอากาศ  ที่เหมาะสม
	 - ต้องมั่นใจว่าช่องที่น�ำอากาศสะอาดจากภายนอกเข้าสู่อาคาร จะต้องไม่อยู่
ใกล้บริเวณแหล่งขยะ หรือแหล่ง  ที่เป็นมลพิษ
	 - ควรจัดตารางการท�ำความสะอาดอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อก�ำจัดฝุ่น
	 - ควรท�ำการตรวจสอบแหล่งที่มีน�้ำขัง หรือรอยรั่ว น�้ำซึม แล้วปรับปรุงแก้ไข
	 - ปรับระดับอุณหภูมิความชื้นสัมพัทธ์ให้เหมาะสม
	 - หากพบว่าพรม ฝ้าเพดาน ผนังในบริเวณใดมีราเกิดขึ้น ควรรีบท�ำการเปลี่ยน
หรือแก้ไขทัน
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
15
	 คณะท�ำงานจัดท�ำแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในระบบ
การแพทย์ฉุกเฉินร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาแบบประเมินการ
ด�ำเนินงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมของผู้ปฏิบัติงานในระบบ
การแพทย์ฉุกเฉิน  และแบบประเมินนี้ ได้รับการพัฒนาให้มีความเหมาะสมในบริบทของ
ประเทศไทย แต่ไม่ได้เป็นเกณฑ์มาตรฐานระดับสูงสุด (Ultimate goal)  จึงต้องขอความ
ร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉินในการน�ำไปสู่การปฏิบัติจริง เพื่อการ
วิเคราะห์หาส่วนขาด (Gap analysis) ซึ่งจะน�ำไปสู่การพัฒนาระบบความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ส�ำหรับผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน รวม
ถึงการผลักดันให้เกิดมาตรการหรือนโยบายด้านความปลอดภัย โดยแบบประเมินนี้จะ
ครอบคลุมผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ทั้ง 4 กลุ่ม ได้แก่
	 1. ผู้ปฏิบัติการของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และส�ำนักงาน
สาธารณสุขจังหวัด
	 2. ผู้ปฏิบัติการของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
	 3. ผู้ปฏิบัติการนอกโรงพยาบาล
	 4. ผู้ปฏิบัติการในโรงพยาบาล
บทที่ 2
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในระบบการ
แพทย์ฉุกเฉิน
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
16
1. ผู้ปฏิบัติการของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
และสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
17
แบบประเมินการด�ำเนินงานเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯ ของผู้ปฏิบัติงานในระบบ
การแพทย์ฉุกเฉิน ส�ำหรับส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
่
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
18
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
19
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
20
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
21
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
22
2.ผู้ปฏิบัติการของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
23
ค�ำแนะน�ำในการประเมินตนเองด้านความปลอดภัยของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
	 1. ขอความอนุเคราะห์ผู้ตอบแบบประเมิน 1 ชุด ต่อหน่วยปฏิบัติการ โดย
ผู้ตอบแบบประเมิน คือ ผู้ที่รับผิดชอบหรือผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยปฏิบัติการนั้น
	 2. แนวทางความปลอดภัยตามแบบประเมิน
ด้านนโยบาย
	 มี หมายถึง มีเอกสารผ่านการเห็นชอบของผู้บริหารและน�ำไปสู่การปฏิบัติ
	 มีแต่ไม่พร้อมใช้ หมายถึง มีการปฏิบัติตามนโยบายแต่ไม่มีเอกสารหลักฐาน
หรือมีหลักเอกสารหลักฐานแต่ไม่มีการน�ำไปปฏิบัติ
	 ไม่มี หมายถึง ไม่มีเอกสารผ่านการเห็นชอบของผู้บริหารและไม่มีการน�ำไป
ปฏิบัติ
ด้านบุคลากร
	 มี หมายถึง มีบุคลากรตามกรอบอัตราก�ำลัง มีการพัฒนาความรู้ ทักษะ และ
ได้รับการดูแล ด้านสุขภาพทางกาย จิตใจ
	 มีแต่ไม่พร้อมใช้ หมายถึง มีแผนแต่ไม่มีการด�ำเนินการตามแผน หรืออย่างใด
อย่างหนึ่ง
	 ไม่มี หมายถึง ไม่มีบุคลากรตามกรอบอัตราก�ำลัง ไม่มีการพัฒนาความรู้
ทักษะ และไม่ได้รับการดูแล
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
24
ด้านเครื่องมืออุปกรณ์และสถานที่
	 มี หมายถึง มีเครื่องมืออุปกรณ์ครบสามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานได้ มีการ
ตรวจสอบความพร้อมใช้ มีสถานที่เป็นสัดส่วนและใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์
	 มี แต่ไม่พร้อมใช้ หมายถึง มีเครื่องมืออุปกรณ์แต่ไม่ครบ หรือมีเครื่องมือ
อุปกรณ์แต่ไม่พร้อมใช้งาน ไม่มีสถานเป็นสัดส่วน
	 ไม่มี  หมายถึง  ไม่มีเครื่องมืออุปกรณ์  ไม่มีสถานที่
	 หมายเหตุ การตรวจวัดค่ามาตรฐานความปลอดภัยทางด้านกายภาพ
สามารถขอการสนับสนุนจากส�ำนักงานควบคุมและป้องกันโรคประจ�ำเขต หรือ
ส�ำนักงานวิศวกรรมการแพทย์ประจ�ำเขต
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
25
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
26
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
27
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
28
400
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
29
1.มีถังดับเพลิงมีการตรวจสภาพความพร้อมใช้และบุคลากร
มีความรู้และสามารถใช้ถังดับเพลิงได้ตามมาตรฐาน
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
30
3.ผู้ปฏิบัติการนอกโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
31
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
32
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
33
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
34
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
35
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
36
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
37
1.2.5
1.2.6
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
38
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
39
4.ผู้ปฏิบัติการในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
40
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
41
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
42
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
43
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
44
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
45
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
46
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
47
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
48
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
49
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
50
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
51
ภาคผนวก
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
52
รายชื่อคณะทำ�งาน
1. นายแพทย์อนุรักษ์ อมรเพชรสถาพร	สำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน กระทรวงสาธารณสุข
2. นายแพทย์ภูมินทร์ ศิลาพันธ์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
3. ดร.นายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิริคำ�ชัย	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
4. ว่าที่ร้อยตรีฉลอง	ทองแผ่	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
5. ดร.วิภาดา	 วิจักขณาลัญฉ์	 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น
6. นายแพทย์ปกรณ์ นาระคล		 สำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน
7. แพทย์หญิงฉันทนา ผดุงทศ		 สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
8. แพทย์หญิงชุลีกร	ธนกิติกร		 สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
9. นายชิษณุ  	 เทพไกลวัล	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
10. นางสาววันเพ็ญ	เหมียะโก		 โรงพยาบาลเลิดสิน
11. นายกิติเดช	 ศรีสุวรรณ	 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ
12. นางนลินรัตน์	 เรืองจิรยศ	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
13. นางสาวคงขวัญ	จันทร์แก้ว	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
14. นางสาวกีรติสุดา  บำ�เพ็ญบุญชู 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
15. นางสาวนฤมล	 พาพพิล่า		 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
16. นายบุญฤทธิ์	 เพชรรักษ์		 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
17. นางจิรวดี	 เทพเกษตรกุล 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
18. นายวัฒนา	 ทองเอีย	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
19. นายเกียรติคุณ	เผ่าทรงฤทธิ์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
20. นายวสันต์	 เวียนเสี้ยว	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
21. นางสาวนวนันทน์  กิจทวี		 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
22. นางสาวเทียมจันทร์  ฉัตรชัยกนันท์	สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
23. ว่าที่ร้อยโทอรรณพ สุขไพบูลย์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
24. นางปิยะอร	 รุ่งธนเกียรติ	 โรงพยาบาลสุรินทร์
25. นางสาวดารุณี	 ศาสนกุล		 โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
26. นางสาวยุพา	 พลเสน	 	 โรงพยาบาลอ่างทอง
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
53
รายชื่อคณะทำ�งาน
27. นายแพทย์เอนก สุภาพ	 	 โรงพยาบาลพุทธชินราช
28. แพทย์หญิงแสงดาว  อุประ	 	
29. นางสาวเบญจมาศ ปิงเมือง	 โรงพยาบาลพุทธชินราช
30. นางสาวอัญชลี	บัวทอง	 	 โรงพยาบาลพุทธชินราช
31. นายวินัย	 ทองชุบ	 	 สคร.๙ จังหวัดพิษณุโลก
32. นางสาวพัชรา 	สัทธิง	 	 ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดชัยนาท
33. นางนุชนารถ  	นาคขำ�	 	 กรมควบคุมโรค
34. นายศิริชัย	 นิ่มมา	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
35. นายสุชาติ	 ได้รูป	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
36. แพทย์หญิงจินตนา ลิ้มศิริชัยกุล	 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
37. นายแพทย์อภิชัย ประคองศิลป์	 โรงพยาบาลสระบุรี
38. นายแพทย์ภุมรินทร์ แซ่ลิ้ม	 โรงพยาบาลยะลา
39. แพทย์หญิงอินทิรา  อุทัยวัฒนา	 โรงพยาบาลสิรินธร
40. นางจันทร์ทิพย์ อินทวงศ์		 โรงพยาบาลระยอง
41. นายชาญณรงค์ อาจรักษา	 โรงพยาบาลระยอง
42. นางอัจฉรี	 สารพัฒน์		 โรงพยาบาลศรีสะเกษ
43. นายประสิทธิ์   ง๊ะสตูล	 	 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
44. นางธัณณ์จิรา	 ธนาศิริธัชนันท์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
45. นายจิตติกร	 จรเจริญ	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
46. นางสาวอนัญญา พันธุ์คุณาวัฒน์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
47. นางสินีสุช	 ชัยสิทธิ์	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
48. นางธัญรัศม์	 ปิยวัชร์เวลา	 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
49. นางสาวอรุณี	 เป้าประจัก	 สำ�นักงานสาธารณสุขฉุกเฉิน
50. นางสาวสุชาดา	มีไชยโย	 	 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
51. นางสาวนิตยา	 ภูริพันธ์	 	 โรงพยาบาลเลิดสิน
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
54
รายชื่อคณะทำ�งาน
52. ดร.ประภาพร	 สุวรัตน์ชัย	 โรงพยาบาลสรรพประสิทธิประสงค์
	 	 	 	 จังหวัดอุบลราชธานี
53. แพทย์หญิงพัชรี	ด้วงทอ	 	 โรงพยาบาลสระบุรี
แนวปฏิบัติดานความปลอดภัยของผูปฏิบัติในระบบการแพทยฉุกเฉิน (SAFETY)
EMERGENCY
P
reventio
n
55
บรรณานุกรม
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (2550). แผนแม่บทพัฒนา	
	 ความปลอดภัยด้านอัคคีภัยแห่งชาติ Master Plan of National Fire 	
	 Safety Development. ม.ป.ท.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2549). คู่มือการบริหารจัดการ	
	 งานสาธารณภัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2549. ม.ป.ท.
กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง. (2555). คู่มืออาชีวอนามัยและความ	
	 ปอลดภัยในการท�ำงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลระยอง. สัมมาอาชีวะ : 	
	 ชลบุรี.
กองอาชีวอนามัย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ม.ป.ป. สุขภาพอนามัยของ	
	 ผู้ท�ำงานกับคอมพิวเตอร์. ม.ป.ท.
รพีพร โรจน์แสงเรือง และคณะ. (2556). EMS Director : แพทย์อ�ำนวยการปฏิบัติ	
	 การฉุกเฉิน. ช่อระกา การพิมพ์ : กรุงเทพมหานคร.
ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก โรงพยาบาลระยอง. (2550). 	 	
	 คู่มือส�ำหรับเจ้าหน้าที่าธารณสุข ในการดูแลผู้ที่สัมผัสสารเคมีอันตราย. 	
	 ม.ป.ท.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (2551). แผนปฏิบัติการ การบริหารจัดการทาง
	 การแพทย์และการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์สาธารณภัยในระดับ	
	 พื้นที่. ขอนแก่นการพิมพ์ : ขอนแก่น.
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิ
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิ
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิ
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิ
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิ

More Related Content

What's hot

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...Suradet Sriangkoon
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การทำแผล.ppt
การทำแผล.pptการทำแผล.ppt
การทำแผล.pptThanakornThanawat
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)  ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง) kasidid20309
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Krishna Rama
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 

What's hot (20)

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การทำแผล.ppt
การทำแผล.pptการทำแผล.ppt
การทำแผล.ppt
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)  ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 

Viewers also liked

การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)Suradet Sriangkoon
 
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการการประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการItsarapap Wu
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง9tong30
 
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3moneycoach4thai
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก RiskSuradet Sriangkoon
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนSuradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (16)

การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการการประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
 
แผนอพยพหนีไฟ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
แผนอพยพหนีไฟ  คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.แผนอพยพหนีไฟ  คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
แผนอพยพหนีไฟ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง
 
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
 

More from Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูรSuradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementSuradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...Suradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลSuradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนSuradet Sriangkoon
 

More from Suradet Sriangkoon (19)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 
Grows model
Grows modelGrows model
Grows model
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
 
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
 

แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิ