SlideShare a Scribd company logo
1
บทที่ 1
โครงการ “การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร”
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวภัทรวดี ปะกิเนทัง รหัสนิสิต 55540188
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ดร. ภูเบศ เลื่อมใส
หลักการและเหตุผล
การนาเสนอข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ หรือเนื้อหาเรื่องราวที่เป็นสาระสาคัญต่าง ๆ ให้ผู้อื่นที่เป็น
ผู้ฟังหรือผู้ชมรับรู้และเข้าใจรวมทั้งมีความสุขกับการรับ ฟังด้วยแล้วนับว่าเป็นความสามารถพิเศษอย่างหนึ่ง
ของผู้นาเสนอหรือเป็นความดีงามของกระบวนการนาเสนอโดยรวมที่สร้างความนิยมและความชื่นชมให้กับ
ผู้ฟังได้มาก ทาให้ผู้นาเสนอกลายเป็น "ดาวเด่น" หรือ "ดารา" ขึ้นได้ชั่วพริบตา
ปัญหา อย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นได้แก่ การนาเสนอที่สร้างความเบื่อหน่ายและกลายเป็นการสร้างความไม่
พอใจให้ผู้ฟัง เป็นอย่างมาก ซึ่งจะสามารถพบเห็นได้จากการนาเสนอผ่านสื่อต่าง ๆ ที่นามาใช้เป็นช่องทาง
ของการนาเสนอเช่น ทางโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ หรือแม้แต่ในเวทีที่มีการอภิปราย ปาฐกถา แม้แต่ใน
สภาผู้แทนราษฎร รวมทั้งในชั้นเรียนที่มีครู/อาจารย์เป็นผู้นาเสนอและผู้เรียนเป็นผู้ฟังก็ ยังเกิดขึ้นได้บ่อย ๆ
เช่นกัน
การนาเสนอที่สร้างความเบื่อหน่ายทาให้ โอกาสเป็น "ดาวเด่น" หรือ "ดารา" ที่มีผู้คนชื่นชอบชื่นชม
จานวนมากหายไป หรือ ผู้ที่เป็น "ดาวเด่น" หรือ "ดารา" ที่มีผู้คนชื่นชอบจานวนมากอยู่เป็นทุนแล้วเพราะมี
ฐานะทางสังคมที่ดี มีตาแหน่งหน้าที่การงานอันมีเกียรติก็ตาม อาจกลายเป็นดาวดับที่อับแสง และเต็มไปด้วย
ความไม่พอใจของผู้คน ถ้าเป็นในชั้นเรียนครู/อาจารย์ที่มีการสอนและนาเสนออย่างเบื่อหน่ายจะทาให้
นักเรียน/นักศึกษาไม่ชอบและไม่เคารพรักได้เช่นกัน
วิทยาการที่ใช้ เป็นหลักการและแนวทางของการนาเสนอที่ช่วยลดความเบื่อหน่ายและชวนให้น่า
ติดตามนั้น นอกจากเทคนิควิธีและกระบวนการอื่น ๆ ที่มีนักวิชาการเขียนไว้เป็นตาราและเอกสารเกี่ยวกับ
เรื่อง "เทคนิคการนาเสนอ" จานวนมากแล้ว ยังมีวิทยาการอีกสาขาวิชาหนึ่งที่มีนักวิชาการเขียนไว้เป็นตารา
หรือเอกสาร น้อยมากคือ เรื่องของการออกแบบสาร (Message Design) ที่ดีและมีประสิทธิภาพสาหรับการ
นาเสนอ
2
วิทยาการที่เกี่ยวกับการนา เสนอนั้นเกี่ยวข้องกับศาสตร์หลายศาสตร์ มีความซับซ้อนทั้งในเชิงของ
หลักการและทฤษฎีการรับรู้ การเรียนรู้ ทฤษฎีการสื่อสาร และกระบวนการออกแบบสื่อ การออกแบบสาร
และเทคโนโลยีที่นามาใช้ในการสร้างสื่อต่าง ๆ มีการศึกษาวิจัยในระดับสูงถึงระดับปริญญาเอก และหลัง
ปริญญาเอกอีกด้วย
แต่ สาหรับการทางานนาเสนอโดยทั่วไปแล้ว "การออกแบบสาร" น่าจะเป็นประเด็นที่ยังขาดการให้
ความสาคัญและความเข้าใจในหลักการ ซึ่งข้อมูลในบทความเพียงเท่านี้ก็เพียงพอสาหรับการออกแบบสาร
เพื่อการนาเสนอ ได้อย่างมีคุณภาพแล้ว ถ้าผู้นาเสนอได้ตระหนักและยินดีที่จะใช้หลักการออกแบบสารและ
วิธีการในบทความ นี้เพื่อการเตรียมตัวสาหรับการนาเสนอ ท่านก็จะมั่นใจว่าผู้ฟัง หรือ ผู้ชมจะไม่เบื่อหน่าย
กับการนาเสนอของท่านอีกต่อไป และนอกจากนั้น ท่านยังมีโอกาสเป็น "ดาวเด่น" หรือ "ดารา" ที่มีผู้คนชื่น
ชอบและชื่นชมจานวนมากอีกด้วย
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อรวบรวมจัดกลุ่มองค์ความรู้ สาคัญที่เกี่ยวของกับการออกแบบสารตาม กระบวนการการ
จัดการความรู้
2. เพื่อออกแบบสารสนเทศจัดการความรู้เรื่องการออกแบบสาร
3. เพื่อประเมินคุณภาพสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้เรื่องการออกแบบสาร
สมมติฐานของการศึกษา
บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด (80/80)
ขอบเขตของการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ มุ่งพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารและเพื่อให้การศึกษาเป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตการศึกษา ดังนี้
3
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร
ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยมลัยบูรพา จานวน 20 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิมยาลัยบูรพาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดย
วิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ
สารแบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้
2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ
สาร แบบเดี่ยว จานวน 3 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ
สาร แบบกลุ่ม จานวน 9 คน
2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ
สาร แบบภาคสนาม จานวน 30 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
1. บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
2. แบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
3. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตัวแปรที่ศึกษา
การศึกษาครั้งนี้มีตัวแปรที่ศึกษา 2 ตัวคือ
4
1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสารที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น
2. ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ได้เรียนเนื้อหาจากบทเรียนผ่าน
เครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การออกแบบสาร ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็นหัวข้อ
ต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
2. การผลิตและการออกแบบบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
นิยามศัพย์เฉพาะ
การออกแบบ (Design) หมายถึง การออกแบบโครงสรางเว็บไซต์การจัดตาแหน่งและ ออกแบบ
สวนติดต่อผู้ใช้ (User interface) จัดกลุ่ม หมวดหมู่ข้อมูล (Categorize) รวมถึงภาพกราฟก และการใช้สี
(Graphics design)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) หมายถึงกระบวนการจัดระบบ ระเบียบของ
ความรู้เกี่ยวกับเรือ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ ที่มีอยู่กระจัดกระจายสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์โดย
5
กระบวนการการจัดการความรู้เพื่อให้มี ประสิทธิภาพต่อการเรียนรู้ใช้งานสูงสุดรวมทั้งยังสามารถนาไปสู่
การต่อยอดพัฒนาองค์รู้ใหม่ๆ ได้อีกด้วย
การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) หมายถึงการระบุความต้องการ และ ความรู้เป้าหมาย
เพื่อที่จะนามาจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งความรู้ในงานวิจัยเล่มนี้หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบ
สาร
การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) หมายถึง กระบวนการในการ
พัฒนา รวบรวมความรู้ในเรื่องเป้าหมาย ที่ได้จาก เอกสารงานวิจัย ตารา เว็บไซต์รวมทั้งบุคคลที่มีความรู้และ
ประสบการณ์
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) หมายถึงการนาความรู้ที่ได้จาก การเก็บ
รวบรวมมาได้นั้นนามาจัดระบบระเบียบ เป็นกลุ่มของข้อมูลเพื่อให้สามารถนาไปออกแบบ สารสนเทศเพื่อ
การจัดการความรู้ได้
การประมวลผลและกรั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) หมายถึง การ
นาเอาความรู้ความเข้าใจที่เก็บรวบรวมได้นามาประมวลผลวิเคราะห์สรุป เพื่อการ ออกแบบรูปแบบของสื่อ
สารสนเทศที่เหมาะสมต่อองค์ความร้และการนาไปใช้งานจริง
การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) หมายถึง สื่อสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ที่ มี
ความสามารถในการเข้าถึง ใช้งานผ่านระบบได้จากทั่วโลกให้บริการได้ตลอดเวลาผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
และซอฟแวร์เว็บบราวเซอร์
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) หมายถึง สื่อสารสนเทศเพื่อการ จัดการความรู้
ที่มีความสามารถในการเปิดโอกาสให้มีการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ที่ผู้ใช้แต่ละคนมีได้อย่างอิสระ
อันจะนาไปสู่การขยายอาณาเขตความรู้และพัฒนาองค์ความรู้ให้ ครอบคลุมแล้วกว้างขวางมากยิ่งขึ้น
การเรียนรู้ (Learning) หมายถึงการที่ผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็นคนทั่วไป นักวิชาการ หรือที่ สนใจในเรื่องการ
ออกแบบสารต่างได้รับความรู้หรือข้อมูลใหม่ๆ ที่ตนเองไม่เคยรู้มาก่อนในเรื่องการออแบบสาร จาก
การศึกษาขอมูลและเนื้อหาจากส่วนประกอบต่างๆ ในสื่อสารสนเทศเพื่อการจัดการ ความรู้เรื่องการ
ออกแบบสารนี้
6
ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) หมายถึงผู้มีความรู้ทักษะ ประสบการณ์หรือมีสวนเกี่ยวข้องกับการออกแบบ
สาร
สื่อสารสนเทศ (Information Media) หมายถึง สื่อที่มีความสามารถสอดคล้องตาม หลักการจัดการ
ความรู้โดยจะต้องเป็นสื่อที่ผู้ใช้สามารถเข้าไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลและแลกเปลี่ยน ความรู้ใหม่ๆ ได้ซึ่งใน
ปัจจุบัน เว็บไซต์ (Website) ถือเป็นสื่อสารสนเทศที่เหมาะสมที่สุดแต่ ความสามารถในเว็บไซต์นั้นจะต้องมี
ความสามารถที่สอดคล้องต่อแนวคิดและผลการศึกษาด้วย
2. ข้อดีและข้อจากัดของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
2.1 ข้อดีของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารมีข้อดีดังต่อไปนี้
2.1.1. เป็นสื่อที่รวมเอาจุดเด่นของสื่อแบบต่างๆมารวมอยู่ในสื่อตัวเดียว คือสามารถแสดงภาพแสง
เสียงภาพเคลื่อนไหวและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้
2.1.2 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาวิชาได้เร็วขึ้น (สิทธิพร บุญญานุวัตร
,2540 : 24)
2.1.3 ครูสามารถใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการชักจูงผู้เรียนในการอ่าน,
การฟัง และการพูดได้(Roffey, 1995)
2.1.4 มีความสามารถในการออนไลน์ผ่านเครือข่าย และเชื่อมโยงไปสู่โฮมเพจและเวปไซต์ต่างๆอีก
ทั้งยังสามารถอ้างอิงในเชิงวิชาการได้
2.1.5 หากบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือ
อินทราเน็ตจะทาให้กระจายสื่อได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวางกว่าสื่อที่อยู่ในรูปสิ่งพิมพ์ (“ หนังสือพิมพ์
ออนไลน์นวัตกรรมแห่งสื่ออนาคต”, 2541 : 60)
2.1.6 สนับสนุนการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนจริงห้องสมุดเสมือนและห้องสมุด
2.17 มีลักษณะไม่ตายตัวสามารถแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาอีกทั้งยังสามารถ
เชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้โดยใช้ความสามารถของไฮเปอร์เท็กซ์
7
2.1.8 ในการสอนหรืออบรมนอกสถานที่การใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะช่วย
ให้เกิดความคล่องตัวยิ่งขึ้น เนื่องจากสื่อสามารถสร้างเก็บไว้ในแผ่นซีดีได้ ไม่ต้องหอบหิ้วสื่อซึ่งมีจานวน
มาก
2.1.9 การพิมพ์ทาได้รวดเร็วกว่าการใช้กระดาษสามารถทาสาเนาได้เท่าที่ต้องการประหยัดวัสดุใน
การสร้างสื่อ อีกทั้งยังช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกด้วย
2.1.10 มีความทนทานและสะดวกแก่การเก็บบารุงรักษาลดปัญหาการเก็บเอกสารย้อนหลังซึ่งต้อง
ใช้เนื้อที่หรือบริเวณกว้างในการจัดเก็บสามารถรักษาหนังสือหายากและต้นฉบับเขียนไม่ให้เสื่อมคุณภาพ
2.1.11 ช่วยให้นักวิชาการและนักเขียนสามารถเผยแพร่ผลงานเขียนได้อย่างรวดเร็ว
2.2 ข้อจากัดของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารถึงแม้ว่าบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่อง
การออกแบบสารจะมีข้อดีที่สนับสนุนด้านการเรียนการสอนมากมายแต่ก็ยังมีข้อจากัดด้วยดังต่อไปนี้
2.2.1 คนไทยส่วนใหญ่ยังคงชินอยู่กับสื่อที่อยู่ในรูปกระดาษมากกว่า (“หนังสือพิมพ์ออนไลน์
นวัตกรรมสื่อแห่งอนาคต”, 2541 : 60) อีกทั้งบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารยังไม่สามารถใช้
งานได้ง่ายเมื่อเทียบกับสื่อสิ่งพิมพ์ และความสะดวกในการอ่านก็ยังน้อยกว่ามาก
2.2.2 หากโปรแกรมสื่อมีขนาดไฟล์ใหญ่มากๆ จะทาให้การเปลี่ยนหน้าจอมีความล่าช้า
2.2.3 การสร้างบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพที่ดีผู้สร้างต้องมี
ความรู้และความชานาญในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการสร้างสื่อดีพอสมควร
2.2.4 ผู้ใช้สื่ออาจไม่ใช่ผู้สร้างสื่อฉะนั้นการปรับปรุงสื่อจึงทาได้ยากหากผู้สอนไม่มีความรู้ด้าน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
2.2.5 ใช้เวลาในการออกแบบมากเพราะต้องใช้ทักษะในการออกแบบเป็นอย่างดีเพื่อให้ได้สื่อที่มี
คุณภาพ
3. การใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการเรียนการสอน
8
ในอดีตสื่อการศึกษาที่เริ่มต้นใช้ในการเรียนการสอน คือสื่อสิ่งพิมพ์ซึ่งใช้กันมานานหลายร้อยปี
และยังคงใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพสูง (เอี่ยม ฉายางาม, 2534
: 14) ถึงแม้ว่าสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อที่ไม่มีวันหายไปจากวงการเรียนการสอนได้เลย แม้เวลาจะผ่านไปอีกร้อยปี
หรือพันปีข้างหน้า แต่อาจจะมีการเปลี่ยนรูปแบบเป็นไฮเปอร์เทกซ์แทน (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2534 : 5)
เทคโนโลยีไฮเปอร์เทกซ์เป็นเทคโนโลยีที่อานวยความสะดวกแก่การคิดของมนุษย์ และสอดคล้องกับ
ธรรมชาติส่วนใหญ่ของมนุษย์ที่ไม่ชอบคิดอะไรต่อเนื่องกันยาวๆ อยู่เพียงเรื่องเดียว (ครรชิต มาลัยวงศ์,
2534 : 16) ไฮเปอร์เทกซ์จะแสดงข้อความในรูปแบบที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถกระโดดจากเนื้อหาหนึ่งไปยังอีก
เนื้อหาหนึ่งง่ายดาย หรือเจาะลึกไปยังเนื้อหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้มากเท่าที่ต้องการ เทคโนโลยีไฮเปอร์เทกซ์
ไม่ได้เข้ามาแทนที่ในหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ หากแต่จะช่วยฟื้นฟูบทบาทของหนังสือให้มีความสาคัญดังเดิม
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2540 : 223)
บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเป็นสื่อที่ใช้ความสามารถของไฮเปอร์เทกซ์สนับสนุน
การเรียนรู้ทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอนทางไกล, การเรียนที่ยืดหยุ่น,สนับสนุนการเรียนรู้
รายบุคคล และการเรียนแบบร่วมมือในการเรียนการสอนทางไกล (Barker,1996 : 16) โดยสามารถใช้เป็น”
เครื่องช่วยสอน” (Instrutional) ทั้งนี้เนื่องจากเป็นเครื่องมือในการสอน และอุปกรณ์ที่ให้ความรู้ที่หนังสือ
ธรรมดาไม่สามารถจะให้ได้ด้วยลักษณะการปฏิสัมพันธ์,น้าหนักเบาพกพาได้สะดวก,ใช้งานง่ายตลอดจน
พฤติกรรมที่เป็นพลวัต บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารบางประเภทสามารถที่จะนาไป
ประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบการเรียนรู้ส่วนบุคคลของผู้อ่าน มีการดัดแปลงรูปร่างภายนอกของบทเรียนผ่าน
เครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการนาเสนอเพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกชอบและอยากเรียนรู้ (Collis,1991 : 356)
ได้แก่ การออกแบบเป็นเครื่องแบบกระเปาหิ้วที่มีน้าหนักเบา พกพาสะดวด หน้าจออ่านง่ายสบายตา และ
ได้รับการออกแบบอย่างสวยงามหุ้มด้วยหนังหรือวัสดุอย่างดี หน้าจออ่านง่ายสบายตา มรการพลิกหน้า
ใกล้เคียงกับการอ่านหนังสือเล่ม มีการคาดการณ์กันว่าบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะ
ประสบผลสาเร็จในการเรียนการสอน ภายหลังจากศตวรรษที่ 20 อย่างแน่นอน (Diana and Hieden, 1994 :
113) ตัวอย่างการนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารไปใช้ในการสอนมีดังนี้
ปี 1990 บีเนสท์ (Benest, 1990,quoted in Barker, 1996 : 16) ได้มีการจินตนาการภาพไว้ว่าจะมีการ
ใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในลักษณะของ การเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
(Computer – Assisted Learning) สาหรับนักศึกษาในมหาวิทยาลัย เขาใช้ซอฟท์แวร์เลียนแบบหนังสือใน
การค้นหาการสอนแบบบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในลักษณะของ “เลกเชอร์ออนไลน์”
9
เขากล่าวว่า จะทาให้เสียเวลาในการเรียนแบบบรรยายลดลง และใช้เวลาที่เหลือในการทากิจกรรมอื่น เช่น
กิจกรรมแก้ปัญหา, การฝึกปฏิบัติ,การอภิปรายกลุ่มและการช่วยกันทางาน เป็นต้น การเริ่มต้นออกแบบและ
ผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเพื่อการสอนนั้นบาร์คเกอร์ และกิลเลอร์ (Barker
(1991,1993)and Giller (1992), quoted in Barker, 1996 : 16) ได้ทดลองหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับเด็กวัยรุ่น
เป็นชุดปฏิสัมพันธ์แบบไฮเปอร์มีเดียโดยใช้เรื่องราวของการสารวจ และเกมที่สอนเกี่ยวกับอักขระ
ภาษาอังกฤษบนซีดีรอม ต่อมาก็ได้ศึกษาเรื่องมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อการสอนเรื่องภาษาฝรั่งเศสซึ่ง
พิมพ์ลงบนซีดีรอม ตลอดจนการทดลองการสอนโดยใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการ
สอนเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ (Barker,1994,quoted in Barker,1996 : 16) ได้ใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่อง
การออกแบบสารในการนาเสนอภาพยนตร์ ซึ่งได้รับผลสาเร็จด้วยดีในการศึกษาผู้ใหญ่ จากการวิเคราะห์
การศึกษาข้างต้นในแนวลึกนั้นพบว่าได้รับผลที่น่าพึงพอใจในการใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสารและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อการสอน
การใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการเรียนการสอน นอกจากผู้เรียนจะได้รับ
ความรู้จากตัวบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเองแล้ว ยังสามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้จากเวป
ไซต์ที่เกี่ยวข้องได้อีกด้วยเพื่อกระต้นให้ผู้เรียนเกิดความตื่นตัวในการเรียนรู้ ซึ่งเหมาะกับผู้เรียนทุกระดับ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับมหาวิทยาลัยซึ่งมีเครื่องมือครบครัน
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสาร
ตั้งแต่ปี 1990 บาร์คเกอร์และกิลเลอร์ (Barker and Giller,1992,quoted in Barker, 1992 : 144-147)
ได้มีการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตาของการผลิตและการใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ
สารให้เป็นประโยชน์ เพื่อทดลองและกาหนดแนวทางในการออกแบบและผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่อง
การออกแบบสารซึ่งทั้งสองได้ค้นพบรูปแบบระดับสูงในการออกแบบโมเดล และคาแนะนาในการ
ออกแบบบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารนอกจากนี้พวกเขายังได้มีการศึกษาเกี่ยวกับบทเรียน
ผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเป็นกรณีพิเศษ 7 ตัวอย่าง โดย 4 ตัวอย่างแรกจะเป็นบทเรียนผ่าน
เครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเพื่อการค้าและ 3 ตัวอย่างหลังเพื่อการวิจัยและพัฒนาในห้องทดลอง
ดังต่อไปนี้
10
1.1 เอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ (The Grolier Encyclopedia)เอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์บน
ซีดีรอมเป็นตัวอย่างของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารที่มีเครื่องอานวยความสะดวด
ในการแก้ไขข้อมูลข่าวสารและโน๊ตแพดไว้ได้บรรจุข้อมูลฉบับเอกสารของเอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์
การศึกษาของอเมริกาไว้รวม 21 เล่มบนซีดีรอม 1 แผ่น สิ่งพิเศษที่มีในเอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ คือดัชนี
หัวเรื่องตามลาดับอักษร, ดัชนีตามคาในเอ็นไซโคลพีเดีย (เรียงตามคา เช่น ‘an’, ‘and’‘the’ เป็นต้น), คาเต็ม
มากกว่า 30,000 คา บทความ (รวมมากกว่า 9 ล้านคา)ในการค้นหาคาจะใช้พื้นฐาน 3 ประการ คือ ค้นหา
ตามดัชนีคา (ประมาณ 136,750 คา),ค้นหาตามดัชนีหัวเรื่อง (30,000 หัวเรื่อง)และค้นหาแบบบูลีน (Boolean
Search) โดยการใช้ดัชนีคาซึ่งทาให้การค้นหาคาเป็นไปได้ง่ายขึ้น
1.2 เอ็นไซโคลพีเดียคอมตัน (Comton ’s Multimedia Encyclopedia) เอ็นไซโคลพีเดียโกร
เลียร์ที่ได้กล่าวถึงข้างต้นนั้นเป็นการพิมพ์ที่มีเฉพาะตัวอักษรแต่เอ็นไซโคลพีเดียคอมตันเป็นการพิมพ์แบบ
มัลติมีเดียที่รวมเอตัวอักษร,เสียง และภาพเข้าไว้ด้วยกัน สามารถบรรจุตัวอักษรไว้ได้ 26 เล่ม ของเอกสาร
กระดาษ เอ็นไซโคลพีเดียคอมตันสามารถเก็บภาพได้มากกว่า 15000 ภาพ (ภาพถ่าย, ภาพประกอบ, แผนที่,
กราฟ, และแผนภูมิ)ภาพเคลื่อนไหว 45 ภาพ, พจนานุกรมและเสียง 60 นาที (ทั้งเพลง, คาพูดและ
ภาพเคลื่อนไหว
1.3 ห้องสมุดคอมพิวเตอร์ (Computer library)เทคโนโลยีบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสารในปัจจุบันสนับสนุนการเผยแพร่ข่าวสารตลอดจนการแก้ไขห้องสมุดคอมพิวเตอร์ เป็น
ตัวอย่างหนึ่งของการเผยแพร่และให้บริการแก้ไขโดยบริษัทโลตัส และบริษัทซิป ซีดีรอมที่เกิดจากห้องสมุด
คอมพิวเตอร์จะจัดการกับข้อมูลอย่างรวดเร็วโดยมีขอบเขตที่กว้างของผลิตภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์กับ
คอมพิวเตอร์และหัวข้อ เช่น ผลิตภัณฑ์พิเศษ, งานวิจารณ์, คาแนะนาด้านเทคนิค,ประวัติการผลิตสั้นๆ และ
อุตสาหกรรมใหม่ พวกเขาจะบรรจุอุปกรณ์ซึ่งได้กลั่นกรองมาจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มากกว่า 140
เครื่องและธุรกิจการพิมพ์การใช้ระบบนี้สามารถเป็นไปได้ในข้อมูลและประวัติการผลิตสั้นๆมากกว่า
11,000 รายการ
1.4 หนังสือฝึกหัดการพูด (Discis Talking Books)การวิจัยความรู้ที่เกี่ยวกับการฝึกหัดได้
เกิดขึ้นในประเทศแคนาดาในขอบเขตของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สื่อประสมบนซีดีรอมตัวอย่างการ
พิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ซินเดอเรลลา นิทานกระต่ายของเบนจามินและนิทานเจ้ากระต่ายปีเตอร์หนังสือชนิดนี้เป็น
ตัวอย่างของหนังือภาพนิทานพูดได้สาหรับเด็ก 3-9 ขวบหนังสือแต่ละเล่มจะปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์
เหมือนกับการเปิดอ่านหนังสือปกติหน้าจอจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนขวามือจะเป็นตัวแสดงผลแต่
11
ละหน้าจะบรรจุภาพคุณภาพสูง,ตัวอักษรและไอคอนควบคุมส่วนประกอบที่สาคัญแต่ละหน้าจะมีไอคอน
พูดได้ ซึ่งถือว่าเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์พูดได้ เมื่อกดปุ่มมันจะอ่านดังๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น
พร้อมกับเปิดหน้าเองโดยอัตโนมัติ(หรืออาจไม่เปิด) เมื่อปิดสวิชต์มันจะหยุดพูด และให้ใช้ออกเสียงตามคา
,วลีหรือประโยคนั้น ระหว่างการเล่าเรื่องจะมีเสียงประกอบ และดนตรีคลอไปด้วยการนาเสนอซึ่งเพิ่มความ
สมจริงสม จังเข้าไปด้วย
1.5 บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารสาหรับผู้เริ่มต้นเรียนรู้ผลงานส่วนใหญ่
ของการวิจัยบาร์คเกอร์และกิลเลอร์มักสร้างสาหรับเด็กเล็กบนซีดีรอม บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสารประภทนี้มีเจตนาที่จะผลิตเพื่อใช้เป็นหนังสือนิทานสื่อประสมบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสาร ใช้สอนเด็กเล็กเกี่ยวกับตัวอักษรภาษาอังกฤษ ซึ่งได้รวบรวมเกมและแบบทดสอบย่อยเอาไว้
หนังสือนี้จะช่วยในการพัฒนาด้านการอ่านของเด็กโดยจะบรรจุนิทานที่มีการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์
เอาไว้
1.6 การออกแบบหน้าจอสาหรับการอบรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์สิ่งสาคัญในบริบทของการ
เก็บเอกสารสาคัญของข่าวสารบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะใช้ประโยชน์ในการเป็น
ทรัพยากรการสอนเช่นเดียวกับหนังสือทั่วไปๆไป เราสามารถใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ
สารสนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลายและประยุกต์ใช้ในงานการอบรมจากความสามารถในการโต้ตอบและ
ดัดแปลงใช้งานง่ายบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจึงมีความสามารถในการสอนมากกว่า
หนังสือเล่ม เพราะสามารถเป็นผู้ช่วยเหลือนักเรียนในการปฏิสัมพันธ์และประเมินผลตามหลักสูตรที่ได้ตั้ง
ไว้ นอกจากนั้นบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารยังสามารถเป็นซอฟท์แวร์การอบรมพื้นฐาน
คอมพิวเตอร์ ในการค้นหาความสามารถในการสอนของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารบาร์ค
เกอร์และกิลเลอร์ก็ได้ผลิตพื้นฐานการพิมพ์ออกมาใช้ชื่อว่า การออกแบบหน้าจอสาหรับการอบรมพื้นฐาน
คอมพิวเตอร์ (Screen Desing for Computer-Based Training) (Barker, et al, 1990, quoted in Barker, 1992 :
146) ซึ่งได้สอนผู้ใช้เกี่ยวกับการออกแบบหน้าจอที่ดีสาหรับการอบรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
การออกแบบหน้าจอ, การใช้สี, พื้นที่ฟังก์ชัน, การใช้ตัวอักษร, การใช้ภาพ, การออกแบบไอคอน, การใช้
วินโดวส์และการใช้เมนู, เทคนิคการปฏิสัมพันธ์, กรณีศึกษาและแบบฝึกหัดการออกแบบรวมทั้ง
แบบทดสอบย่อยและประเมินผลความเข้าใจของผู้อ่าน
1.7 การพิมพ์วิทยานิพนธ์บนซีดีรอมจากข้อดีของซีดีรอมกล่าวคือ มีความแข็งแรงทนทาน
,ความน่าเชื่อถือ,มีความสามารถใน การเก็บข้อมูลสูง,มีเครื่องอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้,สามารถ
12
เก็บตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และการเผยแพร่ที่สะดวกและรวดเร็วได้ถูกนามาใช้งาน
วิทยานิพนธ์แทนที่วิทยานิพนธ์ที่มีพื้นฐานบนกระดาษซึ่งมีข้อจากัดมากมาย (Barker, et al,) 1992, quoted in
Barker, 1992: 147) วิทยานิพนธ์เล่มแรกได้มีการจัดพิมพ์ขึ้นบนซีดีรอมได้มีการแปลงตัวหนังสือ,แผนภาพ
และตารางในหนังสือให้ไปอยู่บนซีดีรอม (Giller,1992,ๆquoted in Barker,1992 : 147) พื้นฐานเหล่านี้ได้ถูก
นาไปขยายขอบเขตการสาธิตซอฟท์แวร์ซึ่งผลิตระหว่างการวิจัย ในการแก้ไขข่าวสารจากซีดีรอมโดยชุด
การแก้ไขข้อมูลแบบเต็มซึ่งเรียกว่า รอมแวร์ (Romware)ได้มีการประเมินวิทยานิพนธ์ที่มีพื้นฐานบน
กระดาษกับพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์ปรากฏว่า พบสิ่งที่น่าสนใจ 3 อย่างของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสารคือ 1. ความง่ายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าสาร
2. ง่ายต่อการใช้งาน
3.เพิ่มคุณค่าให้กับวิทยานิพนธ์จากซอฟต์แวร์การสาธิตและความเป็นพลวัตซึ่งเป็นที่ต้องการของ
ผู้อ่านวิทยานิพนธ์สิ่งสาคัญของคาถามที่ได้ค้นพบในการพิมพ์วิทยานิพนธ์ลงซีดีรอม คือ การเผยแพร่การ
วิจัยที่ค้นพบได้เป็นจานวนมาก
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเบื้องต้น
จงกล เฮงสุวรรณ (2540 : บทคัดย่อ) ได้วิเคราะห์แนวโน้มหลักสูตรศิลปศึกษา ระดับปริญญาตรี
ของสถาบันราชภัฎในทศวรรษหน้า พบว่า ในด้านเนื้อหาวิชามีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการ
สอนเพิ่มขึ้น ได้แก่ วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก คอมพิวเตอร์ศิลป์ คอมพิวเตอร์กราฟิก 2-3 มิติ เป็นต้น อีกทั้ง
สื่อที่จะนามาประกอบการเรียนการสอนนั้นจะเป็นสื่อที่ทันสมัย รวมทั้งมีการนาเอาอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ใน
การเรียนการสอน
ธารงศักดิ์ ธารงเลิศฤทธิ์ (2540 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาทัศนะของผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร
และนักการศึกษาด้านศิลปศึกษาเกี่ยวกับแนวโน้มของหลักสูตรศิลปศึกษา
13
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การออกแบบสารสนเทศ ผู้วิจัยได้กาหนดและรวบรวมแนวคิดทฤษฎีรวมถึง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้ดังนี้
1. แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)
2. แนวคิดเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
3. แนวคิดเรื่องอินเทอร์เน็ต (Internet)
4. แนวคิดเรื่องการติดต่อสื่อสาร (Communication)
5. แนวคิดหลักการออกแบบเว็บไซต์ (Website Design Concept)
6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)
ความรู้ (Knowledge) คือความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่งอาจจะรวมไปถึง ความสามารถ
ในการนาสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ (สารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย, 2551) ไม่ว่าจะเป็นความรู้ที่
เกิดขึ้นใหม่ภายในองค์กร ซึ่งเป็นเป้าหมายส่วนใหญ่ของแนวคิดการ จัดการความรู้หรือจะเป็นความรู้ที่เกิด
ขึ้นมานานแล้วหรืออาจจะเรียกว่า ภูมิปัญญา หรือที่เรามักจะคุ้นหูกับคาวา ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือความรู้ที่
มิได้เกิดมาจากแต่ผู้มีการศึกษาสูงๆ เท่านั้นแต่ยัง สามารถถูกผลิตขึ้นมาจากบุคคลธรรมดาทั่วไป หรือที่
เรียกว่าชาวบ้าน ความรู้ที่ได้จากภูมิปัญญา ชาวบ้านก็มิได้มีคุณค่าที่ยิ่งหย่อนไปกว่าภูมิปัญญาของนักวิชาการ
และสังคมยุคปัจจุบัน ได้เชิดชูว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นความรู้ที่มีคุณค่ายิ่ง เพราะความรู้ที่ถูกผลิตออกมามิ
ได้มาจากตัวหนังสือใน ตาราหรือการวิจัยในห้องทดลอง หากแต่เกิดมาจากประสบการณ์ที่ถูกสั่งสมลองผิด
ลองถูก สืบทอด กันมาหลายชั่วอายุคน ภูมิปัญญาเหล่านี้ได้เคลือบแฝงไว้ด้วยวัฒนธรรมทางสังคมอีก
มากมายซึ่ง ความรู้ใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์มักมองข้าม และเป็นการยากที่จะใช้เทคโนโลยีหรือความรู้ใด้ๆ
มา ผลิตความรู้อันเป็นภูมิปัญญาเหล่านั้นได้ในเวลาอันสั้นดังนั้น ความรู้อันเป็นภูมิปัญญาเหล่านี้ โดยเฉพาะ
ความรู้เรื่องการออกแบบสารถือได้ว่าเป็นความรู้อย่างหนึ่งตามหลักของการจัดการความรู้นี้ได้ซึ่งผู้ศึกษาจะ
ได้นาองค์ความร้เรื่องการออกแบบสารมาประยุกต์ใช้ตามกระบวนการจัดการความรู้เพื่อนามาจัดการอย่างมี
ระบบ และมีเป้าหมาย โดยจะได้รวบรวมสรุปแนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ โดยแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้
14
1. ประโยชน์ของการจัดการความรู้แนวคิดการจัดการความรู้เป็นแนวคิดที่พัฒนาเพื่อการบริหาร
จัดการความรู้ภายใน หน่วยงาน ธุรกิจหรือองค์กรแต่จากการศึกษาถึงประโยชน์และคุณลักษณะของแนวคิด
นี้ทาให้เรา สามารถนามาประยุกต์ใช้กับองค์ความรู้นอกองค์กรได้โดยประโยชน์ที่ชัดเจนซึ่งเสนอโดย
Bacha (Bacha อ้างใน นฤมล พฤกษศิลป์ และ พัชรา หาญเจริญกิจ, 2543) คือ การที่การจัดการความรู้
สามารถป้องกันความรู้สูญหาย ทาให้องค์กรสามารถรักษาความเชี่ยวชาญ ความชานาญ และความรู้ ที่อาจ
สูญหายไปพร้อมกับการเปลี่ยนบุคลากร ซึ่งในที่นี้การเปลี่ยนของยุคสมัยการถูกเพิกเฉยจากคนในสังคมและ
การลมหายตายจากของผู้เฒ่าผู้แก่ซึ่งมีองค์ความรู้และประสบการณ์ มีความเสี่ยงสูงที่องค์ความรู้ด้านนี้จะ
คอยๆ สูญหายไปทีละน้อย จนกว่าทุกฝ่ายจะตระหนัก อาจจะสายเกินแก่แล้วก็เป็นได้นอกจากนี้ประโยชน์
ในด้านอื่นที่เห็นได้ชัดจากการนามาประยุกต์ใช้ คือ การที่มีแหล่งแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อให้สามารถนา องค์
ความรู้ไปพัฒนาหรือยกระดับนาไป พัฒนาต่อยอดความรู้ เช่น การนาไปส่งเสริมการอนุรักษ์
ศิลปะวัฒนธรรมให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น หรือการเผยแพร่องค์ความรู้การปลูกเรือนแบบโบราณเพื่อการอยู่
อาศัยเป็นต้น
2. ประเภทของความรู้ ความรู้นั้นสามารถแบ่งได้หลายประเภทและหลายลักษณะแต่การแบ่งที่เป็น
ที่นิยมที่สุด มักแบ่งตาม “รูปแบบที่มองเห็น” ซึ่งมี 2 ลักษณะดังนี้ (พรธิดาวิเชียรปญญา, 2547)
(1) ความรู้โดยนัย (Tacit knowledge) คือความรู้ที่มองเห็นไม่ชัดหรือความรู้ซ้อน เร้น จัดเป็น
ความรู้อย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเป็นทักษะหรือความรู้เฉพาะตัวของแต่ละบุคคลที่มาจาก ประสบการณ์ความ
เชื่อหรือความคิดสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงาน เช่น การถ่ายทอดความรู้ ความคิดผ่านการสังเกตการสนทนา
การฝึกอบรม ความรู้ประเภทนี้เป็นหัวใจสาคัญที่ทาให้งาน ประสบความสาเร็จ เนื่องจากความรู้ประเภทนี้
เกิดจากประสบการณ์และการนามาเล่าสู่กันฟัง ดังนั้น จึงไม่สามารถจัดให้เป็นระบบหรือหมวดหมู่ได้และ
ไม่สามารถเขียนเป็นกฎเกณฑ์หรือตารา ได้แต่สามารถถ่ายทอดและแบ่งปันความรู้ได้โดยการสังเกตและ
เลียนแบบ
(2) ความรู้ที่ชัดแจง (Explicit knowledge) คือความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่เป็นทางการเป็นความรู้ที่
มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และใช้ร่วมกันในรูปแบบต่างๆ เช่น สิ่งพิมพ์เอกสารขององค์การ
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกสเว็บไซต์อินทราเน็ตความรู้ประเภทนี้เป็น ความรู้ที่แสดงออกมาโดยใช้เป็นระบบ
สัญลักษณ์จึงสามารถสื่อสารเผยแพร่ได้อย่างสะดวก นอกจากนั้นยังมีการแบ่งประเภทของความรู้ออกเป็น
ลักษณะต่างๆ เพิ่มเติมได้ดังนี้
15
(1) ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม (Culture knowledge) เป็นความรู้ที่เกิดจากศรัทธา หรือความเชื่อที่
ทาให้กลายเป็นความจริง ซึ่งจะขึ้นอยูกับประสบการณ์และการเฝ้าสังเกตและการสะท้อนผลกลับของตัว
ความรู้และของสภาพแวดล้อมองค์การที่พัฒนามาเป็นระยะเวลายาวนานที่ต่อเนื่องกันอย่างยาวนาน จะ
พัฒนาความเชื่อรวมกันในเรื่องที่เกี่ยวกับธรรมชาติของธุรกิจ ความสามารถหลักขององค์กรการตลาดและ
คู่แข่งขัน
(2) ความรู้ที่แฝงอยู่ในองค์การ (Embedded knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในวิธีการทางานคู่มือการ
ทางานวัฒนธรรมองค์การกฎระเบียบ กระบวนการผลิตเป็ นต้น จากการศึกษาผู้วิจัยมีความเห็นสรุปว่า
ถึงแม้ว่าจะสามารถแบ่งประเภทความรู้ได้ หลากหลายลักษณะ เช่น ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม หรือความรู้
ที่แฝงอยู่ในองค์กร แต่การแบ่ง ประเภทลักษณะนี้จะเป็นการแบ่งเพื่อนาไปใช้เพื่อการจัดกลุ่มหมวดหมูของ
ความรู้ในส่วนของระบบงานเพื่อให้เข้าใจง่ายมากกว่า แต่หากพิจารณาถึงแนวคิดของการจัดการความรู้แล้ว
จะเป็นแนวคิดการจัดการความรู้ 2 ประเภท คือความรู้ชัดแจง (Explicit knowledge) และความรู้โดยนัย
(Tacit knowledge) เท่านั้น คือเป็นการเปลี่ยนความรู้ (Transferring) ทั้งความรู้โดยนัยและความรู้ แบบชัด
แจง ให้ออกมาเป็นความรู้ในลักษณะเป็น ความรู้ชัดแจง ที่เป็นข้อมูล (Data) เพื่อที่จะสามารถนามาเก็บใน
ลักษณะของฐานข้อมูล (Database) จัดหมวดหมู่ความสัมพันธ์จนกลายเป็นลักษณะของข้อมูลข่าวสาร
(Information) และสามารถเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้สามารถเข้าไปศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมต่อยอด
องค์ความรู้ (Context independent) เกิดเป็ นความรู้ (Knowledge) ซึ่งเมื่อได้นาความรู้นั้นไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์หรือสามารถนาไปประยุกต์ใช้จนเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ก็จะทาใหเกิดปัญญา (Wisdom) ในที่สุด
ซึ่งผู้ที่มีองค์ความรู้ที่ใหม่กว่าก็จะได้ นาองค์ความรู้ที่ตนเองมีนั้นถ่ายทอดหรือแบ่งปัน (Sharing) โดยการเข้า
ไปบันทึกไว้ในฐานข้อมูล ในฐานะของผู้มีความรู้และกลายเป็นข้อมูลใหม่ให้ผู้อื่นได้ศึกษาเรียนรู้ต่อไปโดย
กระบวนการทั้งหมดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) ในยุคปัจจุบันจะมีบทบาทอย่าง
มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากได้รับการออกแบบมาอย่างเหมาะสม โดยกระบวนการดังที่กล่าวมาแล้วโดย
ผู้วิจัยได้เขียนออกมาได้เป็นแผนภาพ ดังนี้
3. ความหมายของการจัดการความรู้ ในการศึกษาความหมายของการจัดการความรู้ผู้วิจัยจะได้ทา
การรวบรวมศึกษาเพื่อหา ข้อสรุป โดยแนวคิดเรื่องความหมายของการจัดการความรู้ที่มีนักวิชาการได้ให้ไว้
หลากหลายทัศนะ ดังนี้ (สารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย, 2551) การจัดการความรู้(Knowledge Management -
KM) คือการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก
ข้อมูลไปสู่สารสนเทศเพื่อให้เกิดความรู้และปัญญา ในที่สุด (วิจารณพานิช, 2548) เครื่องมือเพื่อการบรรลุ
16
เป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กันได้แก่บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน
บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไป เป็นองค์กรเรียนรู้และบรรลุความเป็นชุมชน ความเป็นหมูคณะและ
ความเอื้ออาทรกันในที่ทางาน (ชัชวาลวงษประเสริฐ, 2548) เป็ นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
(Competency) เพิ่มผลิตภาพในการทางาน (Productivity) การสร้างองค์ความรู้ (New knowledge) การสร้าง
นวัตกรรม ใหม่ (Innovation) และตอบสนองแผนกลยุทธ์ขององค์กร (Strategic plan) (ยุทธนา แซเดียว,
2547) การนาความรู้มาใช้พัฒนาขีดความสามารถขององค์กรให้ได้มากที่สุดโดยมีกระบวนการในการสรร
หาความรู้เพื่อถ่ายทอด และแบ่งปันไปยังบุคลากร เป็ าหมายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (พรธิดา
วิเชียรปญญา, 2547) การจัดการความรู้ (Knowledge Management – KM) เป็ นทั้ง ศาสตร์และศิลปของ
กระบวนการเชิงระบบที่เกี่ยวข้องกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศความคิด การกระทาตลอดจน
ประสบการณ์ของบุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม และจัดเก็บใน ลักษณะของแหล่งข้อมูลที่บุคคล
สามารถเข้าถึงได้โดยอาศัยชองทางต่างๆ ที่องค์กรจัดเตรียมไว้เพื่อ นาความรู้ที่มีอยู่ไปประยุกต์ใช้ในการ
ปฏิบัติงาน ซึ่งก่อให้เกิดการแบ่งปันและถ่ายโอนความรู้และในที่สุดความรู้ที่มีอยู่จะแพร่กระจายและ
ไหลเวียนทั่วทั้งองค์กรอย่างสมดุลรวมทั้งเป็นไปเพื่อเพิ่ม ความสามารถในการพัฒนาผลผลิตและองค์กร
(บุญดีบุญญากิจและคณะ, 2547) เป็นกระบวนการในการนาความรู้ที่มีอยู่หรือเรียนรู้มา ใช้ให้เกิดประโยชน์
สูงสุดต่อองค์กร โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ เช่น การสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยน และใช้ความรู้ (ประเวศ วะ
สี, 2545) การจัดการให้มีการวิจัยสร้างความรู้อย่างเหมาะสม ให้มีการตั้ง โจทย์ร่วมกัน วิจัยร่วมกัน รวม
เรียนรู้จัดความรู้ให้อยู่ในรูปที่เกิดการเรียนรู้ร่วมกันได้จัดการให้การ สร้างความรู้และการเรียนรู้ไปสู่การ
ปฏิบัติที่สาเร็จผล จัดการให้ประเมินผลการปฏิบัติเพื่อการ ปรับตัวอย่างต่อเนื่องและมีการจัดการสร้าง
นักวิจัย สร้างนักจัดการความรู้และสร้างหน่วยจัดการ ความรู้ สรุป จากการศึกษารวบรวมความหมายของ
การจัดการความรู้จากหลากหลายทัศนะของ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละทาน ผู้วิจัยสรุปโดยการแบ่งกลุ่มลักษณะของ
การให้ความหมายของการจัดการ ความรู้ได้ดังนี้คือ
(1) การจัดการความรู้เป็น “กระบวนการ” คือ การจัดการความรู้เป็นขั้นตอน (Process) การรวบรวม
สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนา ระบบจาก ข้อมูลไปสู่ สารสนเทศ
เพื่อให้เกิดความรู้และ ปัญญา แนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุน โดยสารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย (สารานุกรม
ออนไลน์วิกิพีเดีย) บุญดีบุญญากิจ (บุญดีบุญญากิจ และคณะ, 2547) และพรธิดาวิเชียรปัญญา (พรธิดาวิเชียร
ปัญญา, 2547)
17
(2) การจัดการความรู้เป็น “เครื่องมือ” คือการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ (Tool) ในการบรรลุสู่
เป้าหมายเพื่อ พัฒนาคน และพัฒนางานทาให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้อันจะนาไปสู่ การพัฒนาองค์กรใน
ที่สุดแนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนโดย วิจารณ์พานิช (วิจารณพานิช, 2548) ชัชวาลวงษ์ประเสริฐ(ชัชวาล
วงษประเสริฐ, 2548) และยุทธนาแซ่เดียว (ยุทธนาแซ่เดียว, 2547)
(3) การจัดการความรู้เป็น “ความร่วมมือ” คือการจัดการความรู้เป็นการร่วมมือกัน (Co-operate) ใน
การสร้างความรู้อย่างเหมาะสม โดยกลุ่มคนหนึ่ง เช่น ตั้งโจทย์ร่วมกันวิจัยร่วมกัน และร่วมกันเรียนรู้ไปสู่
การปฏิบัติที่สาเร็จผลแนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนตามแนวคิดของ ประเวศวะสี (ประเวศวะสี, 2545) จาก
นิยามความหมายต่างๆ ข้างต้น กล่าวโดยสรุปแล้ว การจัดการความรู้ก็เป็นทั้ง “กระบวนการ” คือจะต้องมี
ขั้นตอนในการจัดการ และการทางานที่ถูกต้อง และเหมาะสมเพื่อ นาไปสู่เป้าหมาย เป็น “เครื่องมือ” คือ
จะต้องนาไปใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสมจึงจะบรรลุเป้าหมายของ การจัดการความรู้ที่แท้จริงได้และ “ความ
ร่วมมือ” คือจะต้องอาศัยการร่วมแรงร่วมใจกันของกลุ่มที่ อยู่ในองค์กรเดียวกัน มีความรู้ความสนใจในเรื่อง
เดียวกันหรือเป็นองค์ความรู้ที่ประสานสัมพันธ์กัน ซึ่งทั้งสามส่วนนั้นต่างมีเป้าหมายเดียวกันคือการ
“พัฒนา” ซึ่งเป็นการพัฒนาทั้งคน ให้รู้มากรู้ครบ ขึ้น ความรู้เพิ่มพูน เข้าถึงได้ง่าย และได้รับการพัฒนามาก
ขึ้น และองค์กรที่คน และความรู้นั้นมี ความสัมพันธ์อยู่ก็จะเกิดการพัฒนา หากเป็นองค์กรด้านธุรกิจก็จะเป็น
การลดต้นทุน และเพิ่ม ประสิทธิภาพการทางานของคนในองค์กร ซึ่งถือเป็นผลลัพธ์หรือเป้าหมายสูงสุด
ของการจัดการ ความรู้หรืออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งคือการจัดการความรู้เป็นการสร้างวัฒนธรรมระหว่าง
ความรู้ และคนที่มีความรู้เพื่อให้วัฒนธรรมนั้นไปพัฒนาคน และความรู้ต่อไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุดซึ่ง
สุดท้ายก็จะส่งผลดีต่อองค์กรหรือสถาบันที่มีวัฒนธรรมนี้อยู่
(4.) องค์ประกอบหรือตัวแบบของการจัดการความรู้ จากการศึกษามีผู้เชี่ยวชาญเสนอแนวคิดใน
เรื่ององค์ประกอบหรือตัวแบบของการจัดการ ความรู้ซึ่งสามารถแบ่งได้ 2 แนวคิดคือ
4.1 องค์ประกอบตามแนวคิด “แบบปลาทูน่า” (Tuna Model) หรือเป็ นตัวแบบที่พัฒนาโดย
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สสส.) (ประพันธ์ผาสุขยืด, 2548) เสนอแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบ
ของการจัดการความรู้โดยแบ่งองค์ประกอบของการจัดการความรู้เป็น 3 ส่วนโดยเปรียบเทียบองค์ประกอบ
ทั้ง 3 ส่วนเป็นเสมือนแต่ละส่วนของปลาทูน่า
(5.) หลักขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ จากการศึกษาแนวคิดเรื่องการจัดการความรู้อย่าง
กว้างๆ ในหัวข้อก่อนหน้านี้ทาให้เราพอจะมองเห็นภาพรวมของก่ารจัดการความรู้ได้ชัดขึ้น และทาให้เรา
18
สามารถแยกแยะได้ชัดเจนว่าการจัดการความรู้นั้นไม่ใช่แค่การเก็บไฟล์เอกสารลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้
เฉยๆ แต่จะต้องมีระบบการแบ่งปัน และปรับปรุงได้จากการศึกษาเอกสารตาราด้านการจัดการความรู้พบว่า
นักวิชาการมีหลักขั้นตอนการจัดการความรู้ที่เหมือนกันอาจต่างกันเพียงคาศัพท์ที่ใช้ผู้วิจัยจึงขอยกมากล่าว
เพียงท่านเดียว
19
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Resrarch and Development)
ซึ่งผู้ศึกษาได้กาหนดวิธีการดาเนินการศึกษาดังรายละเอียดที่จะเสนอตามลาดับคือ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
แบบแผนงานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การสร้างเครื่องมือในการศึกษา วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีดาเนินการทดลอง และการวิเคราะห์ข้อมูลดังรายละเอียดต่อไปนี้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร
1.1 ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 20 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพาได้มา โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random
Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบ หาประสิทธิภาพของการออกแบบสารแบบ
เดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้
1.2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสารแบบเดี่ยว จานวน 5 คน
1.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสารแบบกลุ่ม จานวน 10 คน
1.2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ
ออกแบบสารแบบภาคสนาม จานวน 5 คน
20
แบบแผนการศึกษา
รูปแบบที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้เรียกว่า ทดสอบก่อนและหลังเรียนกับกลุ่มเดียว (One-Group
Pretest-Posttest Desing) (Vokell,1983 : 170 - 171) มีลักษณะดังนี้ O1 X O2
เมื่อ O1 หมายถึง การทดสอบก่อนการทดลอง
X หมายถึง การเรียนจากบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
O2 หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง
โดยมีตัวแปรในการวิจัย คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ
สาร
เครื่องมือที่ใช้การวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วย
1.บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะใช้ในการฝึกอบรมจานวน 5 หน่วย เรียงตามลาดับ
เนื้อหาที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยแยกเอกสารเป็นหน่วยจานวน 5 หน่วย ได้แก่
หน่วยที่ 1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
หน่วยที่ 2 แนวทางในการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
หน่วยที่ 3 การเสริมสร้างนิสัยในการคิด
หน่วยที่ 4 การพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
หน่วยที่ 5 การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
21
2. แบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเป็นแบบประเมินที่ดัดแปลงมา
จากแบบประเมินคุณภาพสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาของกรมวิชาการ (กรมวิชาการ, 2542) ประเมินค่าโดย
ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน โดยแบ่งรายการประเมินออกเป็น 6 ด้าน คือ ส่วนนาของบทเรียน, เนื้อหาของ
บทเรียน, การใช้ภาษา, การออกแบบการสอน, ส่วนประกอบด้านมัลติมีเดียและการออกแบบปฎิสัมพันธ์
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 5 ตัวเลือกใช้เป็นแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยผู้เรียนจะต้องทดสอบเป็นรายบุคคลเพื่อนาคะแนนที่ได้มาใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
1. บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการสร้างบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ
สารผู้วิจัยได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1.1 ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรเนื้อหาวิชา 263-201 เทคโนโลยีการศึกษาในหัวข้อกราฟิกใน
การสื่อสารการศึกษา และเอกสารคาสอนวิชา 263-201 เทคโนโลยีการศึกษา (รายละเอียดดูใน
ภาคผนวก ญ)
1.2 วิเคราะห์และเรียบเรียงเนื้อหาในขั้นตอนนี้จะวิเคราะห์เนื้อหาและแยกเนื้อหาออกเป็น
หน่วยย่อยๆ
1.3 เขียนแผนการสอน รูปแบบแผนการสอนที่ใช้ยึดแนวของวิชัย วงษ์ใหญ่ (2525 : 175-
178)ซึ่งประกอบด้วยหัวเรื่องและกาหนดเวลาเรียน,เนื้อหาสาระ,คิดรวบยอด, จุดประสงค์ของการเรียน, สื่อ
การเรียน, กิจกรรมการเรียนและการประเมินผล
1.4 แปลงแผนการสอนให้อยู่ในรูปของสตอรีบอร์ด
1.5 คัดเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
1.6 เตรียมทรัพยากรที่จะใช้ผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
1.7 ผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
22
1.8 ขั้นตอนสอบสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ
1.9 ขั้นทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
1.10 จัดทาสาเนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
1.11 เผยแพร่บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
2. การสร้างแบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารผู้วิจัยได้ดาเนินการ
สร้างแบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารตามขั้นตอนต่อไปนี้
2.1 ศึกษาเอกสารการประเมินสื่อการสอน
2.2 เลือกแบบประเมินคุณภาพมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาของกรมวิชาการ (กรมวิชาการ,2542)
2.3 ปรับปรุงแบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารให้
สอดคล้องกับคุณสมบัติของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
2.4 กาหนดระดับการประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไว้5 ระดับ คือ
ดีมาก = 5
ดี = 4
ปานกลาง = 3
พอใช้ = 2
ควรปรับปรุง = 1
ซึ่งเกณฑ์การยอมรับคุณภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะพิจารณาตาม
คาถามแต่ละข้อข้อที่ผ่านเกณฑ์จะต้องได้คะแนนเฉลี่ยดีถึงดีมาก และคะแนนเฉลี่ยรวมต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์
ดี จึงจะสามารถนาไปทดลองได้ โดยกาหนดระดับการประเมิน 5 ระดับดังนี้
คะแนน 1.00 – 1.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุงอย่างยิ่ง
คะแนน 1.50 – 2.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุง
คะแนน 2.50 – 3.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์Sirikanya Pota
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rathapon Silachan
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
HeroFirst BirdBird
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆกิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
wariety
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponSurapon Boonlue
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21
Surapon Boonlue
 
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
Surapon Boonlue
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^mcf_cnx1
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^mcf_cnx1
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^mcf_cnx1
 
การสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิรา
การสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิราการสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิรา
การสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิรา
Prachyanun Nilsook
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
ใบงานคอม 2 8
ใบงานคอม 2  8ใบงานคอม 2  8
ใบงานคอม 2 8theerajet
 
Classroom In The Future
Classroom In  The  FutureClassroom In  The  Future
Classroom In The Future
Surapon Boonlue
 
Computrproject
ComputrprojectComputrproject
Computrproject
Benya Chaiwan
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02Sarawut Fuekhat
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
Smart classroom
 
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆกิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21
 
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^
 
การสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิรา
การสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิราการสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิรา
การสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิรา
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
ใบงานคอม 2 8
ใบงานคอม 2  8ใบงานคอม 2  8
ใบงานคอม 2 8
 
Classroom In The Future
Classroom In  The  FutureClassroom In  The  Future
Classroom In The Future
 
Computrproject
ComputrprojectComputrproject
Computrproject
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 

Viewers also liked

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptN'Fern White-Choc
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
Pitchapa Liamnopparat
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
panisa thepthawat
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
JaengJy Doublej
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
คน ขี้เล่า
 
Message design concepts
Message design conceptsMessage design concepts
Message design concepts
Penny Tan
 

Viewers also liked (10)

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Perfect
PerfectPerfect
Perfect
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
Message design concepts
Message design conceptsMessage design concepts
Message design concepts
 

Similar to การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร

ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
Sornnarin Wuthifuey
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
Nongnut Wasikarn
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4kanatakenta
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Jom-Jam HulaHula
 
Project
ProjectProject
Project
ssuserf446af
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
Wichit Chawaha
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
Wichit Chawaha
 
ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้Yong Panupun
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2juice1414
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2win_apitchaya
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
SiwadolChaimano
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2mewlamun
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Nontt' Panich
 

Similar to การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร (20)

ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Project
ProjectProject
Project
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (6)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 

การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร

  • 1. 1 บทที่ 1 โครงการ “การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร” ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวภัทรวดี ปะกิเนทัง รหัสนิสิต 55540188 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ดร. ภูเบศ เลื่อมใส หลักการและเหตุผล การนาเสนอข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ หรือเนื้อหาเรื่องราวที่เป็นสาระสาคัญต่าง ๆ ให้ผู้อื่นที่เป็น ผู้ฟังหรือผู้ชมรับรู้และเข้าใจรวมทั้งมีความสุขกับการรับ ฟังด้วยแล้วนับว่าเป็นความสามารถพิเศษอย่างหนึ่ง ของผู้นาเสนอหรือเป็นความดีงามของกระบวนการนาเสนอโดยรวมที่สร้างความนิยมและความชื่นชมให้กับ ผู้ฟังได้มาก ทาให้ผู้นาเสนอกลายเป็น "ดาวเด่น" หรือ "ดารา" ขึ้นได้ชั่วพริบตา ปัญหา อย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นได้แก่ การนาเสนอที่สร้างความเบื่อหน่ายและกลายเป็นการสร้างความไม่ พอใจให้ผู้ฟัง เป็นอย่างมาก ซึ่งจะสามารถพบเห็นได้จากการนาเสนอผ่านสื่อต่าง ๆ ที่นามาใช้เป็นช่องทาง ของการนาเสนอเช่น ทางโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ หรือแม้แต่ในเวทีที่มีการอภิปราย ปาฐกถา แม้แต่ใน สภาผู้แทนราษฎร รวมทั้งในชั้นเรียนที่มีครู/อาจารย์เป็นผู้นาเสนอและผู้เรียนเป็นผู้ฟังก็ ยังเกิดขึ้นได้บ่อย ๆ เช่นกัน การนาเสนอที่สร้างความเบื่อหน่ายทาให้ โอกาสเป็น "ดาวเด่น" หรือ "ดารา" ที่มีผู้คนชื่นชอบชื่นชม จานวนมากหายไป หรือ ผู้ที่เป็น "ดาวเด่น" หรือ "ดารา" ที่มีผู้คนชื่นชอบจานวนมากอยู่เป็นทุนแล้วเพราะมี ฐานะทางสังคมที่ดี มีตาแหน่งหน้าที่การงานอันมีเกียรติก็ตาม อาจกลายเป็นดาวดับที่อับแสง และเต็มไปด้วย ความไม่พอใจของผู้คน ถ้าเป็นในชั้นเรียนครู/อาจารย์ที่มีการสอนและนาเสนออย่างเบื่อหน่ายจะทาให้ นักเรียน/นักศึกษาไม่ชอบและไม่เคารพรักได้เช่นกัน วิทยาการที่ใช้ เป็นหลักการและแนวทางของการนาเสนอที่ช่วยลดความเบื่อหน่ายและชวนให้น่า ติดตามนั้น นอกจากเทคนิควิธีและกระบวนการอื่น ๆ ที่มีนักวิชาการเขียนไว้เป็นตาราและเอกสารเกี่ยวกับ เรื่อง "เทคนิคการนาเสนอ" จานวนมากแล้ว ยังมีวิทยาการอีกสาขาวิชาหนึ่งที่มีนักวิชาการเขียนไว้เป็นตารา หรือเอกสาร น้อยมากคือ เรื่องของการออกแบบสาร (Message Design) ที่ดีและมีประสิทธิภาพสาหรับการ นาเสนอ
  • 2. 2 วิทยาการที่เกี่ยวกับการนา เสนอนั้นเกี่ยวข้องกับศาสตร์หลายศาสตร์ มีความซับซ้อนทั้งในเชิงของ หลักการและทฤษฎีการรับรู้ การเรียนรู้ ทฤษฎีการสื่อสาร และกระบวนการออกแบบสื่อ การออกแบบสาร และเทคโนโลยีที่นามาใช้ในการสร้างสื่อต่าง ๆ มีการศึกษาวิจัยในระดับสูงถึงระดับปริญญาเอก และหลัง ปริญญาเอกอีกด้วย แต่ สาหรับการทางานนาเสนอโดยทั่วไปแล้ว "การออกแบบสาร" น่าจะเป็นประเด็นที่ยังขาดการให้ ความสาคัญและความเข้าใจในหลักการ ซึ่งข้อมูลในบทความเพียงเท่านี้ก็เพียงพอสาหรับการออกแบบสาร เพื่อการนาเสนอ ได้อย่างมีคุณภาพแล้ว ถ้าผู้นาเสนอได้ตระหนักและยินดีที่จะใช้หลักการออกแบบสารและ วิธีการในบทความ นี้เพื่อการเตรียมตัวสาหรับการนาเสนอ ท่านก็จะมั่นใจว่าผู้ฟัง หรือ ผู้ชมจะไม่เบื่อหน่าย กับการนาเสนอของท่านอีกต่อไป และนอกจากนั้น ท่านยังมีโอกาสเป็น "ดาวเด่น" หรือ "ดารา" ที่มีผู้คนชื่น ชอบและชื่นชมจานวนมากอีกด้วย วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อรวบรวมจัดกลุ่มองค์ความรู้ สาคัญที่เกี่ยวของกับการออกแบบสารตาม กระบวนการการ จัดการความรู้ 2. เพื่อออกแบบสารสนเทศจัดการความรู้เรื่องการออกแบบสาร 3. เพื่อประเมินคุณภาพสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้เรื่องการออกแบบสาร สมมติฐานของการศึกษา บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด (80/80) ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ มุ่งพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารและเพื่อให้การศึกษาเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตการศึกษา ดังนี้
  • 3. 3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยมลัยบูรพา จานวน 20 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิมยาลัยบูรพาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดย วิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ สารแบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้ 2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ สาร แบบเดี่ยว จานวน 3 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ สาร แบบกลุ่ม จานวน 9 คน 2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ สาร แบบภาคสนาม จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 1. บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 2. แบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 3. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรที่ศึกษา การศึกษาครั้งนี้มีตัวแปรที่ศึกษา 2 ตัวคือ
  • 4. 4 1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสารที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น 2. ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ได้เรียนเนื้อหาจากบทเรียนผ่าน เครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร ผลที่คาดว่าจะได้รับ การออกแบบสาร ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็นหัวข้อ ต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 2. การผลิตและการออกแบบบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นิยามศัพย์เฉพาะ การออกแบบ (Design) หมายถึง การออกแบบโครงสรางเว็บไซต์การจัดตาแหน่งและ ออกแบบ สวนติดต่อผู้ใช้ (User interface) จัดกลุ่ม หมวดหมู่ข้อมูล (Categorize) รวมถึงภาพกราฟก และการใช้สี (Graphics design) การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) หมายถึงกระบวนการจัดระบบ ระเบียบของ ความรู้เกี่ยวกับเรือ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ ที่มีอยู่กระจัดกระจายสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์โดย
  • 5. 5 กระบวนการการจัดการความรู้เพื่อให้มี ประสิทธิภาพต่อการเรียนรู้ใช้งานสูงสุดรวมทั้งยังสามารถนาไปสู่ การต่อยอดพัฒนาองค์รู้ใหม่ๆ ได้อีกด้วย การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) หมายถึงการระบุความต้องการ และ ความรู้เป้าหมาย เพื่อที่จะนามาจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งความรู้ในงานวิจัยเล่มนี้หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบ สาร การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) หมายถึง กระบวนการในการ พัฒนา รวบรวมความรู้ในเรื่องเป้าหมาย ที่ได้จาก เอกสารงานวิจัย ตารา เว็บไซต์รวมทั้งบุคคลที่มีความรู้และ ประสบการณ์ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) หมายถึงการนาความรู้ที่ได้จาก การเก็บ รวบรวมมาได้นั้นนามาจัดระบบระเบียบ เป็นกลุ่มของข้อมูลเพื่อให้สามารถนาไปออกแบบ สารสนเทศเพื่อ การจัดการความรู้ได้ การประมวลผลและกรั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) หมายถึง การ นาเอาความรู้ความเข้าใจที่เก็บรวบรวมได้นามาประมวลผลวิเคราะห์สรุป เพื่อการ ออกแบบรูปแบบของสื่อ สารสนเทศที่เหมาะสมต่อองค์ความร้และการนาไปใช้งานจริง การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) หมายถึง สื่อสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ที่ มี ความสามารถในการเข้าถึง ใช้งานผ่านระบบได้จากทั่วโลกให้บริการได้ตลอดเวลาผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และซอฟแวร์เว็บบราวเซอร์ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) หมายถึง สื่อสารสนเทศเพื่อการ จัดการความรู้ ที่มีความสามารถในการเปิดโอกาสให้มีการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ที่ผู้ใช้แต่ละคนมีได้อย่างอิสระ อันจะนาไปสู่การขยายอาณาเขตความรู้และพัฒนาองค์ความรู้ให้ ครอบคลุมแล้วกว้างขวางมากยิ่งขึ้น การเรียนรู้ (Learning) หมายถึงการที่ผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็นคนทั่วไป นักวิชาการ หรือที่ สนใจในเรื่องการ ออกแบบสารต่างได้รับความรู้หรือข้อมูลใหม่ๆ ที่ตนเองไม่เคยรู้มาก่อนในเรื่องการออแบบสาร จาก การศึกษาขอมูลและเนื้อหาจากส่วนประกอบต่างๆ ในสื่อสารสนเทศเพื่อการจัดการ ความรู้เรื่องการ ออกแบบสารนี้
  • 6. 6 ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) หมายถึงผู้มีความรู้ทักษะ ประสบการณ์หรือมีสวนเกี่ยวข้องกับการออกแบบ สาร สื่อสารสนเทศ (Information Media) หมายถึง สื่อที่มีความสามารถสอดคล้องตาม หลักการจัดการ ความรู้โดยจะต้องเป็นสื่อที่ผู้ใช้สามารถเข้าไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลและแลกเปลี่ยน ความรู้ใหม่ๆ ได้ซึ่งใน ปัจจุบัน เว็บไซต์ (Website) ถือเป็นสื่อสารสนเทศที่เหมาะสมที่สุดแต่ ความสามารถในเว็บไซต์นั้นจะต้องมี ความสามารถที่สอดคล้องต่อแนวคิดและผลการศึกษาด้วย 2. ข้อดีและข้อจากัดของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 2.1 ข้อดีของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารมีข้อดีดังต่อไปนี้ 2.1.1. เป็นสื่อที่รวมเอาจุดเด่นของสื่อแบบต่างๆมารวมอยู่ในสื่อตัวเดียว คือสามารถแสดงภาพแสง เสียงภาพเคลื่อนไหวและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ 2.1.2 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาวิชาได้เร็วขึ้น (สิทธิพร บุญญานุวัตร ,2540 : 24) 2.1.3 ครูสามารถใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการชักจูงผู้เรียนในการอ่าน, การฟัง และการพูดได้(Roffey, 1995) 2.1.4 มีความสามารถในการออนไลน์ผ่านเครือข่าย และเชื่อมโยงไปสู่โฮมเพจและเวปไซต์ต่างๆอีก ทั้งยังสามารถอ้างอิงในเชิงวิชาการได้ 2.1.5 หากบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือ อินทราเน็ตจะทาให้กระจายสื่อได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวางกว่าสื่อที่อยู่ในรูปสิ่งพิมพ์ (“ หนังสือพิมพ์ ออนไลน์นวัตกรรมแห่งสื่ออนาคต”, 2541 : 60) 2.1.6 สนับสนุนการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนจริงห้องสมุดเสมือนและห้องสมุด 2.17 มีลักษณะไม่ตายตัวสามารถแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาอีกทั้งยังสามารถ เชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้โดยใช้ความสามารถของไฮเปอร์เท็กซ์
  • 7. 7 2.1.8 ในการสอนหรืออบรมนอกสถานที่การใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะช่วย ให้เกิดความคล่องตัวยิ่งขึ้น เนื่องจากสื่อสามารถสร้างเก็บไว้ในแผ่นซีดีได้ ไม่ต้องหอบหิ้วสื่อซึ่งมีจานวน มาก 2.1.9 การพิมพ์ทาได้รวดเร็วกว่าการใช้กระดาษสามารถทาสาเนาได้เท่าที่ต้องการประหยัดวัสดุใน การสร้างสื่อ อีกทั้งยังช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกด้วย 2.1.10 มีความทนทานและสะดวกแก่การเก็บบารุงรักษาลดปัญหาการเก็บเอกสารย้อนหลังซึ่งต้อง ใช้เนื้อที่หรือบริเวณกว้างในการจัดเก็บสามารถรักษาหนังสือหายากและต้นฉบับเขียนไม่ให้เสื่อมคุณภาพ 2.1.11 ช่วยให้นักวิชาการและนักเขียนสามารถเผยแพร่ผลงานเขียนได้อย่างรวดเร็ว 2.2 ข้อจากัดของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารถึงแม้ว่าบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่อง การออกแบบสารจะมีข้อดีที่สนับสนุนด้านการเรียนการสอนมากมายแต่ก็ยังมีข้อจากัดด้วยดังต่อไปนี้ 2.2.1 คนไทยส่วนใหญ่ยังคงชินอยู่กับสื่อที่อยู่ในรูปกระดาษมากกว่า (“หนังสือพิมพ์ออนไลน์ นวัตกรรมสื่อแห่งอนาคต”, 2541 : 60) อีกทั้งบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารยังไม่สามารถใช้ งานได้ง่ายเมื่อเทียบกับสื่อสิ่งพิมพ์ และความสะดวกในการอ่านก็ยังน้อยกว่ามาก 2.2.2 หากโปรแกรมสื่อมีขนาดไฟล์ใหญ่มากๆ จะทาให้การเปลี่ยนหน้าจอมีความล่าช้า 2.2.3 การสร้างบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพที่ดีผู้สร้างต้องมี ความรู้และความชานาญในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการสร้างสื่อดีพอสมควร 2.2.4 ผู้ใช้สื่ออาจไม่ใช่ผู้สร้างสื่อฉะนั้นการปรับปรุงสื่อจึงทาได้ยากหากผู้สอนไม่มีความรู้ด้าน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.2.5 ใช้เวลาในการออกแบบมากเพราะต้องใช้ทักษะในการออกแบบเป็นอย่างดีเพื่อให้ได้สื่อที่มี คุณภาพ 3. การใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการเรียนการสอน
  • 8. 8 ในอดีตสื่อการศึกษาที่เริ่มต้นใช้ในการเรียนการสอน คือสื่อสิ่งพิมพ์ซึ่งใช้กันมานานหลายร้อยปี และยังคงใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพสูง (เอี่ยม ฉายางาม, 2534 : 14) ถึงแม้ว่าสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อที่ไม่มีวันหายไปจากวงการเรียนการสอนได้เลย แม้เวลาจะผ่านไปอีกร้อยปี หรือพันปีข้างหน้า แต่อาจจะมีการเปลี่ยนรูปแบบเป็นไฮเปอร์เทกซ์แทน (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2534 : 5) เทคโนโลยีไฮเปอร์เทกซ์เป็นเทคโนโลยีที่อานวยความสะดวกแก่การคิดของมนุษย์ และสอดคล้องกับ ธรรมชาติส่วนใหญ่ของมนุษย์ที่ไม่ชอบคิดอะไรต่อเนื่องกันยาวๆ อยู่เพียงเรื่องเดียว (ครรชิต มาลัยวงศ์, 2534 : 16) ไฮเปอร์เทกซ์จะแสดงข้อความในรูปแบบที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถกระโดดจากเนื้อหาหนึ่งไปยังอีก เนื้อหาหนึ่งง่ายดาย หรือเจาะลึกไปยังเนื้อหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้มากเท่าที่ต้องการ เทคโนโลยีไฮเปอร์เทกซ์ ไม่ได้เข้ามาแทนที่ในหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ หากแต่จะช่วยฟื้นฟูบทบาทของหนังสือให้มีความสาคัญดังเดิม (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2540 : 223) บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเป็นสื่อที่ใช้ความสามารถของไฮเปอร์เทกซ์สนับสนุน การเรียนรู้ทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอนทางไกล, การเรียนที่ยืดหยุ่น,สนับสนุนการเรียนรู้ รายบุคคล และการเรียนแบบร่วมมือในการเรียนการสอนทางไกล (Barker,1996 : 16) โดยสามารถใช้เป็น” เครื่องช่วยสอน” (Instrutional) ทั้งนี้เนื่องจากเป็นเครื่องมือในการสอน และอุปกรณ์ที่ให้ความรู้ที่หนังสือ ธรรมดาไม่สามารถจะให้ได้ด้วยลักษณะการปฏิสัมพันธ์,น้าหนักเบาพกพาได้สะดวก,ใช้งานง่ายตลอดจน พฤติกรรมที่เป็นพลวัต บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารบางประเภทสามารถที่จะนาไป ประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบการเรียนรู้ส่วนบุคคลของผู้อ่าน มีการดัดแปลงรูปร่างภายนอกของบทเรียนผ่าน เครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการนาเสนอเพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกชอบและอยากเรียนรู้ (Collis,1991 : 356) ได้แก่ การออกแบบเป็นเครื่องแบบกระเปาหิ้วที่มีน้าหนักเบา พกพาสะดวด หน้าจออ่านง่ายสบายตา และ ได้รับการออกแบบอย่างสวยงามหุ้มด้วยหนังหรือวัสดุอย่างดี หน้าจออ่านง่ายสบายตา มรการพลิกหน้า ใกล้เคียงกับการอ่านหนังสือเล่ม มีการคาดการณ์กันว่าบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะ ประสบผลสาเร็จในการเรียนการสอน ภายหลังจากศตวรรษที่ 20 อย่างแน่นอน (Diana and Hieden, 1994 : 113) ตัวอย่างการนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารไปใช้ในการสอนมีดังนี้ ปี 1990 บีเนสท์ (Benest, 1990,quoted in Barker, 1996 : 16) ได้มีการจินตนาการภาพไว้ว่าจะมีการ ใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในลักษณะของ การเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (Computer – Assisted Learning) สาหรับนักศึกษาในมหาวิทยาลัย เขาใช้ซอฟท์แวร์เลียนแบบหนังสือใน การค้นหาการสอนแบบบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในลักษณะของ “เลกเชอร์ออนไลน์”
  • 9. 9 เขากล่าวว่า จะทาให้เสียเวลาในการเรียนแบบบรรยายลดลง และใช้เวลาที่เหลือในการทากิจกรรมอื่น เช่น กิจกรรมแก้ปัญหา, การฝึกปฏิบัติ,การอภิปรายกลุ่มและการช่วยกันทางาน เป็นต้น การเริ่มต้นออกแบบและ ผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเพื่อการสอนนั้นบาร์คเกอร์ และกิลเลอร์ (Barker (1991,1993)and Giller (1992), quoted in Barker, 1996 : 16) ได้ทดลองหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับเด็กวัยรุ่น เป็นชุดปฏิสัมพันธ์แบบไฮเปอร์มีเดียโดยใช้เรื่องราวของการสารวจ และเกมที่สอนเกี่ยวกับอักขระ ภาษาอังกฤษบนซีดีรอม ต่อมาก็ได้ศึกษาเรื่องมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อการสอนเรื่องภาษาฝรั่งเศสซึ่ง พิมพ์ลงบนซีดีรอม ตลอดจนการทดลองการสอนโดยใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการ สอนเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ (Barker,1994,quoted in Barker,1996 : 16) ได้ใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่อง การออกแบบสารในการนาเสนอภาพยนตร์ ซึ่งได้รับผลสาเร็จด้วยดีในการศึกษาผู้ใหญ่ จากการวิเคราะห์ การศึกษาข้างต้นในแนวลึกนั้นพบว่าได้รับผลที่น่าพึงพอใจในการใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสารและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อการสอน การใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารในการเรียนการสอน นอกจากผู้เรียนจะได้รับ ความรู้จากตัวบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเองแล้ว ยังสามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้จากเวป ไซต์ที่เกี่ยวข้องได้อีกด้วยเพื่อกระต้นให้ผู้เรียนเกิดความตื่นตัวในการเรียนรู้ ซึ่งเหมาะกับผู้เรียนทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับมหาวิทยาลัยซึ่งมีเครื่องมือครบครัน งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสาร ตั้งแต่ปี 1990 บาร์คเกอร์และกิลเลอร์ (Barker and Giller,1992,quoted in Barker, 1992 : 144-147) ได้มีการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตาของการผลิตและการใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ สารให้เป็นประโยชน์ เพื่อทดลองและกาหนดแนวทางในการออกแบบและผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่อง การออกแบบสารซึ่งทั้งสองได้ค้นพบรูปแบบระดับสูงในการออกแบบโมเดล และคาแนะนาในการ ออกแบบบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารนอกจากนี้พวกเขายังได้มีการศึกษาเกี่ยวกับบทเรียน ผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเป็นกรณีพิเศษ 7 ตัวอย่าง โดย 4 ตัวอย่างแรกจะเป็นบทเรียนผ่าน เครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเพื่อการค้าและ 3 ตัวอย่างหลังเพื่อการวิจัยและพัฒนาในห้องทดลอง ดังต่อไปนี้
  • 10. 10 1.1 เอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ (The Grolier Encyclopedia)เอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์บน ซีดีรอมเป็นตัวอย่างของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารที่มีเครื่องอานวยความสะดวด ในการแก้ไขข้อมูลข่าวสารและโน๊ตแพดไว้ได้บรรจุข้อมูลฉบับเอกสารของเอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ การศึกษาของอเมริกาไว้รวม 21 เล่มบนซีดีรอม 1 แผ่น สิ่งพิเศษที่มีในเอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ คือดัชนี หัวเรื่องตามลาดับอักษร, ดัชนีตามคาในเอ็นไซโคลพีเดีย (เรียงตามคา เช่น ‘an’, ‘and’‘the’ เป็นต้น), คาเต็ม มากกว่า 30,000 คา บทความ (รวมมากกว่า 9 ล้านคา)ในการค้นหาคาจะใช้พื้นฐาน 3 ประการ คือ ค้นหา ตามดัชนีคา (ประมาณ 136,750 คา),ค้นหาตามดัชนีหัวเรื่อง (30,000 หัวเรื่อง)และค้นหาแบบบูลีน (Boolean Search) โดยการใช้ดัชนีคาซึ่งทาให้การค้นหาคาเป็นไปได้ง่ายขึ้น 1.2 เอ็นไซโคลพีเดียคอมตัน (Comton ’s Multimedia Encyclopedia) เอ็นไซโคลพีเดียโกร เลียร์ที่ได้กล่าวถึงข้างต้นนั้นเป็นการพิมพ์ที่มีเฉพาะตัวอักษรแต่เอ็นไซโคลพีเดียคอมตันเป็นการพิมพ์แบบ มัลติมีเดียที่รวมเอตัวอักษร,เสียง และภาพเข้าไว้ด้วยกัน สามารถบรรจุตัวอักษรไว้ได้ 26 เล่ม ของเอกสาร กระดาษ เอ็นไซโคลพีเดียคอมตันสามารถเก็บภาพได้มากกว่า 15000 ภาพ (ภาพถ่าย, ภาพประกอบ, แผนที่, กราฟ, และแผนภูมิ)ภาพเคลื่อนไหว 45 ภาพ, พจนานุกรมและเสียง 60 นาที (ทั้งเพลง, คาพูดและ ภาพเคลื่อนไหว 1.3 ห้องสมุดคอมพิวเตอร์ (Computer library)เทคโนโลยีบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสารในปัจจุบันสนับสนุนการเผยแพร่ข่าวสารตลอดจนการแก้ไขห้องสมุดคอมพิวเตอร์ เป็น ตัวอย่างหนึ่งของการเผยแพร่และให้บริการแก้ไขโดยบริษัทโลตัส และบริษัทซิป ซีดีรอมที่เกิดจากห้องสมุด คอมพิวเตอร์จะจัดการกับข้อมูลอย่างรวดเร็วโดยมีขอบเขตที่กว้างของผลิตภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์กับ คอมพิวเตอร์และหัวข้อ เช่น ผลิตภัณฑ์พิเศษ, งานวิจารณ์, คาแนะนาด้านเทคนิค,ประวัติการผลิตสั้นๆ และ อุตสาหกรรมใหม่ พวกเขาจะบรรจุอุปกรณ์ซึ่งได้กลั่นกรองมาจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มากกว่า 140 เครื่องและธุรกิจการพิมพ์การใช้ระบบนี้สามารถเป็นไปได้ในข้อมูลและประวัติการผลิตสั้นๆมากกว่า 11,000 รายการ 1.4 หนังสือฝึกหัดการพูด (Discis Talking Books)การวิจัยความรู้ที่เกี่ยวกับการฝึกหัดได้ เกิดขึ้นในประเทศแคนาดาในขอบเขตของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สื่อประสมบนซีดีรอมตัวอย่างการ พิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ซินเดอเรลลา นิทานกระต่ายของเบนจามินและนิทานเจ้ากระต่ายปีเตอร์หนังสือชนิดนี้เป็น ตัวอย่างของหนังือภาพนิทานพูดได้สาหรับเด็ก 3-9 ขวบหนังสือแต่ละเล่มจะปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับการเปิดอ่านหนังสือปกติหน้าจอจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนขวามือจะเป็นตัวแสดงผลแต่
  • 11. 11 ละหน้าจะบรรจุภาพคุณภาพสูง,ตัวอักษรและไอคอนควบคุมส่วนประกอบที่สาคัญแต่ละหน้าจะมีไอคอน พูดได้ ซึ่งถือว่าเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์พูดได้ เมื่อกดปุ่มมันจะอ่านดังๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น พร้อมกับเปิดหน้าเองโดยอัตโนมัติ(หรืออาจไม่เปิด) เมื่อปิดสวิชต์มันจะหยุดพูด และให้ใช้ออกเสียงตามคา ,วลีหรือประโยคนั้น ระหว่างการเล่าเรื่องจะมีเสียงประกอบ และดนตรีคลอไปด้วยการนาเสนอซึ่งเพิ่มความ สมจริงสม จังเข้าไปด้วย 1.5 บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารสาหรับผู้เริ่มต้นเรียนรู้ผลงานส่วนใหญ่ ของการวิจัยบาร์คเกอร์และกิลเลอร์มักสร้างสาหรับเด็กเล็กบนซีดีรอม บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสารประภทนี้มีเจตนาที่จะผลิตเพื่อใช้เป็นหนังสือนิทานสื่อประสมบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสาร ใช้สอนเด็กเล็กเกี่ยวกับตัวอักษรภาษาอังกฤษ ซึ่งได้รวบรวมเกมและแบบทดสอบย่อยเอาไว้ หนังสือนี้จะช่วยในการพัฒนาด้านการอ่านของเด็กโดยจะบรรจุนิทานที่มีการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ เอาไว้ 1.6 การออกแบบหน้าจอสาหรับการอบรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์สิ่งสาคัญในบริบทของการ เก็บเอกสารสาคัญของข่าวสารบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะใช้ประโยชน์ในการเป็น ทรัพยากรการสอนเช่นเดียวกับหนังสือทั่วไปๆไป เราสามารถใช้บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ สารสนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลายและประยุกต์ใช้ในงานการอบรมจากความสามารถในการโต้ตอบและ ดัดแปลงใช้งานง่ายบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจึงมีความสามารถในการสอนมากกว่า หนังสือเล่ม เพราะสามารถเป็นผู้ช่วยเหลือนักเรียนในการปฏิสัมพันธ์และประเมินผลตามหลักสูตรที่ได้ตั้ง ไว้ นอกจากนั้นบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารยังสามารถเป็นซอฟท์แวร์การอบรมพื้นฐาน คอมพิวเตอร์ ในการค้นหาความสามารถในการสอนของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารบาร์ค เกอร์และกิลเลอร์ก็ได้ผลิตพื้นฐานการพิมพ์ออกมาใช้ชื่อว่า การออกแบบหน้าจอสาหรับการอบรมพื้นฐาน คอมพิวเตอร์ (Screen Desing for Computer-Based Training) (Barker, et al, 1990, quoted in Barker, 1992 : 146) ซึ่งได้สอนผู้ใช้เกี่ยวกับการออกแบบหน้าจอที่ดีสาหรับการอบรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย การออกแบบหน้าจอ, การใช้สี, พื้นที่ฟังก์ชัน, การใช้ตัวอักษร, การใช้ภาพ, การออกแบบไอคอน, การใช้ วินโดวส์และการใช้เมนู, เทคนิคการปฏิสัมพันธ์, กรณีศึกษาและแบบฝึกหัดการออกแบบรวมทั้ง แบบทดสอบย่อยและประเมินผลความเข้าใจของผู้อ่าน 1.7 การพิมพ์วิทยานิพนธ์บนซีดีรอมจากข้อดีของซีดีรอมกล่าวคือ มีความแข็งแรงทนทาน ,ความน่าเชื่อถือ,มีความสามารถใน การเก็บข้อมูลสูง,มีเครื่องอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้,สามารถ
  • 12. 12 เก็บตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และการเผยแพร่ที่สะดวกและรวดเร็วได้ถูกนามาใช้งาน วิทยานิพนธ์แทนที่วิทยานิพนธ์ที่มีพื้นฐานบนกระดาษซึ่งมีข้อจากัดมากมาย (Barker, et al,) 1992, quoted in Barker, 1992: 147) วิทยานิพนธ์เล่มแรกได้มีการจัดพิมพ์ขึ้นบนซีดีรอมได้มีการแปลงตัวหนังสือ,แผนภาพ และตารางในหนังสือให้ไปอยู่บนซีดีรอม (Giller,1992,ๆquoted in Barker,1992 : 147) พื้นฐานเหล่านี้ได้ถูก นาไปขยายขอบเขตการสาธิตซอฟท์แวร์ซึ่งผลิตระหว่างการวิจัย ในการแก้ไขข่าวสารจากซีดีรอมโดยชุด การแก้ไขข้อมูลแบบเต็มซึ่งเรียกว่า รอมแวร์ (Romware)ได้มีการประเมินวิทยานิพนธ์ที่มีพื้นฐานบน กระดาษกับพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์ปรากฏว่า พบสิ่งที่น่าสนใจ 3 อย่างของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสารคือ 1. ความง่ายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าสาร 2. ง่ายต่อการใช้งาน 3.เพิ่มคุณค่าให้กับวิทยานิพนธ์จากซอฟต์แวร์การสาธิตและความเป็นพลวัตซึ่งเป็นที่ต้องการของ ผู้อ่านวิทยานิพนธ์สิ่งสาคัญของคาถามที่ได้ค้นพบในการพิมพ์วิทยานิพนธ์ลงซีดีรอม คือ การเผยแพร่การ วิจัยที่ค้นพบได้เป็นจานวนมาก 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเบื้องต้น จงกล เฮงสุวรรณ (2540 : บทคัดย่อ) ได้วิเคราะห์แนวโน้มหลักสูตรศิลปศึกษา ระดับปริญญาตรี ของสถาบันราชภัฎในทศวรรษหน้า พบว่า ในด้านเนื้อหาวิชามีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการ สอนเพิ่มขึ้น ได้แก่ วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก คอมพิวเตอร์ศิลป์ คอมพิวเตอร์กราฟิก 2-3 มิติ เป็นต้น อีกทั้ง สื่อที่จะนามาประกอบการเรียนการสอนนั้นจะเป็นสื่อที่ทันสมัย รวมทั้งมีการนาเอาอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ใน การเรียนการสอน ธารงศักดิ์ ธารงเลิศฤทธิ์ (2540 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาทัศนะของผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร และนักการศึกษาด้านศิลปศึกษาเกี่ยวกับแนวโน้มของหลักสูตรศิลปศึกษา
  • 13. 13 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การออกแบบสารสนเทศ ผู้วิจัยได้กาหนดและรวบรวมแนวคิดทฤษฎีรวมถึง งานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้ดังนี้ 1. แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) 2. แนวคิดเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) 3. แนวคิดเรื่องอินเทอร์เน็ต (Internet) 4. แนวคิดเรื่องการติดต่อสื่อสาร (Communication) 5. แนวคิดหลักการออกแบบเว็บไซต์ (Website Design Concept) 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ความรู้ (Knowledge) คือความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่งอาจจะรวมไปถึง ความสามารถ ในการนาสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ (สารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย, 2551) ไม่ว่าจะเป็นความรู้ที่ เกิดขึ้นใหม่ภายในองค์กร ซึ่งเป็นเป้าหมายส่วนใหญ่ของแนวคิดการ จัดการความรู้หรือจะเป็นความรู้ที่เกิด ขึ้นมานานแล้วหรืออาจจะเรียกว่า ภูมิปัญญา หรือที่เรามักจะคุ้นหูกับคาวา ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือความรู้ที่ มิได้เกิดมาจากแต่ผู้มีการศึกษาสูงๆ เท่านั้นแต่ยัง สามารถถูกผลิตขึ้นมาจากบุคคลธรรมดาทั่วไป หรือที่ เรียกว่าชาวบ้าน ความรู้ที่ได้จากภูมิปัญญา ชาวบ้านก็มิได้มีคุณค่าที่ยิ่งหย่อนไปกว่าภูมิปัญญาของนักวิชาการ และสังคมยุคปัจจุบัน ได้เชิดชูว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นความรู้ที่มีคุณค่ายิ่ง เพราะความรู้ที่ถูกผลิตออกมามิ ได้มาจากตัวหนังสือใน ตาราหรือการวิจัยในห้องทดลอง หากแต่เกิดมาจากประสบการณ์ที่ถูกสั่งสมลองผิด ลองถูก สืบทอด กันมาหลายชั่วอายุคน ภูมิปัญญาเหล่านี้ได้เคลือบแฝงไว้ด้วยวัฒนธรรมทางสังคมอีก มากมายซึ่ง ความรู้ใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์มักมองข้าม และเป็นการยากที่จะใช้เทคโนโลยีหรือความรู้ใด้ๆ มา ผลิตความรู้อันเป็นภูมิปัญญาเหล่านั้นได้ในเวลาอันสั้นดังนั้น ความรู้อันเป็นภูมิปัญญาเหล่านี้ โดยเฉพาะ ความรู้เรื่องการออกแบบสารถือได้ว่าเป็นความรู้อย่างหนึ่งตามหลักของการจัดการความรู้นี้ได้ซึ่งผู้ศึกษาจะ ได้นาองค์ความร้เรื่องการออกแบบสารมาประยุกต์ใช้ตามกระบวนการจัดการความรู้เพื่อนามาจัดการอย่างมี ระบบ และมีเป้าหมาย โดยจะได้รวบรวมสรุปแนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ โดยแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้
  • 14. 14 1. ประโยชน์ของการจัดการความรู้แนวคิดการจัดการความรู้เป็นแนวคิดที่พัฒนาเพื่อการบริหาร จัดการความรู้ภายใน หน่วยงาน ธุรกิจหรือองค์กรแต่จากการศึกษาถึงประโยชน์และคุณลักษณะของแนวคิด นี้ทาให้เรา สามารถนามาประยุกต์ใช้กับองค์ความรู้นอกองค์กรได้โดยประโยชน์ที่ชัดเจนซึ่งเสนอโดย Bacha (Bacha อ้างใน นฤมล พฤกษศิลป์ และ พัชรา หาญเจริญกิจ, 2543) คือ การที่การจัดการความรู้ สามารถป้องกันความรู้สูญหาย ทาให้องค์กรสามารถรักษาความเชี่ยวชาญ ความชานาญ และความรู้ ที่อาจ สูญหายไปพร้อมกับการเปลี่ยนบุคลากร ซึ่งในที่นี้การเปลี่ยนของยุคสมัยการถูกเพิกเฉยจากคนในสังคมและ การลมหายตายจากของผู้เฒ่าผู้แก่ซึ่งมีองค์ความรู้และประสบการณ์ มีความเสี่ยงสูงที่องค์ความรู้ด้านนี้จะ คอยๆ สูญหายไปทีละน้อย จนกว่าทุกฝ่ายจะตระหนัก อาจจะสายเกินแก่แล้วก็เป็นได้นอกจากนี้ประโยชน์ ในด้านอื่นที่เห็นได้ชัดจากการนามาประยุกต์ใช้ คือ การที่มีแหล่งแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อให้สามารถนา องค์ ความรู้ไปพัฒนาหรือยกระดับนาไป พัฒนาต่อยอดความรู้ เช่น การนาไปส่งเสริมการอนุรักษ์ ศิลปะวัฒนธรรมให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น หรือการเผยแพร่องค์ความรู้การปลูกเรือนแบบโบราณเพื่อการอยู่ อาศัยเป็นต้น 2. ประเภทของความรู้ ความรู้นั้นสามารถแบ่งได้หลายประเภทและหลายลักษณะแต่การแบ่งที่เป็น ที่นิยมที่สุด มักแบ่งตาม “รูปแบบที่มองเห็น” ซึ่งมี 2 ลักษณะดังนี้ (พรธิดาวิเชียรปญญา, 2547) (1) ความรู้โดยนัย (Tacit knowledge) คือความรู้ที่มองเห็นไม่ชัดหรือความรู้ซ้อน เร้น จัดเป็น ความรู้อย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเป็นทักษะหรือความรู้เฉพาะตัวของแต่ละบุคคลที่มาจาก ประสบการณ์ความ เชื่อหรือความคิดสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงาน เช่น การถ่ายทอดความรู้ ความคิดผ่านการสังเกตการสนทนา การฝึกอบรม ความรู้ประเภทนี้เป็นหัวใจสาคัญที่ทาให้งาน ประสบความสาเร็จ เนื่องจากความรู้ประเภทนี้ เกิดจากประสบการณ์และการนามาเล่าสู่กันฟัง ดังนั้น จึงไม่สามารถจัดให้เป็นระบบหรือหมวดหมู่ได้และ ไม่สามารถเขียนเป็นกฎเกณฑ์หรือตารา ได้แต่สามารถถ่ายทอดและแบ่งปันความรู้ได้โดยการสังเกตและ เลียนแบบ (2) ความรู้ที่ชัดแจง (Explicit knowledge) คือความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่เป็นทางการเป็นความรู้ที่ มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และใช้ร่วมกันในรูปแบบต่างๆ เช่น สิ่งพิมพ์เอกสารขององค์การ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกสเว็บไซต์อินทราเน็ตความรู้ประเภทนี้เป็น ความรู้ที่แสดงออกมาโดยใช้เป็นระบบ สัญลักษณ์จึงสามารถสื่อสารเผยแพร่ได้อย่างสะดวก นอกจากนั้นยังมีการแบ่งประเภทของความรู้ออกเป็น ลักษณะต่างๆ เพิ่มเติมได้ดังนี้
  • 15. 15 (1) ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม (Culture knowledge) เป็นความรู้ที่เกิดจากศรัทธา หรือความเชื่อที่ ทาให้กลายเป็นความจริง ซึ่งจะขึ้นอยูกับประสบการณ์และการเฝ้าสังเกตและการสะท้อนผลกลับของตัว ความรู้และของสภาพแวดล้อมองค์การที่พัฒนามาเป็นระยะเวลายาวนานที่ต่อเนื่องกันอย่างยาวนาน จะ พัฒนาความเชื่อรวมกันในเรื่องที่เกี่ยวกับธรรมชาติของธุรกิจ ความสามารถหลักขององค์กรการตลาดและ คู่แข่งขัน (2) ความรู้ที่แฝงอยู่ในองค์การ (Embedded knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในวิธีการทางานคู่มือการ ทางานวัฒนธรรมองค์การกฎระเบียบ กระบวนการผลิตเป็ นต้น จากการศึกษาผู้วิจัยมีความเห็นสรุปว่า ถึงแม้ว่าจะสามารถแบ่งประเภทความรู้ได้ หลากหลายลักษณะ เช่น ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม หรือความรู้ ที่แฝงอยู่ในองค์กร แต่การแบ่ง ประเภทลักษณะนี้จะเป็นการแบ่งเพื่อนาไปใช้เพื่อการจัดกลุ่มหมวดหมูของ ความรู้ในส่วนของระบบงานเพื่อให้เข้าใจง่ายมากกว่า แต่หากพิจารณาถึงแนวคิดของการจัดการความรู้แล้ว จะเป็นแนวคิดการจัดการความรู้ 2 ประเภท คือความรู้ชัดแจง (Explicit knowledge) และความรู้โดยนัย (Tacit knowledge) เท่านั้น คือเป็นการเปลี่ยนความรู้ (Transferring) ทั้งความรู้โดยนัยและความรู้ แบบชัด แจง ให้ออกมาเป็นความรู้ในลักษณะเป็น ความรู้ชัดแจง ที่เป็นข้อมูล (Data) เพื่อที่จะสามารถนามาเก็บใน ลักษณะของฐานข้อมูล (Database) จัดหมวดหมู่ความสัมพันธ์จนกลายเป็นลักษณะของข้อมูลข่าวสาร (Information) และสามารถเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้สามารถเข้าไปศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมต่อยอด องค์ความรู้ (Context independent) เกิดเป็ นความรู้ (Knowledge) ซึ่งเมื่อได้นาความรู้นั้นไปใช้ให้เกิด ประโยชน์หรือสามารถนาไปประยุกต์ใช้จนเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ก็จะทาใหเกิดปัญญา (Wisdom) ในที่สุด ซึ่งผู้ที่มีองค์ความรู้ที่ใหม่กว่าก็จะได้ นาองค์ความรู้ที่ตนเองมีนั้นถ่ายทอดหรือแบ่งปัน (Sharing) โดยการเข้า ไปบันทึกไว้ในฐานข้อมูล ในฐานะของผู้มีความรู้และกลายเป็นข้อมูลใหม่ให้ผู้อื่นได้ศึกษาเรียนรู้ต่อไปโดย กระบวนการทั้งหมดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) ในยุคปัจจุบันจะมีบทบาทอย่าง มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากได้รับการออกแบบมาอย่างเหมาะสม โดยกระบวนการดังที่กล่าวมาแล้วโดย ผู้วิจัยได้เขียนออกมาได้เป็นแผนภาพ ดังนี้ 3. ความหมายของการจัดการความรู้ ในการศึกษาความหมายของการจัดการความรู้ผู้วิจัยจะได้ทา การรวบรวมศึกษาเพื่อหา ข้อสรุป โดยแนวคิดเรื่องความหมายของการจัดการความรู้ที่มีนักวิชาการได้ให้ไว้ หลากหลายทัศนะ ดังนี้ (สารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย, 2551) การจัดการความรู้(Knowledge Management - KM) คือการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูลไปสู่สารสนเทศเพื่อให้เกิดความรู้และปัญญา ในที่สุด (วิจารณพานิช, 2548) เครื่องมือเพื่อการบรรลุ
  • 16. 16 เป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กันได้แก่บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไป เป็นองค์กรเรียนรู้และบรรลุความเป็นชุมชน ความเป็นหมูคณะและ ความเอื้ออาทรกันในที่ทางาน (ชัชวาลวงษประเสริฐ, 2548) เป็ นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน (Competency) เพิ่มผลิตภาพในการทางาน (Productivity) การสร้างองค์ความรู้ (New knowledge) การสร้าง นวัตกรรม ใหม่ (Innovation) และตอบสนองแผนกลยุทธ์ขององค์กร (Strategic plan) (ยุทธนา แซเดียว, 2547) การนาความรู้มาใช้พัฒนาขีดความสามารถขององค์กรให้ได้มากที่สุดโดยมีกระบวนการในการสรร หาความรู้เพื่อถ่ายทอด และแบ่งปันไปยังบุคลากร เป็ าหมายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (พรธิดา วิเชียรปญญา, 2547) การจัดการความรู้ (Knowledge Management – KM) เป็ นทั้ง ศาสตร์และศิลปของ กระบวนการเชิงระบบที่เกี่ยวข้องกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศความคิด การกระทาตลอดจน ประสบการณ์ของบุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม และจัดเก็บใน ลักษณะของแหล่งข้อมูลที่บุคคล สามารถเข้าถึงได้โดยอาศัยชองทางต่างๆ ที่องค์กรจัดเตรียมไว้เพื่อ นาความรู้ที่มีอยู่ไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน ซึ่งก่อให้เกิดการแบ่งปันและถ่ายโอนความรู้และในที่สุดความรู้ที่มีอยู่จะแพร่กระจายและ ไหลเวียนทั่วทั้งองค์กรอย่างสมดุลรวมทั้งเป็นไปเพื่อเพิ่ม ความสามารถในการพัฒนาผลผลิตและองค์กร (บุญดีบุญญากิจและคณะ, 2547) เป็นกระบวนการในการนาความรู้ที่มีอยู่หรือเรียนรู้มา ใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อองค์กร โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ เช่น การสร้าง รวบรวม แลกเปลี่ยน และใช้ความรู้ (ประเวศ วะ สี, 2545) การจัดการให้มีการวิจัยสร้างความรู้อย่างเหมาะสม ให้มีการตั้ง โจทย์ร่วมกัน วิจัยร่วมกัน รวม เรียนรู้จัดความรู้ให้อยู่ในรูปที่เกิดการเรียนรู้ร่วมกันได้จัดการให้การ สร้างความรู้และการเรียนรู้ไปสู่การ ปฏิบัติที่สาเร็จผล จัดการให้ประเมินผลการปฏิบัติเพื่อการ ปรับตัวอย่างต่อเนื่องและมีการจัดการสร้าง นักวิจัย สร้างนักจัดการความรู้และสร้างหน่วยจัดการ ความรู้ สรุป จากการศึกษารวบรวมความหมายของ การจัดการความรู้จากหลากหลายทัศนะของ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละทาน ผู้วิจัยสรุปโดยการแบ่งกลุ่มลักษณะของ การให้ความหมายของการจัดการ ความรู้ได้ดังนี้คือ (1) การจัดการความรู้เป็น “กระบวนการ” คือ การจัดการความรู้เป็นขั้นตอน (Process) การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนา ระบบจาก ข้อมูลไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้และ ปัญญา แนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุน โดยสารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย (สารานุกรม ออนไลน์วิกิพีเดีย) บุญดีบุญญากิจ (บุญดีบุญญากิจ และคณะ, 2547) และพรธิดาวิเชียรปัญญา (พรธิดาวิเชียร ปัญญา, 2547)
  • 17. 17 (2) การจัดการความรู้เป็น “เครื่องมือ” คือการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ (Tool) ในการบรรลุสู่ เป้าหมายเพื่อ พัฒนาคน และพัฒนางานทาให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้อันจะนาไปสู่ การพัฒนาองค์กรใน ที่สุดแนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนโดย วิจารณ์พานิช (วิจารณพานิช, 2548) ชัชวาลวงษ์ประเสริฐ(ชัชวาล วงษประเสริฐ, 2548) และยุทธนาแซ่เดียว (ยุทธนาแซ่เดียว, 2547) (3) การจัดการความรู้เป็น “ความร่วมมือ” คือการจัดการความรู้เป็นการร่วมมือกัน (Co-operate) ใน การสร้างความรู้อย่างเหมาะสม โดยกลุ่มคนหนึ่ง เช่น ตั้งโจทย์ร่วมกันวิจัยร่วมกัน และร่วมกันเรียนรู้ไปสู่ การปฏิบัติที่สาเร็จผลแนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนตามแนวคิดของ ประเวศวะสี (ประเวศวะสี, 2545) จาก นิยามความหมายต่างๆ ข้างต้น กล่าวโดยสรุปแล้ว การจัดการความรู้ก็เป็นทั้ง “กระบวนการ” คือจะต้องมี ขั้นตอนในการจัดการ และการทางานที่ถูกต้อง และเหมาะสมเพื่อ นาไปสู่เป้าหมาย เป็น “เครื่องมือ” คือ จะต้องนาไปใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสมจึงจะบรรลุเป้าหมายของ การจัดการความรู้ที่แท้จริงได้และ “ความ ร่วมมือ” คือจะต้องอาศัยการร่วมแรงร่วมใจกันของกลุ่มที่ อยู่ในองค์กรเดียวกัน มีความรู้ความสนใจในเรื่อง เดียวกันหรือเป็นองค์ความรู้ที่ประสานสัมพันธ์กัน ซึ่งทั้งสามส่วนนั้นต่างมีเป้าหมายเดียวกันคือการ “พัฒนา” ซึ่งเป็นการพัฒนาทั้งคน ให้รู้มากรู้ครบ ขึ้น ความรู้เพิ่มพูน เข้าถึงได้ง่าย และได้รับการพัฒนามาก ขึ้น และองค์กรที่คน และความรู้นั้นมี ความสัมพันธ์อยู่ก็จะเกิดการพัฒนา หากเป็นองค์กรด้านธุรกิจก็จะเป็น การลดต้นทุน และเพิ่ม ประสิทธิภาพการทางานของคนในองค์กร ซึ่งถือเป็นผลลัพธ์หรือเป้าหมายสูงสุด ของการจัดการ ความรู้หรืออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งคือการจัดการความรู้เป็นการสร้างวัฒนธรรมระหว่าง ความรู้ และคนที่มีความรู้เพื่อให้วัฒนธรรมนั้นไปพัฒนาคน และความรู้ต่อไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุดซึ่ง สุดท้ายก็จะส่งผลดีต่อองค์กรหรือสถาบันที่มีวัฒนธรรมนี้อยู่ (4.) องค์ประกอบหรือตัวแบบของการจัดการความรู้ จากการศึกษามีผู้เชี่ยวชาญเสนอแนวคิดใน เรื่ององค์ประกอบหรือตัวแบบของการจัดการ ความรู้ซึ่งสามารถแบ่งได้ 2 แนวคิดคือ 4.1 องค์ประกอบตามแนวคิด “แบบปลาทูน่า” (Tuna Model) หรือเป็ นตัวแบบที่พัฒนาโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สสส.) (ประพันธ์ผาสุขยืด, 2548) เสนอแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบ ของการจัดการความรู้โดยแบ่งองค์ประกอบของการจัดการความรู้เป็น 3 ส่วนโดยเปรียบเทียบองค์ประกอบ ทั้ง 3 ส่วนเป็นเสมือนแต่ละส่วนของปลาทูน่า (5.) หลักขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ จากการศึกษาแนวคิดเรื่องการจัดการความรู้อย่าง กว้างๆ ในหัวข้อก่อนหน้านี้ทาให้เราพอจะมองเห็นภาพรวมของก่ารจัดการความรู้ได้ชัดขึ้น และทาให้เรา
  • 18. 18 สามารถแยกแยะได้ชัดเจนว่าการจัดการความรู้นั้นไม่ใช่แค่การเก็บไฟล์เอกสารลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ เฉยๆ แต่จะต้องมีระบบการแบ่งปัน และปรับปรุงได้จากการศึกษาเอกสารตาราด้านการจัดการความรู้พบว่า นักวิชาการมีหลักขั้นตอนการจัดการความรู้ที่เหมือนกันอาจต่างกันเพียงคาศัพท์ที่ใช้ผู้วิจัยจึงขอยกมากล่าว เพียงท่านเดียว
  • 19. 19 บทที่ 3 วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Resrarch and Development) ซึ่งผู้ศึกษาได้กาหนดวิธีการดาเนินการศึกษาดังรายละเอียดที่จะเสนอตามลาดับคือ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง แบบแผนงานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การสร้างเครื่องมือในการศึกษา วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีดาเนินการทดลอง และการวิเคราะห์ข้อมูลดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร 1.1 ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 20 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพาได้มา โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบ หาประสิทธิภาพของการออกแบบสารแบบ เดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้ 1.2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสารแบบเดี่ยว จานวน 5 คน 1.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสารแบบกลุ่ม จานวน 10 คน 1.2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการ ออกแบบสารแบบภาคสนาม จานวน 5 คน
  • 20. 20 แบบแผนการศึกษา รูปแบบที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้เรียกว่า ทดสอบก่อนและหลังเรียนกับกลุ่มเดียว (One-Group Pretest-Posttest Desing) (Vokell,1983 : 170 - 171) มีลักษณะดังนี้ O1 X O2 เมื่อ O1 หมายถึง การทดสอบก่อนการทดลอง X หมายถึง การเรียนจากบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร O2 หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง โดยมีตัวแปรในการวิจัย คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ สาร เครื่องมือที่ใช้การวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วย 1.บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะใช้ในการฝึกอบรมจานวน 5 หน่วย เรียงตามลาดับ เนื้อหาที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยแยกเอกสารเป็นหน่วยจานวน 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยที่ 2 แนวทางในการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยที่ 3 การเสริมสร้างนิสัยในการคิด หน่วยที่ 4 การพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หน่วยที่ 5 การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
  • 21. 21 2. แบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารเป็นแบบประเมินที่ดัดแปลงมา จากแบบประเมินคุณภาพสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาของกรมวิชาการ (กรมวิชาการ, 2542) ประเมินค่าโดย ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน โดยแบ่งรายการประเมินออกเป็น 6 ด้าน คือ ส่วนนาของบทเรียน, เนื้อหาของ บทเรียน, การใช้ภาษา, การออกแบบการสอน, ส่วนประกอบด้านมัลติมีเดียและการออกแบบปฎิสัมพันธ์ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 5 ตัวเลือกใช้เป็นแบบทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยผู้เรียนจะต้องทดสอบเป็นรายบุคคลเพื่อนาคะแนนที่ได้มาใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล การสร้างเครื่องมือในการวิจัย 1. บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการสร้างบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบ สารผู้วิจัยได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1.1 ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรเนื้อหาวิชา 263-201 เทคโนโลยีการศึกษาในหัวข้อกราฟิกใน การสื่อสารการศึกษา และเอกสารคาสอนวิชา 263-201 เทคโนโลยีการศึกษา (รายละเอียดดูใน ภาคผนวก ญ) 1.2 วิเคราะห์และเรียบเรียงเนื้อหาในขั้นตอนนี้จะวิเคราะห์เนื้อหาและแยกเนื้อหาออกเป็น หน่วยย่อยๆ 1.3 เขียนแผนการสอน รูปแบบแผนการสอนที่ใช้ยึดแนวของวิชัย วงษ์ใหญ่ (2525 : 175- 178)ซึ่งประกอบด้วยหัวเรื่องและกาหนดเวลาเรียน,เนื้อหาสาระ,คิดรวบยอด, จุดประสงค์ของการเรียน, สื่อ การเรียน, กิจกรรมการเรียนและการประเมินผล 1.4 แปลงแผนการสอนให้อยู่ในรูปของสตอรีบอร์ด 1.5 คัดเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 1.6 เตรียมทรัพยากรที่จะใช้ผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 1.7 ผลิตบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
  • 22. 22 1.8 ขั้นตอนสอบสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ 1.9 ขั้นทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 1.10 จัดทาสาเนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 1.11 เผยแพร่บทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 2. การสร้างแบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารผู้วิจัยได้ดาเนินการ สร้างแบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารตามขั้นตอนต่อไปนี้ 2.1 ศึกษาเอกสารการประเมินสื่อการสอน 2.2 เลือกแบบประเมินคุณภาพมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาของกรมวิชาการ (กรมวิชาการ,2542) 2.3 ปรับปรุงแบบประเมินคุณภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารให้ สอดคล้องกับคุณสมบัติของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร 2.4 กาหนดระดับการประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไว้5 ระดับ คือ ดีมาก = 5 ดี = 4 ปานกลาง = 3 พอใช้ = 2 ควรปรับปรุง = 1 ซึ่งเกณฑ์การยอมรับคุณภาพของบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารจะพิจารณาตาม คาถามแต่ละข้อข้อที่ผ่านเกณฑ์จะต้องได้คะแนนเฉลี่ยดีถึงดีมาก และคะแนนเฉลี่ยรวมต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ ดี จึงจะสามารถนาไปทดลองได้ โดยกาหนดระดับการประเมิน 5 ระดับดังนี้ คะแนน 1.00 – 1.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุงอย่างยิ่ง คะแนน 1.50 – 2.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุง คะแนน 2.50 – 3.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง