SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
10/12/56

นายสุ
นายสุรเดช ศรีอังกูร
ศูนย์พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลท่าฉาง

วงล้ อ PDSA
Plan

Action

Do

Study

www.facebook.com/suradet.sri

1
10/12/56

อะไรคือ ….PDSA
PDSA เป็ นเครืองมือในการพั ฒนาคุ ณภาพชนิ ดหนึ ง โดยย่อมาจากคํ า
ว่า Plan-D0-Study-Act ซึงประยุกต์มาจากวงล้อคุ ณภาพที เป็ นตํ านาน
Plan- Studyคือ วงล้อของเดมมิ ง (PDCA) ปรมาจารย์ ด้านการพั ฒนาคุ ณภาพ ผู ้ที
ของเดมมิ
เป็ นส่วนหนึ งในการวางรากฐานกระบวนการพั ฒนาคุ ณภาพให้ก ั บ
ประเทศญีปุ ่ นจนยิ งใหญ่ในปัจจุบ ั น
โดยการดั ดแปลงจาก C (Check)
เป็ น S (Study) เพือให้เกิ ดความลุ่มลึก ว่ามิ ใช่เพียงการตรวจสอบการ
ปฏิ บ ั ติหรือลงมือกระทํ าเท่ านั น แต่เป็ นการเข้าไปเรียนรู้ว่าสิ งที เราลง
มือทําไปนั นให้บทเรียน ให้ข้อมูล ให้เราได้เรียนรู้ว่าดีขึน หรือเป็ น
โอกาสพั ฒนาที เราจะพั ฒนาต่อไปในอนาคตได้อย่างไร

www.facebook.com/suradet.sri

PDSA มีความหมายว่ าอย่ างไร
P : Plan คือการกํ าหนด/ออกแบบ แนวทาง ,วิ ธีการทํางาน, แผน
หนด/
งาน,
ยุทธศาสตร์ ,แผนปฏิ บ ั ติการ,CPG, วิ ธีปฏิ บ ั ติงาน หรืออืนๆ ที จะ
บอกว่าขั นตอนในการทํ านั นเป็ นอย่างไร คืออะไร
D : Do คือการลงมือทําตามแนวทางที กํ าหนดไว้
S : Study คือการเรียนรู้หลั งจากการที เราได้ลงมือทําหรือขณะทํา
ตามแนวทางนั น ผลลั พธ์ทีเกิ ดขึนจากการลงมือทําไม่ว่าจะดีขึน
หรือแย่ลง ล้วนแล้วแต่เป็ นข้อมูลที มีคุ ณค่า ที จะให้เราพั ฒนาและ
ก้าวต่อไป
A : Action คือการเข้าปรั บปรุง เปลียนแปลงตามผลลั พธ์ทีได้เรียนรู้
(Study) อย่างต่อเนื อง หลั กคิ ดที จะนํามาช่วยให้Action มี
ประสิ ทธิ ภาพคือ HFE หรือ Human Factor Engineering (การปรั บ
(การปรั
สิ งแวดล้อมในการทํา มากกว่าปรั บที ตั ว คคล )
บุ
www.facebook.com/suradet.sri

2
10/12/56

Plan
คือการกํ าหนด/ออกแบบ แนวทาง วิ ธีการทํางาน แผนยุทธศาสตร์
หนด/
แผนปฏิ บ ั ติการCPG วิ ธีปฏิ บ ั ติงาน หรืออืนๆ ที จะบอกว่าขั นตอนใน
การทํ านั นเป็ นอย่างไร คืออะไร สิ งที สํ าคั ญอย่างหนึ งคือ แผนที เรา
วางนั นควรตอบสนองต่อ เป้ าหมาย ที กํ าหนดไว้ เพราะการ
วางแผน การดํ าเนิ นการใดๆถ้าไม่ก ํ าหนดให้สอดคล้องหรือยึดกั บ
เป้ าหมายที ตั งไว้ก็เปรียบเสมือนการเตรียมเรือเพือออกท้ องทะเลที
กว้างใหญ่ แต่ไม่ทราบว่าจะไปที ใด ดั งนั นเป้ าหมายจึงเป็ นสิ งสํ าคั ญ
ที ทําให้แผนนั นสามารถตอบสนองได้ตรงจุด ไม่เปลืองแรง ไม่เปลือง
ทรั พยากร และช่วยแก้ไข/ส่งเสริ มในสิ งที เป็ นความจริ ง โอกาส
ข/
พั ฒนา ที องค์ กร/หน่ วยงาน/ที มงานประสบอยู่
ร/ ยงาน/

www.facebook.com/suradet.sri

อะไรคือสิ งที ควรมีใน….. เปาหมาย
น….. ้
เป้ าหมายทีดีและชั ดเจนย่อมส่งผลต่อแผนการดํ าเนิ นงาน(Plan) ให้มี
กรอบในการลงมือทําทีชั ดเจน และไม่หลงทิ ศ หลงทาง แต่การที จะ
ได้สิงเหล่านี องค์ประกอบในเป้ าหมายที ดีนั น ควรมีด ั งต่อไปนี
มีความเฉพาะเจาะจง และชั ดเจน
เราสามารถทีจะวั ดหรือประเมิ นผลได้
เป็ นที ยอมรั บของผู ้ปฏิ บ ั ติทุกฝ่ าย
ตั งอยู่บนพืนฐานข้อเท็จจริ ง ความจริ งคือบริ บทขององค์กร
/
หน่ วยงาน
มีกรอบระยะเวลาที ชั ดเจนในการปฏิ บ ั ติ
มีความท้ าทาย และเพิ มพูนศั กยภาพของบุคลากร/หน่ วยงาน
ลากร/
คุ ้มค่าและดีก ั บทุกฝ่ ายคือตั วเรา ผู ้ร ั บริ การ และองค์ กร
www.facebook.com/suradet.sri

3
10/12/56

DO
เป็ นการลงมือทําหรือปฏิ บ ั ติตามแผน(Plan) ที เรากํ าหนดไว้ อย่าง
ต่อเนื อง และมีการตรวจสอบเป็ นระยะๆว่าสิ งที เราปฏิ บ ั ตินั นยั งคง
อยู่ในแผนที วางไว้ และมีแนวโน้ มว่าให้ผลลั พธ์อย่างที เราตั งใจไว้
หรือไม่ สิ งสํ าคั ญอีกประการหนึ งคือ การพูดคุย สือสารกั บบุคลากร
ในที มงานอย่างสมํ าเสมอในระหว่างการปฏิ บ ั ติ เพราะจะทําให้ทุก
คนได้ทราบว่าสิ งที เรากํ าลั งปฏิ บ ั ตินั นเป็ นอย่างไร แนวโน้ มคืออะไร
อย่าปฏิ บ ั ติไปโดยที ไม่ตรวจสอบเป็ นระยะ หรือไม่พูดคุ ยกั น พอ
สุดท้ ายเมือถึงเวลาในการประเมิ นผลที เกิ ดขึน มั นอาจสายเกิ นไปที
จะปรั บปรุง เปลียนแปลงขั นตอนการปฏิ บ ั ติ เพือนําไปสู่สิงที ตั งใจไว้
อีกทั งควรกํ าหนดให้ช ั ดเจนในแผนว่า ใครทํ าอะไร ที ไหน อย่างไร
เพือให้เกิ ดความชั ดเจนในการปฏิ บ ั ติ
www.facebook.com/suradet.sri

Study
ถ้าตามวงล้อของเดมมิ งคือ การตรวจสอบ (Check) แต่ได้มีการ
ของเดมมิ
ปรั บปรุงให้เป็ น Study หมายถึงการเรียนรู้ ซึงการเรียนรู้นั นมีความ
ลุ่มลึก และสามารถให้ข้อมูลได้ว่าสิ งที เราปฏิ บ ั ติไปนั นให้ผลลั พธ์
เป็ นอย่างไร คือ ดีขึน เสมอตั ว หรือ แย่ลง ซึงจากการที เราใช้การ
เรียนรู้เข้าไปค้นหาคํ าตอบนั นจะทําให้เราไม่ยึดติ ดกั บกรอบว่าเป็ น
เพียงแค่ “การตรวจสอบ” คืออาจตรวจแล้วก็ ผ่านไป แต่ไม่นําข้อมูล
การตรวจสอบ”
ที เราตรวจสอบได้นํามาสู่การพั ฒนาต่อไป ซึงตรงนี คือหั วใจสํ าคั ญ
ของ PDSA อีกประการหนึ งในขั นตอนการเรียนรู้นั น ก็ควรที จะ
กํ าหนดว่า เราจะเรียนรู้ก ั นบ่อยเพียงใด เรียนรู้อะไรบ้าง ซึงวิ ธีการที
เราจะเรียนรู้จากทํา (DO) นั นมีมากมายหลายแบบ ดั งต่อไปนี
www.facebook.com/suradet.sri

4
10/12/56

Study : การแลกเปลี ยนเรียนรู ้ (Knowledge sharing)
คือการแบ่งปัน แลกเปลียนความรู้ซึงกั นและกั นจากการที เราได้ลง
มือทําหรือปฏิ บ ั ติร่วมกั นในหน่ วยงานที ม/องค์ กร แล้วเกิ ดความรู้
/
ขึนมา ซึงความรู้ทีเกิ ดขึนเราอาจเรียกว่าความรู้เฉพาะตนบ้าง
ความรู้นอกตํ าราบ้าง ซึงความรู้อ ั นนี ถือว่าเป็ นความรู้ทีมีคุ ณค่า
เพราะเกิ ดจากเรียนรู้ด้วยตนเองจากการลงมือทําของผู ้ปฏิ บ ั ติใน
ระดั บต่างๆ ทําให้เห็นด้านทีทําแล้วให้ผลลั พธ์ทีดี หรือทําแล้ว
เกิ ดผลลั พธ์ทีไม่ดี โดยผ่านการชีชวน ชั กชวนของหั วหน้ าหน่ วยงาน
/
หั วหน้ าที ม/ผู ้นําองค์ กรให้บุคลากรนําความรู้ทีเกิ ดขึนมาแลกเปลียน
และเรียนรู้ เพือนํามาปรั บปรุงและพั ฒนาต่อไป

www.facebook.com/suradet.sri

Study : การอภิปรายกลุ ่ ม (Group discussion & learning)
เป็ นการนําแนวทางปฏิ บ ั ติ วิ ธีการทํางานCPG หรืออืนๆ ที ยั งมี
ความไม่เข้าใจที ตรงกั นของผู ้ปฏิ บ ั ติมาสู่การพูดคุย โดยมอบหมาย
ให้มีผ ู ้นําไปศึกษาก่อน จากนั นนํามาเรียนรู้ร่วมกั นในกลุ่มหรือที ม
เช่นการประชุมใน PCT ที มอบหมายให้ผ ู ้ทีมีส่วนเกียวข้องศึกษา
แนวทางการรั กษาความลั บของผู ้ป่วย ที ยั งเป็ นปัญหาในการปฏิ บ ั ติ
แล้วนํามาเรียนรู้ร่วมกั นในที ม เพือให้เกิ ดการพั ฒนาที ดีขึนต่อไป
หรือการพูดคุ ยในกลุ่มงานเทคนิ คการแพทย์ ว่า แนวทางการ
รายงานค่าวิ กฤติ ทีปฏิ บ ั ตินั นมีความเข้าใจที ตรงกั น ติ ดขั ด หรือไม่
สามารถปฏิ บ ั ติได้บ้างหรือไม่ จากนั นนํามาสู่การพั ฒนาต่อไป เป็ น
ต้น
www.facebook.com/suradet.sri

5
10/12/56

Study : สุนทรี ยสนทนา (Dialogue)
Dialogue หรือ สุนทรียสนทนาหมายถึง การสือสารภายในองค์กร
หน่ วยงาน ที ม ที มีล ั กษณะของการเปิ ดประเด็นสนทนาโดยกลุ่มคน
เกิ ดเป็ นวงสนทนา ทีกํ าหนดกฎ กติ กา มารยาทในการสนทนาไว้
เพือสร้างกระบวนการคิ ดร่วมกั นอย่างสร้างสรรค์ ไม่มีความขั ดแย้ง
ไม่มีบทสรุป เหมาะสํ าหรั บการพั ฒนากระบวนการคิ ด เพือสร้าง
ความเข้าใจในระดั บที หยั งลึก ทําให้มีการไหลของความหมายที
เรียกว่า Meaning Flow (คือ การที ทุกคนพูดในประเด็นเดียวกั น
(คื
ต่อเนื องกั น จนเกิ ดความหมายที ลึกซึง) จนตกผลึกเกิ ดเป็ นองค์
ง)
ความรู้ใหม่ในตั วคนฟั งที ลุ่มลึกกว่าชุดความรู้เดิ มที เคยมี

www.facebook.com/suradet.sri

หลั กการทีสํ าคั ญของ นทรียสนทนา
สุ




ฟังอย่างลึกซึง ตั งใจฟัง และฟังให้ได้ยิน
มีความเป็ นอิ สระ และผ่อนคลาย
เราทุกคนเท่าเทียมกั น ไม่มีผ ู ้นํา ไม่มีผ ู ้ตามในวงสนทนา

แนวทางการจั ดสุนทรียสนทนาตามแบบ SPEAKING

S : Setting คือการจั ดสถานที สภาพแวดล้อม และเวลาในการพูดคุย ควรจั ดสถานทีให้เป็ น
วงกลม จั ดทุกอย่างให้เท่าเทียมกั น ถ้าจั ดในสถานที มีความผ่อนคลาย ก็เป็ นการดี

P: Process คือเรืองราวทีเกิ ดขึ นภายในทีเราไม่สามารถคาดการณ์ได้ เป็ นไปตามเหตุ และปัจจั ย
ทีเกิ ดขึ นภายในวงสนทนานั น เพียงให้ผ ู ้ร่วมสนทนามีสติ ในการรั บฟังเรืองราวต่างๆทีมีการ
สนทนากั น ในทีสุดก็จะเกิ ดความรู ้ และพบคําตอบด้วยตนเอง

E: Ends

สุนทรียสนทนานั น ผู ้สนทนาไม่ควรนําเป้ าหมายส่วนตั ว หรือวาระส่วนตั วเข้าไปใช้ใน
วงสนทนา นอกจากนี พึงหลีกเลียงการตั งผลลั พธ์ไว้ล่วงหน้ า ไม่นําสิ งทีเชืออยู่ในใจตนออกมา
โต้แย้ง ถกเถียงกั นและกั น สุนทรียสนทนาจึงเหมาะสําหรั บเริ มต้นทํางานทีมีความซับซ้อน
หลากหลาย หรือต้องการแก้ไขปัญหาทียากๆร่วมกั น จึงไม่ควรมีการโอ้อวด ไม่แนะนําสั งสอน
หรือหวั งจุดประกายให้คนอืนคิ ดตาม รวมทั งไม่โต้แย้ง หรือยกยอปอปั น หรือตําหนิ ติเตียน

www.facebook.com/suradet.sri

6
10/12/56

A : Attitude ผู้ร่วมสนทนาควรมีท ั ศนคติ ทีดีต่อผู้อืน มีใจทีเปิ ดกว้างในการรั บฟั ง เพือสิ งที

ได้ร ั บฟั ง นํามาสู่การเรียนรู้ตนเองและเรียนรู้ผู้อืน ไม่ประณามผู้อืน หรือพูดถึงปัญหา
ของแต่ละฝ่ ายจนก่อความขั ดแย้งขึนในวงสนทนา

K : Key Actor คือผู้ประสานงานในการจั ดเตรียมสิ งต่างๆได้แก่ สถานที ผู้ทีเข้ามาร่วมในวง

สนทนาทีควรมีเป้ าหมายร่วมกันในการพั ฒนาอย่างใดอย่างหนึ ง รวมถึงผู้ประสานงาน
คุณภาพทีต้องแสดงบทบาทผู้ประสาน อํ านวยความสะดวกให้การสนทนาเป็ นไปตาม
กระบวนการ และราบรืน

I : Instrument คือพยามใช้ภาษาทีไม่เป็ นทางการต่างๆ ไม่พูดถ้อยคํ าทีเป็ นพิ ธีการในวง

สนทนา เช่นขออนุญาตพูดครับ/ค่ะ เพราะเราสามารถพูดได้ถ้ามี จ ั งหวะหรือเกิ ดความ
เงียบขึนในวงสนทนา

N : Norms of Interaction ความสั มพั นธ์ทีเกิ ดขึนในวงสนทนาต้ องมีความเท่าเทียมกัน ไม่
ยกตนข่มท่าน หรือแสดงออกว่าตนเองมีอ ํ านาจเหนื อกว่าในการสนทนา
G : Genre เป็ นการสนทนาเพือสร้างความร่วมมือกัน แบบเปิ ด ไม่มีเป้ าหมาย หรือวาระ
ไม่ใช่การถกเถียง ไม่ใช่การบรรยาย ไม่ใช่การประชุม หรือการสั งการ
www.facebook.com/suradet.sri

Study : การนําเสนอเพื อรับฟั งข้ อคิดเห็นหรื อข้ อวิพากษ์
เป็ นการนํ าเสนอวิ ธีการปฏิ บ ั ติงาน กระบวนการการทํางานCPG ทีได้มีการจั ดทํา
ในหน่ วยงานใด หน่ วยงานหนึ ง และมีการทดลองนําไปใช้ โดยนําเสนอต่ อเวที
หรือการประชุมในคณะกรรมการต่างๆ เช่น PCT ,,องค์กรพยาบาล, PTC เพือให้
องค์ รพยาบาล,
เกิ ดการเรียนรู้ร่วมกั น และพั ฒนาต่อไป เป็ นต้น

Study : การเขียนบันทึกความก้ าวหน้ า (Portfolio)

เป็ นการเขียนบั นทึกทีได้จากการตกผลึกทางความคิ ด ในการพั ฒนาคุณภาพหรือ
การให้บริ การ สามารถทีจะเขียนได้สองแนวทางคือ แบบที หนึ งคือเขียนแบบอิ สระ
เช่น การเขียนเรืองเล่าเร้าพลั ง (Narrative Medicine) หรือมีกรอบที กํ าหนดไว้ เช่น
Service Profile, Clinical tracer Highlight เป็ นต้น ซึงก็ จะพบโอกาสพั ฒนาหรือสิ ง
ทีดีทีเกิ ดขึ นในบั นทึ กฉบั บนั น

www.facebook.com/suradet.sri

7
10/12/56

Study : การใช้ การตามรอย (Tracer)
เป็ นการติ ดตามเข้าไปดู กระบวนการ วิ ธีปฏิ บ ั ติงานที เราคุ ้นเคย สามารถ
สั งเกตเห็นได้ในขั นตอนของกระบวนการ และการปฏิ บ ั ติของบุคลากรว่า
เป็ นอย่างไร การตามรอยนั นเราสามารถตามรอยเรืองใดก็ได้ ทุกเรือง ไม่ว่า
จะเป็ น การดูแลผู ้ป่วย สารสนเทศ ขั นตอนการเบิ กจ่ายพั สดุ การให้บริ การ
ของห้องปฏิ บ ั ติ หรือX-ray เป็ นต้น ซึงเมือตามรอยเราจะเห็นสิ งที ทํ าได้ดี
และโอกาสพั ฒนาในกระบวนการ

Study : การเยี ยมสํารวจ/ติดตามภายใน (Internal survey)
รวจ/
คือการเข้าเยียมสํ ารวจ และประเมิ นจากบุคลากรในองค์กรคือเยียมกั นเอง
สิ งสํ าคั ญที สุดของการเยียมคือ เป้ าหมายของการเยียมเป็ นการเข้าไปเพือให้
ความช่วยเหลือในส่วนที เป็ นอุปสรรคในการปฏิ บ ั ติงานหรือการพั ฒนาของ
หน่ วยงาน มากกว่าที จะเข้าไปประเมิ นเหมือนผู ้เยียมสํ ารวจโดยเป็ นการเข้า
เยียมร่วมกั นหลายฝ่ ายๆ โดยเฉพาะอย่างยิ ง ผู ้นําสูงสุดควรเข้าร่วมด้วย
www.facebook.com/suradet.sri

Study : การทบทวนหลังทํากิจกรรม (After action review : AAR)
เป็ นการทบทวนหลั งจากที เราปฏิ บ ั ติงาน หรือทํากิ จกรรมใด กิ จกรรมหนึ ง
แล้วเสร็ จ เช่น หลั งทํ าผ่าตั ดผู ้ป่วย,การส่งเวรระหว่างเวร,หลั งการสอบเที ยบ
งเวร,
เครืองมือ,หลั งการซ้อมแผนอั คคีภ ั ย หลั งการให้บริ การเมือมีอุบ ั ติหมู,่ หลั ง
,
การทํ า CPR เป็ นต้น เพือทบทวนว่าสิ งใดทํ าได้ดี และสิ งใดที เป็ นโอกาส
พั ฒนาที จะพั ฒนาต่อไป

Study : การติดตามตัวชี วัด
คือการวิ เคราะห์ และประเมิ นผลว่าสามารถบรรลุตามเป้ าหมายหรือไม่ โดย
ผ่านการเรียนรู้เชิ งปริ มาณ จากตั วชีวั ดที ได้ก ํ าหนดและสอดคล้องกั บ
เป้ าหมายที ตั งไว้ โดยเรียนรู้จากแนวโน้ มของตั วชีวั ดว่าดีขึน เสมอตั ว หรือ
งไว้
ลดลง เมือเทียบกั บเป้ าหมายที ตั งไว้หรือไม่ ที สํ าคั ญการเรียนรู้จากตั วชีวั ด
ต้องเรียนรู้เป็ นระยะ ระยะ ไม่ควรเรียนรู้เมือครบปี หรือครบเวลา เพราะอาจ
สายเกิ นไปหรือแก้ไขไม่ทัน และทํ าให้เห็นการเชือมโยงของข้อมูลในองค์ กร
อีกทั งควรนําการประเมิ นในด้านอืนๆ มาร่วมประเมิ นด้วยเช่น เชิ งคุณภาพ
งควรนํ
www.facebook.com/suradet.sri

8
10/12/56

Study : การทํากิจกรรมทบทวนคุณภาพ (Quality review activities)

เป็ นการเรียนรู้จากจุดอ่อน โอกาสพั ฒนา ความเสียง เหตุการณ์ ไม่พึง
ประสงค์ ข้อร้องเรียนที เกิ ดขึน หรือจากการทบทวนตนเองด้วย 12 กิ จกรรม
ทบทวน ซึงสิ งเหล่านี คือโอกาสที เราจะได้พ ั ฒนา ปรั บปรุงการปฏิ บ ั ติงาน
กระบวนการในการทํ างานให้มีความปลอดภั ย และรั ดกุ มมากขึน
อาจใช้
หลั กการแก้ไขที ระบบไม่ลงโทษตั วบุ คคล หรือไม่ใช่การทบทวนเพือเป็ นการ
จั บผิ ดคน แต่เป็ นการช่วยบุคคลให้ทํางานได้ดีขึน ปลอดภั ยมากขึน หรือ ใช้
หลั ก Hindsight Bias (การมองทุกมุมอย่างไม่มีอคติ) คือการมองว่าถ้าเป็ น
(การมองทุ
เราเมือมองย้อนหลั งไป เราจะทําแบบเดียวกั บเค้าหรือไม่ และเปิ ดโอกาสให้
ผู ้ทีอยู่ในเหตุ การณ์ ได้เล่าเรืองราวที เกิ ดขึนเพือหาจุดเริ มต้นของโอกาส
พั ฒนา และนํามาพั ฒนาต่อไปมา ซึงถ้าทบทวนด้วยแนวคิ ดแบบนี จะทําให้
การทบทวน การเรียนรู้ มีความสุข มีความสนุก ผู ้ทีอยู่ในเหตุการณ์ก็จะไม่
รู้สึกถู กกดดั นหรือคิ ดว่าถู กจั บผิ ด
โดยเฉพาะอย่างผู ้นําสูงสุด ผู ้นํา
ระดั บกลาง ผู ้นําระดั บต้น ควรยึดแนวคิ ดนี ในการทํากิ จกรรมทบทวน
คุณภาพ

www.facebook.com/suradet.sri

Study : การประเมินตนเอง

เป็ นการเรียนรู้จากประเมิ นตนเองตามมาตรฐานทีกําหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็ น SAR
2011 , Overall Scoring 2011 หรือการทบทวนเพือการธํ ารงขั นที2 ทีมีการนํา
SPA in Action มาใช้เป็ นกรอบในการประเมิ นตนเอง เพือให้ทราบว่า เมือนํ า
มาตรฐานมาปรั บใช้แล้วนั น เราสามารถปฏิ บ ั ติตามมาตรฐานได้มากน้ อยเพียงใด
สิ งใดเป็ นสิ งทีเราพั ฒนาได้ดี หรือสิ งใดยั งเป็ นโอกาสพั ฒนาอยู่ จากสิ งเหล่านี จะ
ทําให้เราสามารถเรียนรู้ได้ว่า เราจะพั ฒนาให้ได้ตามมาตรฐานให้ได้มากทีสุด
เพือให้เกิ ดมาตรฐาน ความปลอดภั ย และมีความรั ดกุ มขึ นได้อย่างไร

Study : การวิจัยประเมินผล
เป็ นการนําแนวคิ ดการวิ จ ั ยอย่างง่ายๆ มาใช้ประเมิ นการปฏิ บ ั ตอาจเป็ น
ิ
มาตรฐานทีสําคั ญๆ กระบวนการการดู แลผู ้ป่วยในกลุ่มโรคสําคั ญทีเรามุ่งเน้ น
โดยการเก็ บข้อมูลจํ านวนน้ อยทีสุดทีเพียงพอสําหรั บการแปลผล และกําหนด
เป้ าหมาย ขั นตอนกระบวนการ โอกาสพั ฒนา เพือให้ได้ข้อมูลทีชั ดเจน และ
น่ าเชือถือ ในการเรียนรู้ต่อไป
www.facebook.com/suradet.sri

9
10/12/56

Study : การทบทวนเวชระเบียน (Medical record review)
เป็ นการทบทวน เรียนรู้จากเอกสารทีลํ าค่าที ใช้ในการบั นทึ กกิ จกรรม
ขั นตอน กระบวนการต่างๆในการดู แลผู ้ป่วยนั นคือ
เวชระเบียน ซึงเรา
สามารถเรียนรู้ได้หลายแบบดั งนี
การทบทวนเวชระเบียนแบบสมบูรณ์ คือทบทวนความสมบูรณ์ ในการ
บั นทึ ก เพือพั ฒนาให้การบั นทึกมีความสมบูรณ์ และถู กต้องมากขึน
การทบทวนเพือให้เห็นถึงคุณภาพของกระบวนการการดูแลผู ้ป่วย โดยใช้
กระบวนการการดูแลผู ้ป่วย (Care process) เข้ามาจั บ เพือให้เห็นว่าแต่ละ
กระบวนการมีคุณภาพเพียงใด
ทบทวนเพือค้นหาเหตุการณ์ ไม่พึงประสงค์ โดยใช้เครืองมือที เรียกว่า
Trigger tool มาเป็ นแนวทางในการค้นหาเหตุการณ์ เพือนํามาสู่การพั ฒนา
ระบบมากกว่าทีจะลงโทษหรือตํ าหนิ ตั วบุคคล
www.facebook.com/suradet.sri

สรุ ปการเรี ยนรู ้ (Study)

จากสิ งที กล่าวมาข้างต้นนั น เป็ นวิ ธีการที เราจะใช้ในการเรียนรู้
นการเรี
หรือ Study ในวงจร PDSA เพือให้เราได้ทราบว่า แผนงาน วิ ธีการ
ปฏิ บ ั ติงาน กระบวนการทํางานเป็ นต้น สามารถตอบสนองต่อ
เป้ าหมายที เราได้วางไว้ได้มากน้ อยเพียงใด ซึงก็มีวิธีการที
หลากหลายที สามารถนํามาใช้ให้อย่างเป็ นรูปธรรม การที เราให้
ความสํ าคั ญก็เพราะการเรียนรู้ หรือ Study เป็ นขั นตอนที สํ าคั ญที
จะนําไปสู่การปรั บปรุง เปลียนแปลง หรือพั ฒนาให้กระบวนการ
นั นๆได้พ ั ฒนาให้ดียิงขึน ถ้าเราเรียนรู้แล้วพบว่าไม่บรรลุ หรือบรรลุ
ได้น้อยตามเป้ าหมายที เราตั งไว้ แต่ถ้าทําแล้ว เรียนรู้แล้วผลที ได้เข้า
ใกล้เป้ าหมาย หรือบรรลุเป้ าหมาย เราจะทําอย่างไรให้ดียิงขึน อีกทั ง
เป็ นตั วช่วยในการกระตุ ้นให้ร ั บรู้ถึงผลความสํ าเร็ จ ซึงนํามาสู่
ความสุขในการพั ฒนา แต่ทว่าความเป็ นจริ งที เกิ ดขึนในการพั ฒนา
นั น ถ้าวิ เคราะห์ ดีๆเราอาจให้ความสํ าคั ญกั บการเรียนรู้หรือ
Study
น้ อยเกิ นไปในวงล้อการพั ฒนา
www.facebook.com/suradet.sri

10
10/12/56

Action
Action ในความหมายคือการปรั บปรุง พั ฒนาตามผลลั พธ์ทีเกิ ดจากการ
เรียนรู้ หรือ Study อย่างต่อเนื อง ซึงผลลั พธ์ ทีได้มีสองแนวทางคือ ดีก ั บไม่ดี
ถ้าดีคือการบรรลุตามเป้ าหมายที เราตั งไว้ ก็อาจนําแนวทางนี มาใช้เป็ น
มาตรฐาน หรือวิ ธีการปฏิ บ ั ติงานต่อไป แต่ถ้าไม่ดีเราจะทําอย่างไร สิ งนี ก็
ขึนอยู่ก ั บผลจากการเรียนรู้คือ
เกิ ดจากวิ ธีการที ใช้ไม่มีประสิ ทธิ ภาพพอ จํ าเป็ นต้องเปลียนแปลงหรือ
ปรั บปรุงวิ ธีการให้ดียิงขึน ซึงแนวทางแบบนี ควรนําHFE หรือ Human
Factor Engineering (การปรั บสิ งแวดล้อมในการทํา มากกว่าปรั บที ตั ว
(การปรั
บุคคล) มาปรั บใช้เพือให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพสูงสุด
คล)
เกิ ดจากเราใช้ความพยามไม่เพียงพอ สิ งนี ก็ปรั บปรุงง่ายๆคือการเพิ มความ
พยายามให้มากขึน และมากขึน แล้วลองเรียนรู้อีกครั งว่าผลที ได้เป็ น
อย่างไร
www.facebook.com/suradet.sri

Action (ต่ อ)
(ต่
เกิ ดจากการขาดองค์ความรู้ในการปฏิ บ ั ติ สิ งนี อาจใช้วิธีการในการสอบถาม
ผู ้รู้ หรือศึกษาจากตํ ารา เอกสาร วิ ชาการ หรือCPG ที เป็ นมาตรฐานของราช
วิ ทยาลั ยต่างๆ นํามาปรั บปรุง พั ฒนา นั นคือใช้ ด Evidence Best
แนวคิ
Practice มาใช้ในการแก้ไข
ถ้าเราเรียนรู้แล้วว่าเป้ าหมายที วางไว้ ช่างห่างไกลเหลือเกิ น หรือทําไม่ได้
หรือเป็ นนามธรรมจนเกิ นไป สิ งนี ต้องพิ จารณาแล้วว่าเราควรจะเปลียน
เป้ าหมายหรือไม่ นั นคืออาจเป็ นเป้ าหมายที เล็ กลง แต่สามารถขยั บไปที ละ
น้ อยเพือเข้าใกล้เป้ าหมายใหญ่ทีตั งไว้ หรือเปลียนเป้ าหมายให้เป็ น
นามธรรมมากขึน จั บต้องได้ เพือให้สามารถบรรลุได้ แต่ทว่าการเปลียน
เป้ าหมายนั นควรจะเป็ นทางเลือกสุดท้ ายในการปรั บเปลียน ถ้าเห็นว่า
จํ าเป็ น และไม่มีทางเลือกอืน เพือไม่ให้เกิ ดการพั ฒนาอย่างไร้ทิศ ไร้ทาง
www.facebook.com/suradet.sri

11
10/12/56

P-D-S-A
เป้ าหมาย (Purpose)

Plan

Action

Do

Study

จากวงจร PDSA เราจะเห็นได้ว่า การหมุน
จะเริ มตั งแต่การวางแผน - การลงมือทํา –
การเรียนรู้ – การปรั บปรุง หมุนเวียนกั นไป
แบบนี จนบรรลุตามเป้ าหมายทีเราตั งไว้ แต่
ทว่าการบรรลุเป้ าหมายมิ ใช่เป็ นการบอกว่า
วิ ธีการนี กระบวนการนี วิ ธีการปฏิ บ ั ตินีถึง
ทีสุดแล้วในการพั ฒนา ถ้าเป็ นเวลานี ตอนนี
ใช่ แต่ถ้าเวลาเปลียน บริ บทเปลียน
เครืองมือเปลียน วิ ทยาการเปลียน ความรู้
เปลียน เป้ าหมายเปลียน แนวทางนี ก็ จะ
ล้าสมั ย ก็ จะต้องหมุนด้วยPDSA กั นต่อไป
เพราะ PDSA คือวงล้อคุ ณภาพทีหมุนไม่มี
วั นหยุดครั บ

www.facebook.com/suradet.sri

ตัวอย่างการนํ า PDSA มาใช้เพื อใช้ในการพัฒนาคุณภาพแบบง่ายๆ
ตามสไตล์ 3P
เราทํ างานกันอย่างไร
ทํ าไมต้ องมีเรา
ทํ าไปเพืออะไร Plan/Design -> Do ทํ าได้ ดีหรือไม่
Purpose
Process
Performance
Study/Learn
Act/Improve

จะทํ าให้ ดีขึ นได้ อย่างไร

www.facebook.com/suradet.sri

12
10/12/56

ตัวอย่ างการนํา PDSA มาใช้ เพื อการปรั บปรุ งการทํางานของผู ้ บริหารในหน่ วยงาน/ทีม/องค์ กร
ยงาน/

ผู้บริ หาร

เป้ าหมาย
(Purpose)

Plan

Plan

ผู้บริ หาร

Action

Action

Do

ผู้ปฏิ บ ั ติ

Study

Study

ผู ้บริ หาร และผู ้ประเมิน

www.facebook.com/suradet.sri

ตัวอย่ างการนํา PDSA มาใช้ เพื อใช้ ในการพัฒนาคุณภาพระดับหน่ วยงาน
Service Profile
กรอบทีใช้ ก ํ ากับการพัฒนาคุณภาพ
ของแต่ละหน่วยในองค์กร

หลั กคิดสําคั ญ
(Core Values & Concepts)

ทํางานประจําให้ดี มีอะไรให้ค ุ ยกั น ขยั นทบทวน
เปาหมายชั ด วัดผลได้ ให้ค ุ ณค่า อย่ายึดติด
้

บริบท
ความต้ องการ
ของผู ้ รับผลงาน

ข้ อกําหนด
ทางวิชาชีพ

จุดเน้น
ขององค์ กร

ประเด็นคุณภาพทีสํ าคัญ

ตัวชี วัด

Performance

Purpose
พันธกิจ/เจตจํ านง
(หน้าที & เปาหมาย)
้
กระบวนการหลัก
โรค/หัตถการสํ าคัญ
(เฉพาะบริ การดูแลผู้ป่ วย
)
www.facebook.com/suradet.sri

ทบทวน
ประเมิ น
เรียนรู้
Study

วัตถุประสงค์

Do

Process
ประเด็นสํ าคัญ
ความเสียงสํ าคัญ
ความต้ องการ
ความคาดหวัง

Act
ปรับปรุง

Plan
ออกแบบระบบ

ประเด็นย่อยในแต่ละ
กระบวนการ/โรค
26

13
10/12/56

ตัวอย่างการนํา PDSA มาใช้เพื อการพัฒนาเพื อมุ ่ งผลสัมฤทธิ ขององค์ กร
เป้ าหมาย (Purpose)

การถ่ายทอดแผนปฏิ บ ั ติการ

Plan

Action

ผลลัพธ์การปฏิ บ ั ติเพือตอบสนอง
ต่อแผนขององค์กร

แผนปฏิ บ ั ติการโรงพยาบาล

Do

3C

Study

3C ทีต้องใช้กํากั บ

Plan
Plan

C : คุณค่าทีเรามอบให้
C : กํ ากั บด้วยมาตรฐาน
C : สิ งทีเราเป็ นอยู่ (บริ บท)
ท)

Action

Action

Do

3C

Study
Study

Plan

Plan

Action

Do

Action

Study

Plan

Do

Study

Action

Plan

Do

Study

Do

Study

Plan

Do

Action

Study

Plan

Action

แผนปฏิ บ ั ติการกลุ่มงาน

Do

Action

แผนปฏิ บ ั ติการหน่ วยงาน

Plan

Do

Study

3C

Action

Do

Study

การปฏิ บ ั ติของบุคลากร

3C

www.facebook.com/suradet.sri

บทส่ งท้ าย … P-D-S-A
เมือเรากํ าหนดเป้ าหมายทีชั ดเจนแล้ว
การวางแผนนั น ถ้าเข้าใจถูกต้อง ก็จะคิ ดถู กต้อง
การลงมือทํานั น ถ้าทุ่มเทถู กต้อง ก็จะกระทําถูกต้อง
การเรียนรู้นั น ถ้าควบคุมถู กต้อง ก็จะเรียนรู้ถ ูกต้อง
การปรั บปรุงนั น เราก็จะพั ฒนาได้อย่างถู กต้อง

การพั ฒนาก็จะประสบความสําเร็ จ และมีความสุข
ดัดแปลงจากบทความของ อ.ชั ชวาล อรวงศ์ศุภทั ต
อ.
www.facebook.com/suradet.sri

14
10/12/56

เอกสารอ้ างอิง








โสฬส ศิ ริไสย์. 2548. วิ ธีการสนทนาแบบมนุษย์ส ั มผั สมนุษย์ และการ
ริ ไสย์ 2548.
เปลียนวิ ธีคิดด้วยการฟังอย่างลึกซึง.สํานักงานทรานส์ทีม เครือข่ายการ
ง.
ที
วิ จ ั ยบูรณาการลุ่มนําท่าจีน-แม่กลอง คณะสิ งแวดล้อมและทรั พยากร
ณาการลุ
ศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยมหิ ดล.
ล.
ชั ชวาล อรวงศ์ศุ ภทั ต 2555. เอกสารการทํางานให้มีประสิ ทธิ ภาพด้วย
ศุ
2555.
PDCA.
สํานักประเมิ นและรั บรอง. 2556. คู ่มือการพั ฒนาและรั บรองคุ ณภาพตาม
รอง. 2556.
มาตรฐาน HA สําหรั บสถานพยาบาล. สถาบั นรั บรองคุ ณภาพ
สถานพยาบาล.
สถานพยาบาล.
สถานพยาบาล.
น.พ.อนุว ั ฒน์ ศุ ภชุติก ุ ล.2551. เลือนไหล เลียบเลาะ เจาะลึก เล่ม 1 .
2551.
สถาบั นรั บรองคุ ณภาพสถานพยาบาล
.
รศ. นพ.
รศ. นพ. ธวั ช ชาญชญานนท์.2555. เอกสารแนวคิ ดพืนฐานในการพั ฒนา
ชาญชญานนท์ 2555.
คุ ณภาพโรงพยาบาล. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร์.
ภาพโรงพยาบาล.
ทร์.

www.facebook.com/suradet.sri

15

More Related Content

What's hot

สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาวิทวัส รัตนวิรุฬห์
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotWeerachai Jansook
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 

What's hot (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 

Viewers also liked

ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนคู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนSosad ByKok
 
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยงใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559Taraya Srivilas
 
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงแนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 
Simple simple ha for unit suradet sri
Simple simple ha for unit   suradet sriSimple simple ha for unit   suradet sri
Simple simple ha for unit suradet sriSuradet Sriangkoon
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (9)

PDCA
PDCAPDCA
PDCA
 
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนคู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
 
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยงใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
 
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงแนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
Simple simple ha for unit suradet sri
Simple simple ha for unit   suradet sriSimple simple ha for unit   suradet sri
Simple simple ha for unit suradet sri
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
 

Similar to PDSA

การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124guest417609
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
ค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียนค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียนAonaon Krubpom
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshopinanza
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะPiyamas Songtronge
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4nattawad147
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4benty2443
 

Similar to PDSA (20)

การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
Work1m34 39 40
Work1m34 39 40Work1m34 39 40
Work1m34 39 40
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
ค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียนค่ายอาเซียน
ค่ายอาเซียน
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshop
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 

More from Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูรSuradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementSuradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...Suradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลSuradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

More from Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 

PDSA

  • 2. 10/12/56 อะไรคือ ….PDSA PDSA เป็ นเครืองมือในการพั ฒนาคุ ณภาพชนิ ดหนึ ง โดยย่อมาจากคํ า ว่า Plan-D0-Study-Act ซึงประยุกต์มาจากวงล้อคุ ณภาพที เป็ นตํ านาน Plan- Studyคือ วงล้อของเดมมิ ง (PDCA) ปรมาจารย์ ด้านการพั ฒนาคุ ณภาพ ผู ้ที ของเดมมิ เป็ นส่วนหนึ งในการวางรากฐานกระบวนการพั ฒนาคุ ณภาพให้ก ั บ ประเทศญีปุ ่ นจนยิ งใหญ่ในปัจจุบ ั น โดยการดั ดแปลงจาก C (Check) เป็ น S (Study) เพือให้เกิ ดความลุ่มลึก ว่ามิ ใช่เพียงการตรวจสอบการ ปฏิ บ ั ติหรือลงมือกระทํ าเท่ านั น แต่เป็ นการเข้าไปเรียนรู้ว่าสิ งที เราลง มือทําไปนั นให้บทเรียน ให้ข้อมูล ให้เราได้เรียนรู้ว่าดีขึน หรือเป็ น โอกาสพั ฒนาที เราจะพั ฒนาต่อไปในอนาคตได้อย่างไร www.facebook.com/suradet.sri PDSA มีความหมายว่ าอย่ างไร P : Plan คือการกํ าหนด/ออกแบบ แนวทาง ,วิ ธีการทํางาน, แผน หนด/ งาน, ยุทธศาสตร์ ,แผนปฏิ บ ั ติการ,CPG, วิ ธีปฏิ บ ั ติงาน หรืออืนๆ ที จะ บอกว่าขั นตอนในการทํ านั นเป็ นอย่างไร คืออะไร D : Do คือการลงมือทําตามแนวทางที กํ าหนดไว้ S : Study คือการเรียนรู้หลั งจากการที เราได้ลงมือทําหรือขณะทํา ตามแนวทางนั น ผลลั พธ์ทีเกิ ดขึนจากการลงมือทําไม่ว่าจะดีขึน หรือแย่ลง ล้วนแล้วแต่เป็ นข้อมูลที มีคุ ณค่า ที จะให้เราพั ฒนาและ ก้าวต่อไป A : Action คือการเข้าปรั บปรุง เปลียนแปลงตามผลลั พธ์ทีได้เรียนรู้ (Study) อย่างต่อเนื อง หลั กคิ ดที จะนํามาช่วยให้Action มี ประสิ ทธิ ภาพคือ HFE หรือ Human Factor Engineering (การปรั บ (การปรั สิ งแวดล้อมในการทํา มากกว่าปรั บที ตั ว คคล ) บุ www.facebook.com/suradet.sri 2
  • 3. 10/12/56 Plan คือการกํ าหนด/ออกแบบ แนวทาง วิ ธีการทํางาน แผนยุทธศาสตร์ หนด/ แผนปฏิ บ ั ติการCPG วิ ธีปฏิ บ ั ติงาน หรืออืนๆ ที จะบอกว่าขั นตอนใน การทํ านั นเป็ นอย่างไร คืออะไร สิ งที สํ าคั ญอย่างหนึ งคือ แผนที เรา วางนั นควรตอบสนองต่อ เป้ าหมาย ที กํ าหนดไว้ เพราะการ วางแผน การดํ าเนิ นการใดๆถ้าไม่ก ํ าหนดให้สอดคล้องหรือยึดกั บ เป้ าหมายที ตั งไว้ก็เปรียบเสมือนการเตรียมเรือเพือออกท้ องทะเลที กว้างใหญ่ แต่ไม่ทราบว่าจะไปที ใด ดั งนั นเป้ าหมายจึงเป็ นสิ งสํ าคั ญ ที ทําให้แผนนั นสามารถตอบสนองได้ตรงจุด ไม่เปลืองแรง ไม่เปลือง ทรั พยากร และช่วยแก้ไข/ส่งเสริ มในสิ งที เป็ นความจริ ง โอกาส ข/ พั ฒนา ที องค์ กร/หน่ วยงาน/ที มงานประสบอยู่ ร/ ยงาน/ www.facebook.com/suradet.sri อะไรคือสิ งที ควรมีใน….. เปาหมาย น….. ้ เป้ าหมายทีดีและชั ดเจนย่อมส่งผลต่อแผนการดํ าเนิ นงาน(Plan) ให้มี กรอบในการลงมือทําทีชั ดเจน และไม่หลงทิ ศ หลงทาง แต่การที จะ ได้สิงเหล่านี องค์ประกอบในเป้ าหมายที ดีนั น ควรมีด ั งต่อไปนี มีความเฉพาะเจาะจง และชั ดเจน เราสามารถทีจะวั ดหรือประเมิ นผลได้ เป็ นที ยอมรั บของผู ้ปฏิ บ ั ติทุกฝ่ าย ตั งอยู่บนพืนฐานข้อเท็จจริ ง ความจริ งคือบริ บทขององค์กร / หน่ วยงาน มีกรอบระยะเวลาที ชั ดเจนในการปฏิ บ ั ติ มีความท้ าทาย และเพิ มพูนศั กยภาพของบุคลากร/หน่ วยงาน ลากร/ คุ ้มค่าและดีก ั บทุกฝ่ ายคือตั วเรา ผู ้ร ั บริ การ และองค์ กร www.facebook.com/suradet.sri 3
  • 4. 10/12/56 DO เป็ นการลงมือทําหรือปฏิ บ ั ติตามแผน(Plan) ที เรากํ าหนดไว้ อย่าง ต่อเนื อง และมีการตรวจสอบเป็ นระยะๆว่าสิ งที เราปฏิ บ ั ตินั นยั งคง อยู่ในแผนที วางไว้ และมีแนวโน้ มว่าให้ผลลั พธ์อย่างที เราตั งใจไว้ หรือไม่ สิ งสํ าคั ญอีกประการหนึ งคือ การพูดคุย สือสารกั บบุคลากร ในที มงานอย่างสมํ าเสมอในระหว่างการปฏิ บ ั ติ เพราะจะทําให้ทุก คนได้ทราบว่าสิ งที เรากํ าลั งปฏิ บ ั ตินั นเป็ นอย่างไร แนวโน้ มคืออะไร อย่าปฏิ บ ั ติไปโดยที ไม่ตรวจสอบเป็ นระยะ หรือไม่พูดคุ ยกั น พอ สุดท้ ายเมือถึงเวลาในการประเมิ นผลที เกิ ดขึน มั นอาจสายเกิ นไปที จะปรั บปรุง เปลียนแปลงขั นตอนการปฏิ บ ั ติ เพือนําไปสู่สิงที ตั งใจไว้ อีกทั งควรกํ าหนดให้ช ั ดเจนในแผนว่า ใครทํ าอะไร ที ไหน อย่างไร เพือให้เกิ ดความชั ดเจนในการปฏิ บ ั ติ www.facebook.com/suradet.sri Study ถ้าตามวงล้อของเดมมิ งคือ การตรวจสอบ (Check) แต่ได้มีการ ของเดมมิ ปรั บปรุงให้เป็ น Study หมายถึงการเรียนรู้ ซึงการเรียนรู้นั นมีความ ลุ่มลึก และสามารถให้ข้อมูลได้ว่าสิ งที เราปฏิ บ ั ติไปนั นให้ผลลั พธ์ เป็ นอย่างไร คือ ดีขึน เสมอตั ว หรือ แย่ลง ซึงจากการที เราใช้การ เรียนรู้เข้าไปค้นหาคํ าตอบนั นจะทําให้เราไม่ยึดติ ดกั บกรอบว่าเป็ น เพียงแค่ “การตรวจสอบ” คืออาจตรวจแล้วก็ ผ่านไป แต่ไม่นําข้อมูล การตรวจสอบ” ที เราตรวจสอบได้นํามาสู่การพั ฒนาต่อไป ซึงตรงนี คือหั วใจสํ าคั ญ ของ PDSA อีกประการหนึ งในขั นตอนการเรียนรู้นั น ก็ควรที จะ กํ าหนดว่า เราจะเรียนรู้ก ั นบ่อยเพียงใด เรียนรู้อะไรบ้าง ซึงวิ ธีการที เราจะเรียนรู้จากทํา (DO) นั นมีมากมายหลายแบบ ดั งต่อไปนี www.facebook.com/suradet.sri 4
  • 5. 10/12/56 Study : การแลกเปลี ยนเรียนรู ้ (Knowledge sharing) คือการแบ่งปัน แลกเปลียนความรู้ซึงกั นและกั นจากการที เราได้ลง มือทําหรือปฏิ บ ั ติร่วมกั นในหน่ วยงานที ม/องค์ กร แล้วเกิ ดความรู้ / ขึนมา ซึงความรู้ทีเกิ ดขึนเราอาจเรียกว่าความรู้เฉพาะตนบ้าง ความรู้นอกตํ าราบ้าง ซึงความรู้อ ั นนี ถือว่าเป็ นความรู้ทีมีคุ ณค่า เพราะเกิ ดจากเรียนรู้ด้วยตนเองจากการลงมือทําของผู ้ปฏิ บ ั ติใน ระดั บต่างๆ ทําให้เห็นด้านทีทําแล้วให้ผลลั พธ์ทีดี หรือทําแล้ว เกิ ดผลลั พธ์ทีไม่ดี โดยผ่านการชีชวน ชั กชวนของหั วหน้ าหน่ วยงาน / หั วหน้ าที ม/ผู ้นําองค์ กรให้บุคลากรนําความรู้ทีเกิ ดขึนมาแลกเปลียน และเรียนรู้ เพือนํามาปรั บปรุงและพั ฒนาต่อไป www.facebook.com/suradet.sri Study : การอภิปรายกลุ ่ ม (Group discussion & learning) เป็ นการนําแนวทางปฏิ บ ั ติ วิ ธีการทํางานCPG หรืออืนๆ ที ยั งมี ความไม่เข้าใจที ตรงกั นของผู ้ปฏิ บ ั ติมาสู่การพูดคุย โดยมอบหมาย ให้มีผ ู ้นําไปศึกษาก่อน จากนั นนํามาเรียนรู้ร่วมกั นในกลุ่มหรือที ม เช่นการประชุมใน PCT ที มอบหมายให้ผ ู ้ทีมีส่วนเกียวข้องศึกษา แนวทางการรั กษาความลั บของผู ้ป่วย ที ยั งเป็ นปัญหาในการปฏิ บ ั ติ แล้วนํามาเรียนรู้ร่วมกั นในที ม เพือให้เกิ ดการพั ฒนาที ดีขึนต่อไป หรือการพูดคุ ยในกลุ่มงานเทคนิ คการแพทย์ ว่า แนวทางการ รายงานค่าวิ กฤติ ทีปฏิ บ ั ตินั นมีความเข้าใจที ตรงกั น ติ ดขั ด หรือไม่ สามารถปฏิ บ ั ติได้บ้างหรือไม่ จากนั นนํามาสู่การพั ฒนาต่อไป เป็ น ต้น www.facebook.com/suradet.sri 5
  • 6. 10/12/56 Study : สุนทรี ยสนทนา (Dialogue) Dialogue หรือ สุนทรียสนทนาหมายถึง การสือสารภายในองค์กร หน่ วยงาน ที ม ที มีล ั กษณะของการเปิ ดประเด็นสนทนาโดยกลุ่มคน เกิ ดเป็ นวงสนทนา ทีกํ าหนดกฎ กติ กา มารยาทในการสนทนาไว้ เพือสร้างกระบวนการคิ ดร่วมกั นอย่างสร้างสรรค์ ไม่มีความขั ดแย้ง ไม่มีบทสรุป เหมาะสํ าหรั บการพั ฒนากระบวนการคิ ด เพือสร้าง ความเข้าใจในระดั บที หยั งลึก ทําให้มีการไหลของความหมายที เรียกว่า Meaning Flow (คือ การที ทุกคนพูดในประเด็นเดียวกั น (คื ต่อเนื องกั น จนเกิ ดความหมายที ลึกซึง) จนตกผลึกเกิ ดเป็ นองค์ ง) ความรู้ใหม่ในตั วคนฟั งที ลุ่มลึกกว่าชุดความรู้เดิ มที เคยมี www.facebook.com/suradet.sri หลั กการทีสํ าคั ญของ นทรียสนทนา สุ    ฟังอย่างลึกซึง ตั งใจฟัง และฟังให้ได้ยิน มีความเป็ นอิ สระ และผ่อนคลาย เราทุกคนเท่าเทียมกั น ไม่มีผ ู ้นํา ไม่มีผ ู ้ตามในวงสนทนา แนวทางการจั ดสุนทรียสนทนาตามแบบ SPEAKING S : Setting คือการจั ดสถานที สภาพแวดล้อม และเวลาในการพูดคุย ควรจั ดสถานทีให้เป็ น วงกลม จั ดทุกอย่างให้เท่าเทียมกั น ถ้าจั ดในสถานที มีความผ่อนคลาย ก็เป็ นการดี P: Process คือเรืองราวทีเกิ ดขึ นภายในทีเราไม่สามารถคาดการณ์ได้ เป็ นไปตามเหตุ และปัจจั ย ทีเกิ ดขึ นภายในวงสนทนานั น เพียงให้ผ ู ้ร่วมสนทนามีสติ ในการรั บฟังเรืองราวต่างๆทีมีการ สนทนากั น ในทีสุดก็จะเกิ ดความรู ้ และพบคําตอบด้วยตนเอง E: Ends สุนทรียสนทนานั น ผู ้สนทนาไม่ควรนําเป้ าหมายส่วนตั ว หรือวาระส่วนตั วเข้าไปใช้ใน วงสนทนา นอกจากนี พึงหลีกเลียงการตั งผลลั พธ์ไว้ล่วงหน้ า ไม่นําสิ งทีเชืออยู่ในใจตนออกมา โต้แย้ง ถกเถียงกั นและกั น สุนทรียสนทนาจึงเหมาะสําหรั บเริ มต้นทํางานทีมีความซับซ้อน หลากหลาย หรือต้องการแก้ไขปัญหาทียากๆร่วมกั น จึงไม่ควรมีการโอ้อวด ไม่แนะนําสั งสอน หรือหวั งจุดประกายให้คนอืนคิ ดตาม รวมทั งไม่โต้แย้ง หรือยกยอปอปั น หรือตําหนิ ติเตียน www.facebook.com/suradet.sri 6
  • 7. 10/12/56 A : Attitude ผู้ร่วมสนทนาควรมีท ั ศนคติ ทีดีต่อผู้อืน มีใจทีเปิ ดกว้างในการรั บฟั ง เพือสิ งที ได้ร ั บฟั ง นํามาสู่การเรียนรู้ตนเองและเรียนรู้ผู้อืน ไม่ประณามผู้อืน หรือพูดถึงปัญหา ของแต่ละฝ่ ายจนก่อความขั ดแย้งขึนในวงสนทนา K : Key Actor คือผู้ประสานงานในการจั ดเตรียมสิ งต่างๆได้แก่ สถานที ผู้ทีเข้ามาร่วมในวง สนทนาทีควรมีเป้ าหมายร่วมกันในการพั ฒนาอย่างใดอย่างหนึ ง รวมถึงผู้ประสานงาน คุณภาพทีต้องแสดงบทบาทผู้ประสาน อํ านวยความสะดวกให้การสนทนาเป็ นไปตาม กระบวนการ และราบรืน I : Instrument คือพยามใช้ภาษาทีไม่เป็ นทางการต่างๆ ไม่พูดถ้อยคํ าทีเป็ นพิ ธีการในวง สนทนา เช่นขออนุญาตพูดครับ/ค่ะ เพราะเราสามารถพูดได้ถ้ามี จ ั งหวะหรือเกิ ดความ เงียบขึนในวงสนทนา N : Norms of Interaction ความสั มพั นธ์ทีเกิ ดขึนในวงสนทนาต้ องมีความเท่าเทียมกัน ไม่ ยกตนข่มท่าน หรือแสดงออกว่าตนเองมีอ ํ านาจเหนื อกว่าในการสนทนา G : Genre เป็ นการสนทนาเพือสร้างความร่วมมือกัน แบบเปิ ด ไม่มีเป้ าหมาย หรือวาระ ไม่ใช่การถกเถียง ไม่ใช่การบรรยาย ไม่ใช่การประชุม หรือการสั งการ www.facebook.com/suradet.sri Study : การนําเสนอเพื อรับฟั งข้ อคิดเห็นหรื อข้ อวิพากษ์ เป็ นการนํ าเสนอวิ ธีการปฏิ บ ั ติงาน กระบวนการการทํางานCPG ทีได้มีการจั ดทํา ในหน่ วยงานใด หน่ วยงานหนึ ง และมีการทดลองนําไปใช้ โดยนําเสนอต่ อเวที หรือการประชุมในคณะกรรมการต่างๆ เช่น PCT ,,องค์กรพยาบาล, PTC เพือให้ องค์ รพยาบาล, เกิ ดการเรียนรู้ร่วมกั น และพั ฒนาต่อไป เป็ นต้น Study : การเขียนบันทึกความก้ าวหน้ า (Portfolio) เป็ นการเขียนบั นทึกทีได้จากการตกผลึกทางความคิ ด ในการพั ฒนาคุณภาพหรือ การให้บริ การ สามารถทีจะเขียนได้สองแนวทางคือ แบบที หนึ งคือเขียนแบบอิ สระ เช่น การเขียนเรืองเล่าเร้าพลั ง (Narrative Medicine) หรือมีกรอบที กํ าหนดไว้ เช่น Service Profile, Clinical tracer Highlight เป็ นต้น ซึงก็ จะพบโอกาสพั ฒนาหรือสิ ง ทีดีทีเกิ ดขึ นในบั นทึ กฉบั บนั น www.facebook.com/suradet.sri 7
  • 8. 10/12/56 Study : การใช้ การตามรอย (Tracer) เป็ นการติ ดตามเข้าไปดู กระบวนการ วิ ธีปฏิ บ ั ติงานที เราคุ ้นเคย สามารถ สั งเกตเห็นได้ในขั นตอนของกระบวนการ และการปฏิ บ ั ติของบุคลากรว่า เป็ นอย่างไร การตามรอยนั นเราสามารถตามรอยเรืองใดก็ได้ ทุกเรือง ไม่ว่า จะเป็ น การดูแลผู ้ป่วย สารสนเทศ ขั นตอนการเบิ กจ่ายพั สดุ การให้บริ การ ของห้องปฏิ บ ั ติ หรือX-ray เป็ นต้น ซึงเมือตามรอยเราจะเห็นสิ งที ทํ าได้ดี และโอกาสพั ฒนาในกระบวนการ Study : การเยี ยมสํารวจ/ติดตามภายใน (Internal survey) รวจ/ คือการเข้าเยียมสํ ารวจ และประเมิ นจากบุคลากรในองค์กรคือเยียมกั นเอง สิ งสํ าคั ญที สุดของการเยียมคือ เป้ าหมายของการเยียมเป็ นการเข้าไปเพือให้ ความช่วยเหลือในส่วนที เป็ นอุปสรรคในการปฏิ บ ั ติงานหรือการพั ฒนาของ หน่ วยงาน มากกว่าที จะเข้าไปประเมิ นเหมือนผู ้เยียมสํ ารวจโดยเป็ นการเข้า เยียมร่วมกั นหลายฝ่ ายๆ โดยเฉพาะอย่างยิ ง ผู ้นําสูงสุดควรเข้าร่วมด้วย www.facebook.com/suradet.sri Study : การทบทวนหลังทํากิจกรรม (After action review : AAR) เป็ นการทบทวนหลั งจากที เราปฏิ บ ั ติงาน หรือทํากิ จกรรมใด กิ จกรรมหนึ ง แล้วเสร็ จ เช่น หลั งทํ าผ่าตั ดผู ้ป่วย,การส่งเวรระหว่างเวร,หลั งการสอบเที ยบ งเวร, เครืองมือ,หลั งการซ้อมแผนอั คคีภ ั ย หลั งการให้บริ การเมือมีอุบ ั ติหมู,่ หลั ง , การทํ า CPR เป็ นต้น เพือทบทวนว่าสิ งใดทํ าได้ดี และสิ งใดที เป็ นโอกาส พั ฒนาที จะพั ฒนาต่อไป Study : การติดตามตัวชี วัด คือการวิ เคราะห์ และประเมิ นผลว่าสามารถบรรลุตามเป้ าหมายหรือไม่ โดย ผ่านการเรียนรู้เชิ งปริ มาณ จากตั วชีวั ดที ได้ก ํ าหนดและสอดคล้องกั บ เป้ าหมายที ตั งไว้ โดยเรียนรู้จากแนวโน้ มของตั วชีวั ดว่าดีขึน เสมอตั ว หรือ งไว้ ลดลง เมือเทียบกั บเป้ าหมายที ตั งไว้หรือไม่ ที สํ าคั ญการเรียนรู้จากตั วชีวั ด ต้องเรียนรู้เป็ นระยะ ระยะ ไม่ควรเรียนรู้เมือครบปี หรือครบเวลา เพราะอาจ สายเกิ นไปหรือแก้ไขไม่ทัน และทํ าให้เห็นการเชือมโยงของข้อมูลในองค์ กร อีกทั งควรนําการประเมิ นในด้านอืนๆ มาร่วมประเมิ นด้วยเช่น เชิ งคุณภาพ งควรนํ www.facebook.com/suradet.sri 8
  • 9. 10/12/56 Study : การทํากิจกรรมทบทวนคุณภาพ (Quality review activities) เป็ นการเรียนรู้จากจุดอ่อน โอกาสพั ฒนา ความเสียง เหตุการณ์ ไม่พึง ประสงค์ ข้อร้องเรียนที เกิ ดขึน หรือจากการทบทวนตนเองด้วย 12 กิ จกรรม ทบทวน ซึงสิ งเหล่านี คือโอกาสที เราจะได้พ ั ฒนา ปรั บปรุงการปฏิ บ ั ติงาน กระบวนการในการทํ างานให้มีความปลอดภั ย และรั ดกุ มมากขึน อาจใช้ หลั กการแก้ไขที ระบบไม่ลงโทษตั วบุ คคล หรือไม่ใช่การทบทวนเพือเป็ นการ จั บผิ ดคน แต่เป็ นการช่วยบุคคลให้ทํางานได้ดีขึน ปลอดภั ยมากขึน หรือ ใช้ หลั ก Hindsight Bias (การมองทุกมุมอย่างไม่มีอคติ) คือการมองว่าถ้าเป็ น (การมองทุ เราเมือมองย้อนหลั งไป เราจะทําแบบเดียวกั บเค้าหรือไม่ และเปิ ดโอกาสให้ ผู ้ทีอยู่ในเหตุ การณ์ ได้เล่าเรืองราวที เกิ ดขึนเพือหาจุดเริ มต้นของโอกาส พั ฒนา และนํามาพั ฒนาต่อไปมา ซึงถ้าทบทวนด้วยแนวคิ ดแบบนี จะทําให้ การทบทวน การเรียนรู้ มีความสุข มีความสนุก ผู ้ทีอยู่ในเหตุการณ์ก็จะไม่ รู้สึกถู กกดดั นหรือคิ ดว่าถู กจั บผิ ด โดยเฉพาะอย่างผู ้นําสูงสุด ผู ้นํา ระดั บกลาง ผู ้นําระดั บต้น ควรยึดแนวคิ ดนี ในการทํากิ จกรรมทบทวน คุณภาพ www.facebook.com/suradet.sri Study : การประเมินตนเอง เป็ นการเรียนรู้จากประเมิ นตนเองตามมาตรฐานทีกําหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็ น SAR 2011 , Overall Scoring 2011 หรือการทบทวนเพือการธํ ารงขั นที2 ทีมีการนํา SPA in Action มาใช้เป็ นกรอบในการประเมิ นตนเอง เพือให้ทราบว่า เมือนํ า มาตรฐานมาปรั บใช้แล้วนั น เราสามารถปฏิ บ ั ติตามมาตรฐานได้มากน้ อยเพียงใด สิ งใดเป็ นสิ งทีเราพั ฒนาได้ดี หรือสิ งใดยั งเป็ นโอกาสพั ฒนาอยู่ จากสิ งเหล่านี จะ ทําให้เราสามารถเรียนรู้ได้ว่า เราจะพั ฒนาให้ได้ตามมาตรฐานให้ได้มากทีสุด เพือให้เกิ ดมาตรฐาน ความปลอดภั ย และมีความรั ดกุ มขึ นได้อย่างไร Study : การวิจัยประเมินผล เป็ นการนําแนวคิ ดการวิ จ ั ยอย่างง่ายๆ มาใช้ประเมิ นการปฏิ บ ั ตอาจเป็ น ิ มาตรฐานทีสําคั ญๆ กระบวนการการดู แลผู ้ป่วยในกลุ่มโรคสําคั ญทีเรามุ่งเน้ น โดยการเก็ บข้อมูลจํ านวนน้ อยทีสุดทีเพียงพอสําหรั บการแปลผล และกําหนด เป้ าหมาย ขั นตอนกระบวนการ โอกาสพั ฒนา เพือให้ได้ข้อมูลทีชั ดเจน และ น่ าเชือถือ ในการเรียนรู้ต่อไป www.facebook.com/suradet.sri 9
  • 10. 10/12/56 Study : การทบทวนเวชระเบียน (Medical record review) เป็ นการทบทวน เรียนรู้จากเอกสารทีลํ าค่าที ใช้ในการบั นทึ กกิ จกรรม ขั นตอน กระบวนการต่างๆในการดู แลผู ้ป่วยนั นคือ เวชระเบียน ซึงเรา สามารถเรียนรู้ได้หลายแบบดั งนี การทบทวนเวชระเบียนแบบสมบูรณ์ คือทบทวนความสมบูรณ์ ในการ บั นทึ ก เพือพั ฒนาให้การบั นทึกมีความสมบูรณ์ และถู กต้องมากขึน การทบทวนเพือให้เห็นถึงคุณภาพของกระบวนการการดูแลผู ้ป่วย โดยใช้ กระบวนการการดูแลผู ้ป่วย (Care process) เข้ามาจั บ เพือให้เห็นว่าแต่ละ กระบวนการมีคุณภาพเพียงใด ทบทวนเพือค้นหาเหตุการณ์ ไม่พึงประสงค์ โดยใช้เครืองมือที เรียกว่า Trigger tool มาเป็ นแนวทางในการค้นหาเหตุการณ์ เพือนํามาสู่การพั ฒนา ระบบมากกว่าทีจะลงโทษหรือตํ าหนิ ตั วบุคคล www.facebook.com/suradet.sri สรุ ปการเรี ยนรู ้ (Study) จากสิ งที กล่าวมาข้างต้นนั น เป็ นวิ ธีการที เราจะใช้ในการเรียนรู้ นการเรี หรือ Study ในวงจร PDSA เพือให้เราได้ทราบว่า แผนงาน วิ ธีการ ปฏิ บ ั ติงาน กระบวนการทํางานเป็ นต้น สามารถตอบสนองต่อ เป้ าหมายที เราได้วางไว้ได้มากน้ อยเพียงใด ซึงก็มีวิธีการที หลากหลายที สามารถนํามาใช้ให้อย่างเป็ นรูปธรรม การที เราให้ ความสํ าคั ญก็เพราะการเรียนรู้ หรือ Study เป็ นขั นตอนที สํ าคั ญที จะนําไปสู่การปรั บปรุง เปลียนแปลง หรือพั ฒนาให้กระบวนการ นั นๆได้พ ั ฒนาให้ดียิงขึน ถ้าเราเรียนรู้แล้วพบว่าไม่บรรลุ หรือบรรลุ ได้น้อยตามเป้ าหมายที เราตั งไว้ แต่ถ้าทําแล้ว เรียนรู้แล้วผลที ได้เข้า ใกล้เป้ าหมาย หรือบรรลุเป้ าหมาย เราจะทําอย่างไรให้ดียิงขึน อีกทั ง เป็ นตั วช่วยในการกระตุ ้นให้ร ั บรู้ถึงผลความสํ าเร็ จ ซึงนํามาสู่ ความสุขในการพั ฒนา แต่ทว่าความเป็ นจริ งที เกิ ดขึนในการพั ฒนา นั น ถ้าวิ เคราะห์ ดีๆเราอาจให้ความสํ าคั ญกั บการเรียนรู้หรือ Study น้ อยเกิ นไปในวงล้อการพั ฒนา www.facebook.com/suradet.sri 10
  • 11. 10/12/56 Action Action ในความหมายคือการปรั บปรุง พั ฒนาตามผลลั พธ์ทีเกิ ดจากการ เรียนรู้ หรือ Study อย่างต่อเนื อง ซึงผลลั พธ์ ทีได้มีสองแนวทางคือ ดีก ั บไม่ดี ถ้าดีคือการบรรลุตามเป้ าหมายที เราตั งไว้ ก็อาจนําแนวทางนี มาใช้เป็ น มาตรฐาน หรือวิ ธีการปฏิ บ ั ติงานต่อไป แต่ถ้าไม่ดีเราจะทําอย่างไร สิ งนี ก็ ขึนอยู่ก ั บผลจากการเรียนรู้คือ เกิ ดจากวิ ธีการที ใช้ไม่มีประสิ ทธิ ภาพพอ จํ าเป็ นต้องเปลียนแปลงหรือ ปรั บปรุงวิ ธีการให้ดียิงขึน ซึงแนวทางแบบนี ควรนําHFE หรือ Human Factor Engineering (การปรั บสิ งแวดล้อมในการทํา มากกว่าปรั บที ตั ว (การปรั บุคคล) มาปรั บใช้เพือให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพสูงสุด คล) เกิ ดจากเราใช้ความพยามไม่เพียงพอ สิ งนี ก็ปรั บปรุงง่ายๆคือการเพิ มความ พยายามให้มากขึน และมากขึน แล้วลองเรียนรู้อีกครั งว่าผลที ได้เป็ น อย่างไร www.facebook.com/suradet.sri Action (ต่ อ) (ต่ เกิ ดจากการขาดองค์ความรู้ในการปฏิ บ ั ติ สิ งนี อาจใช้วิธีการในการสอบถาม ผู ้รู้ หรือศึกษาจากตํ ารา เอกสาร วิ ชาการ หรือCPG ที เป็ นมาตรฐานของราช วิ ทยาลั ยต่างๆ นํามาปรั บปรุง พั ฒนา นั นคือใช้ ด Evidence Best แนวคิ Practice มาใช้ในการแก้ไข ถ้าเราเรียนรู้แล้วว่าเป้ าหมายที วางไว้ ช่างห่างไกลเหลือเกิ น หรือทําไม่ได้ หรือเป็ นนามธรรมจนเกิ นไป สิ งนี ต้องพิ จารณาแล้วว่าเราควรจะเปลียน เป้ าหมายหรือไม่ นั นคืออาจเป็ นเป้ าหมายที เล็ กลง แต่สามารถขยั บไปที ละ น้ อยเพือเข้าใกล้เป้ าหมายใหญ่ทีตั งไว้ หรือเปลียนเป้ าหมายให้เป็ น นามธรรมมากขึน จั บต้องได้ เพือให้สามารถบรรลุได้ แต่ทว่าการเปลียน เป้ าหมายนั นควรจะเป็ นทางเลือกสุดท้ ายในการปรั บเปลียน ถ้าเห็นว่า จํ าเป็ น และไม่มีทางเลือกอืน เพือไม่ให้เกิ ดการพั ฒนาอย่างไร้ทิศ ไร้ทาง www.facebook.com/suradet.sri 11
  • 12. 10/12/56 P-D-S-A เป้ าหมาย (Purpose) Plan Action Do Study จากวงจร PDSA เราจะเห็นได้ว่า การหมุน จะเริ มตั งแต่การวางแผน - การลงมือทํา – การเรียนรู้ – การปรั บปรุง หมุนเวียนกั นไป แบบนี จนบรรลุตามเป้ าหมายทีเราตั งไว้ แต่ ทว่าการบรรลุเป้ าหมายมิ ใช่เป็ นการบอกว่า วิ ธีการนี กระบวนการนี วิ ธีการปฏิ บ ั ตินีถึง ทีสุดแล้วในการพั ฒนา ถ้าเป็ นเวลานี ตอนนี ใช่ แต่ถ้าเวลาเปลียน บริ บทเปลียน เครืองมือเปลียน วิ ทยาการเปลียน ความรู้ เปลียน เป้ าหมายเปลียน แนวทางนี ก็ จะ ล้าสมั ย ก็ จะต้องหมุนด้วยPDSA กั นต่อไป เพราะ PDSA คือวงล้อคุ ณภาพทีหมุนไม่มี วั นหยุดครั บ www.facebook.com/suradet.sri ตัวอย่างการนํ า PDSA มาใช้เพื อใช้ในการพัฒนาคุณภาพแบบง่ายๆ ตามสไตล์ 3P เราทํ างานกันอย่างไร ทํ าไมต้ องมีเรา ทํ าไปเพืออะไร Plan/Design -> Do ทํ าได้ ดีหรือไม่ Purpose Process Performance Study/Learn Act/Improve จะทํ าให้ ดีขึ นได้ อย่างไร www.facebook.com/suradet.sri 12
  • 13. 10/12/56 ตัวอย่ างการนํา PDSA มาใช้ เพื อการปรั บปรุ งการทํางานของผู ้ บริหารในหน่ วยงาน/ทีม/องค์ กร ยงาน/ ผู้บริ หาร เป้ าหมาย (Purpose) Plan Plan ผู้บริ หาร Action Action Do ผู้ปฏิ บ ั ติ Study Study ผู ้บริ หาร และผู ้ประเมิน www.facebook.com/suradet.sri ตัวอย่ างการนํา PDSA มาใช้ เพื อใช้ ในการพัฒนาคุณภาพระดับหน่ วยงาน Service Profile กรอบทีใช้ ก ํ ากับการพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละหน่วยในองค์กร หลั กคิดสําคั ญ (Core Values & Concepts) ทํางานประจําให้ดี มีอะไรให้ค ุ ยกั น ขยั นทบทวน เปาหมายชั ด วัดผลได้ ให้ค ุ ณค่า อย่ายึดติด ้ บริบท ความต้ องการ ของผู ้ รับผลงาน ข้ อกําหนด ทางวิชาชีพ จุดเน้น ขององค์ กร ประเด็นคุณภาพทีสํ าคัญ ตัวชี วัด Performance Purpose พันธกิจ/เจตจํ านง (หน้าที & เปาหมาย) ้ กระบวนการหลัก โรค/หัตถการสํ าคัญ (เฉพาะบริ การดูแลผู้ป่ วย ) www.facebook.com/suradet.sri ทบทวน ประเมิ น เรียนรู้ Study วัตถุประสงค์ Do Process ประเด็นสํ าคัญ ความเสียงสํ าคัญ ความต้ องการ ความคาดหวัง Act ปรับปรุง Plan ออกแบบระบบ ประเด็นย่อยในแต่ละ กระบวนการ/โรค 26 13
  • 14. 10/12/56 ตัวอย่างการนํา PDSA มาใช้เพื อการพัฒนาเพื อมุ ่ งผลสัมฤทธิ ขององค์ กร เป้ าหมาย (Purpose) การถ่ายทอดแผนปฏิ บ ั ติการ Plan Action ผลลัพธ์การปฏิ บ ั ติเพือตอบสนอง ต่อแผนขององค์กร แผนปฏิ บ ั ติการโรงพยาบาล Do 3C Study 3C ทีต้องใช้กํากั บ Plan Plan C : คุณค่าทีเรามอบให้ C : กํ ากั บด้วยมาตรฐาน C : สิ งทีเราเป็ นอยู่ (บริ บท) ท) Action Action Do 3C Study Study Plan Plan Action Do Action Study Plan Do Study Action Plan Do Study Do Study Plan Do Action Study Plan Action แผนปฏิ บ ั ติการกลุ่มงาน Do Action แผนปฏิ บ ั ติการหน่ วยงาน Plan Do Study 3C Action Do Study การปฏิ บ ั ติของบุคลากร 3C www.facebook.com/suradet.sri บทส่ งท้ าย … P-D-S-A เมือเรากํ าหนดเป้ าหมายทีชั ดเจนแล้ว การวางแผนนั น ถ้าเข้าใจถูกต้อง ก็จะคิ ดถู กต้อง การลงมือทํานั น ถ้าทุ่มเทถู กต้อง ก็จะกระทําถูกต้อง การเรียนรู้นั น ถ้าควบคุมถู กต้อง ก็จะเรียนรู้ถ ูกต้อง การปรั บปรุงนั น เราก็จะพั ฒนาได้อย่างถู กต้อง การพั ฒนาก็จะประสบความสําเร็ จ และมีความสุข ดัดแปลงจากบทความของ อ.ชั ชวาล อรวงศ์ศุภทั ต อ. www.facebook.com/suradet.sri 14
  • 15. 10/12/56 เอกสารอ้ างอิง      โสฬส ศิ ริไสย์. 2548. วิ ธีการสนทนาแบบมนุษย์ส ั มผั สมนุษย์ และการ ริ ไสย์ 2548. เปลียนวิ ธีคิดด้วยการฟังอย่างลึกซึง.สํานักงานทรานส์ทีม เครือข่ายการ ง. ที วิ จ ั ยบูรณาการลุ่มนําท่าจีน-แม่กลอง คณะสิ งแวดล้อมและทรั พยากร ณาการลุ ศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยมหิ ดล. ล. ชั ชวาล อรวงศ์ศุ ภทั ต 2555. เอกสารการทํางานให้มีประสิ ทธิ ภาพด้วย ศุ 2555. PDCA. สํานักประเมิ นและรั บรอง. 2556. คู ่มือการพั ฒนาและรั บรองคุ ณภาพตาม รอง. 2556. มาตรฐาน HA สําหรั บสถานพยาบาล. สถาบั นรั บรองคุ ณภาพ สถานพยาบาล. สถานพยาบาล. สถานพยาบาล. น.พ.อนุว ั ฒน์ ศุ ภชุติก ุ ล.2551. เลือนไหล เลียบเลาะ เจาะลึก เล่ม 1 . 2551. สถาบั นรั บรองคุ ณภาพสถานพยาบาล . รศ. นพ. รศ. นพ. ธวั ช ชาญชญานนท์.2555. เอกสารแนวคิ ดพืนฐานในการพั ฒนา ชาญชญานนท์ 2555. คุ ณภาพโรงพยาบาล. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร์. ภาพโรงพยาบาล. ทร์. www.facebook.com/suradet.sri 15