SlideShare a Scribd company logo
การแสดงพื้นเมือง
ความหมายการแสดงพื้นเมือง 
การแสดงพื้นเมืองหมายถึง การแสดงที่เกิดขึ้นตามท้องถิ่นและ ตามพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละภูมิภาค โดยอาจมีการพัฒนาดัดแปลงมา จากการละเล่นพื้นเมืองของท้องถิ่นนั้นๆ เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้และรักในคุณค่าในศิลปะไทยในแขนง นี้ และเป็นการแสดงเพื่อก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และ ความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันตามสภาพ ภูมิประเทศ สังคม วัฒนธรรม แต่ละท้องถิ่น
ประเภทการแสดงพื้นเมือง 
การแสดงพื้นเมือง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ราพื้นเมือง และ เพลงพื้นเมือง 
ราพื้นเมืองหมายถึง การละเล่นที่มีการแสดง การร่ายรา มีเพลงดนตรี ประกอบ ที่ได้วางเป็นแบบแผน และนิยมเล่นหรือถ่ายทอดสืบต่อกันมาจน แพร่หลาย การแสดงพื้นเมือง อาจเกิดจากการบูชาบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น ขอให้สิ่งที่ตนนับถือประทานสิ่งที่ตนปรารถนา หรือขจัดปัดเป่าสิ่งที่ไม่ ปรารถนา นอกจากนี้ ก็เป็นการแสดงเพื่อความบันเทิงรื่นเริง
เพลงพื้นเมืองหมายถึง เพลงที่ชาวบ้านในท้องถิ่นนั้นๆประดิษฐ์ แบบแผนการร้องเพลงไปตามความนิยม และสาเนียงภาษาพูดใน ท้องถิ่นของตน นิยมร้องเล่นกันในเทศกาลหรืองานที่มีการชุมนุมรื่นเริง เช่น สงกรานต์ ขึ้นปีใหม่ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า และในการลงแขกเกี่ยว ข้าว เนื้อความของเพลงพื้นเมืองที่นิยมร้องกัน มักจะเป็นการเกี้ยวพา ราสีระหว่างชายหญิง ปะทะคารมกัน ในด้านสานวนโวหาร สิ่งสาคัญ ของการร้องคือ การด้นกลอนสด ร้องแก้กันด้วยปฏิภาณไหวพริบ ทาให้เกิดความสนุกสนานทั้งสองฝ่าย
การแสดงพื้นเมืองของไทยแบ่งออกเป็นภูมิภาคได้ ๔ภูมิภาค ดังนี้ 
๑.การแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ 
๒.การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง 
๓.การแสดงพื้นเมืองของอีสาน 
๔.การแสดงพื้นเมืองของใต้
การแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ 
เป็นศิลปะการรา และการละเล่น หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า “ฟ้อน” การ ฟ้อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลุ่มชนเผ่าต่างๆ เช่น ชาวไต ชาวลื้อ ชาว ยอง ชาวเขิน เป็นต้น ลักษณะของการฟ้อน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิม และ แบบที่ปรับปรุงขึ้น เอกลักษณ์ทางการแสดงคือ มีลีลาท่าราที่แช่มช้า อ่อนช้อย มีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบกับการบรรเลงและขับร้อง ด้วยวงดนตรีพื้นบ้าน เช่น วงสะล้อ ซอ ซึง วงปูเจ่ วงกลองแอว เป็นต้น โอกาสที่ แสดงมักเล่นกันในงานประเพณี หรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง ได้แก่ ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนครัวทาน ฟ้อนสาวไหม และฟ้อนเจิง
การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือได้แก่ 
ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บหรือฟ้อนเมืองฟ้อนลาวแพน ฟ้อนรักฟ้อนเงี้ยวฟ้อนดวงเดือน ฟ้อนดวงดอกไม้ ฟ้อนดวงเดือนฟ้อนมาลัย ฟ้อนไตฟ้อนดาบฟ้อนโยคีถวายไฟ ระบาชาวเขา รากลองสะบัดไช 
เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ ได้แก่ ปี่แนกลองตะโล้ดโป๊ด ฉาบใหญ่ ฆ้องโหม่ง ฆ้องหุ่ย 
เพลงพื้นเมืองภาคเหนือ เช่น เพลงซอ เพลงชาวเหนือ เพลงดวงดอกไม้
ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคเหนือ 
“ฟ้อนมาลัย”หรือ “ฟ้อนดวงดอกไม้” เพลงฟ้อนดวงดอกไม้ เป็นเพลงเก่าของ เชียงใหม่ เจ้าดารารัศมี พระชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ ทรงนามาใช้ในละครเรื่อง "น้อยใจยา" เมื่อกรมศิลปากรแสดงละครพันทางเรื่อง "พญาผานอง" ณ โรงละครแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ. 2501 อาจารย์มนตรี ตราโมท ได้นา ทานองเพลงฟ้อนดวงดอกไม้มาใช้เป็นเพลงฟ้อนของนางข้าหลวงของแม่ท้าวคาปิน โดยได้แต่งบทร้องขึ้นมาใหม่ และคุณหญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ประดิษฐ์ท่ารา ฟ้อนชุด นี้ออกเพลงซุ้ม ซึ่งเป็นเพลงสาเนียงลาวชั้นเดียว
เพลงฟ้อนมาลัย 
ชมดอกไม้เบ่งบานสลอน ฝูงภมรวะว่อนใฝ่หา ดอกพิกุลยี่สุ่นจาปา ลมพัดพาราเพยขจร เกดกระถินส่งกลิ่นหอมฟุ้ง กาจายจรุงระรื่นเกสร จันทน์กะพ้อช่างล่อภมร ให้หลงเริงร่อนบินว่อนตอม โอ้ดอกไม้ก็ได้ใช้กลิ่น อวดประทินที่แสนสุดหอม เร้าฤทัยเราให้ใฝ่ดอม ช่างน่าถนอมจริงหนอ พวกดอกไม้ก็ไม่งามเท่า พักตร์แม่เจ้าแม่ท้าวค้าปิน สารวยเลิศช่างเฉิดโฉมฉิน บ่มีมลทินทั่วสรรพางค์ กลิ่นดอกไม้ก็ไม่ระรื่น หอมชุ่มชื่นเท่าคุณพระนาง ข้าเจ้าภักดีบ่มีจืดจาง จนชีวิตวางวายเนอ
การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง 
เป็นศิลปะการราและการละเล่นของชนชาวพื้นบ้านภาคกลาง ซึ่งส่วน ใหญ่มีอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถี ชีวิตและเพื่อความบันเทิงสนุกสนาน เป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการ ทางาน หรือเมื่อเสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยว เช่น การเล่นเพลงเกี่ยวข้าว เต้นการาเคียว ราโทนหรือราวง ราเถิดเทิง หรือรากลองยาว เป็นต้น มีการ แต่งกาย ตามวัฒนธรรมของท้องถิ่น และใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้าน เช่น กลอง ยาว กลองโทน ฉิ่ง ฉาบ กรับ และโหม่ง
การแสดงพื้นเมืองภาคกลางได้แก่ 
ราวง ราเหย่ย เต้นการาเคียว ราชาวนาเถิดเทิงราต้นวรเชษฐ์ ราแม่ศรี 
ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงได้แก่ 
วงปี่พาทย์ 
เพลงพื้นเมืองภาคกลางเช่น เพลงเหย่อย เพลงเทพทอง เพลงฉ่อย เพลงอีแซว เพลงเรือ เพลงเกี่ยวข้าว เพลงสงฟาง เพลงพิษฐาน เพลงเต้นกา เพลงราเคียว เพลงพวงมาลัย เพลงชาวไร่ เพลงระบา เพลงบ้านนา เพลงปรบไก่ เพลงสวรรค์ เพลงแอ่วซอ
ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคกลาง 
“เพลงเกี่ยวข้าว”เป็นเพลงที่สาหรับร้องกันในขณะลงแขกเกี่ยวข้าว อันเป็นอาชีพสาคัญของประชาชนชาวไทยอย่างหนึ่งเพื่อให้ความ สนุกสนานกับความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าในการงาน และเชื่อมความสามัคคี ในระหว่างพื้นบ้านอาชีพเดียวกันเนื้อความของเพลงมักจะเกี่ยวกับ การไต่ ถามถึงการทานาผสมผสานการเกี้ยวพาราสีกัน เพลงเกี่ยวข้าว บางแห่งเรียก “เพลงกา” เวลาแสดงมือหนึ่งถือเคียว อีกมือหนึ่งกาข้าวไว้ย่าเท้าใช้ลีลาไปตามจังหวะเพลง ใช้ตบมือให้จังหวะ พร้อมๆ กัน บางครั้งใช้กลองและฉิ่งเข้าร่วมด้วย
เพลงเกี่ยวข้าว 
ต้นเสียง ชะเอิง เงิงเงย ชะ เอิง เงิง เง้ย 
ลูกคู่ เฮ้ เอ้า เฮ้ เฮ้ 
ต้นเสียง แขกอาสาที่มาก็สาย ทั้งวัวทั้งควายพะรุงพะรัง(เฮ้ เอ้า เฮ้ เฮ้) 
พี่ขี่ไอ้เผือกออกหน้า อีสร้อยระย้าตามหลัง 
ลง พี่ขี่ไอ้ทุยลุยซังไปกระทั่งนาเอย (เวลาลง ร้องซ้าสองครั้ง) 
(ลูกคู่รับย้อนต้น พร้อมๆ กัน) 
ต้นเสียง เกี่ยวข้าวอยู่ข้างทาง เห็นสายระยางเป็นเชือกชัก 
พี่ขอถามน้องสาว ว่าทาข้าวเบาหรือว่าทาข้าวหนัก 
ลง ขอยืมเคียวเกี่ยวสักพัก แม่คนที่รักกันเอย
การแสดงพื้นเมืองของภาคอีสาน 
ภูมิประเทศภาคอีสานเป็นที่ราบสูง ค่อนข้างแห้งแล้งเพราะพื้นดิน ไม่เก็บน้า ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝนน้าจะท่วม แต่ชาวอีสานก็มีอาชีพทาไร่ ทานา และเป็นคนรักสนุก จึงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาส การแสดงของ ภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจาวัน หรือประจาฤดูกาล เช่น แห่นางแมว เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบ ราลาวกระทบไม้ ฯลฯ 
ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะของอีสาน คือ ลีลาและจังหวะ ในการก้าวเท้า มีลักษณะคล้ายเต้น แต่นุ่มนวล มักเดินด้วยปลายเท้าและ สะบัดเท้าไปข้างหลังสูง เป็นลักษณะของ เซิ้ง
การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ได้แก่ 
ฟ้อนภูไทเซิ้งสวิง เซิ้งโปงลางเซิ้งตังหวาย ภูไทสามเผ่าไทภูเขา เซิ้งกระติบข้าว 
ดนตรีพื้นเมืองอีสานได้แก่ กลองยาว กรับ ฉาบ โหม่ง แคน โปงลาง 
เพลงพื้นเมืองภาคอีสานเช่น หมอลา เพลงโคราช เจรียง กันตรึม เพลงล่องโขง เพลงแอ่วแคน
ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคอีสาน 
“หมอลาเพลิน” หรือ “หมอลาหมู่” เป็นการลาที่มีผู้แสดงครบหรือ เกือบครบตามจานวนตัวละครในเรื่องที่ดาเนินการแสดง มีอุปกรณ์ ประกอบทั้งฉาก เสื้อผ้า สมจริงสมจัง และยังมีเครื่องดนตรีประกอบ คือ พิณ (ซุงหรือซึง) แคน กลอง 
การลามี ๒ แนวทาง คือ 
๑.ลาเวียง เป็นการลาแบบลากลอน ๒. หมอลาแสดงเป็นตัวละครตามบทบาทในเรื่อง การดาเนินเรื่อง ค่อนข้างช้า แต่ก็ได้อรรถรสของละครพื้นบ้าน หมอลาได้ใช้ พรสวรรค์ของตัวเองในการลาทั้งทางด้านเสียงร้อง ปฏิภาณไหวพริบ และความจาเป็นที่นิยมในหมู่ผู้สูงอายุ
เพลงหมอลาเพลิน 
จังวางเปิดม่านกั้งแจ้งสว่างอยู่ในตา ตาส่องหาพี่ชายผู้เสื้อลายบ่มา บ้อ 
แฟนพี่ชาย อยู่เทิงฮ่าน โอ้ โอย เด้ ชาย ฟังเด้ออ้าย เด้ออ้าย 
ผู้ชายงามบ้านเพิ่น น่องมาคิดอยากได้โตเจ้าไว้กล่อมนอน 
น่องผู้ฮ่าย ผู้ฮ่าย อ้ายสิบ่สนใจ เฮ็ดจั๋งได๋นอชาย 
น่องคนจนพร้อม จนใจแล่ว ใจแล่ว 
แนวมันพาทุกข์ หาความสุขกายใจอยู่ที่ไฮ่นา 
เชิญเถิดค้า เถิดค่ามาจากันก่อน อย่าซิฟ่าวใจฮ่อน จ่มว่าราคาญ 
ขันไปบ้าน ไปบ้านขอนแก่นทางอีสาน ขอเชิญวงศ์วานเยี่ยมยามกันบ้าง 
จาทอนี่ ทอนี่ พอเป็นแบบอย่าง ฮู่แนงทางตานานครู ข้าได้สอนมา 
ว่าจังได๋คนดี สนนางบอน้ออ้าย น้ออ้าย น้ออ้าย
การแสดงพื้นเมืองของภาคใต้ 
เป็นศิลปะการราและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคใต้ อาจแบ่ง ตามกลุ่มวัฒนธรรมได้ 2 กลุ่มคือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา และวัฒนธรรมไทยมุสลิม ได้แก่ รองเง็ง ซาเปง มะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลิเกภาคกลาง) และซิละ มีเครื่องดนตรีประกอบที่สาคัญ เช่น กลองโนรา กลองโพน กลองปิด กลอง โทน ทับ กรับ พวง โหม่ง ปี่กาหลอ ปี่ไหน รามะนา ไวโอลิน อัคคอร์เดียน ภายหลังได้มีระบาที่ปรับปรุงจากกิจรรมในวิถีชีวิต ศิลปาชีพต่างๆ เช่น ระบาร่อนแร่ กรีดยาง ปาเต๊ะ เป็นต้น
การแสดงพื้นเมืองของภาคใต้ 
ภาคใต้ เป็นดินแดนที่ติดทะเลทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออก ทางด้านใต้ติดกับมลายู ทาให้รับวัฒนธรรมของมลายูมาบ้าง และมีขนบประเพณีวัฒนธรรมและบุคลิกบางอย่าง คล้ายคลึงกัน คือ พูดเร็ว อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจรวดเร็วเด็ดขาด การแต่งกาย เพลง และ ดนตรีคล้ายคลึงกันมาก 
การแสดงพื้นเมืองภาคใต้ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ 
๑.มหรสพคือ การแสดงเป็นเรื่อง เช่น หนังตะลุง มีตัวหนัง มีคนเชิด มีการร้องและ เจรจา นอกจากนั้นมี ลิเกป่า หรือลิเกรามะนา หรือลิเกแขกแดง หรือลิเกแขกเทศ หรือลิเก บก ซึ่งผู้แสดงโต้ตอบกันเป็นเรื่องราวอีกการแสดงคือ โนรา ถ้าเล่นเป็นเรื่องก็ถือเป็นมหรสพ แต่ถ้าร่ายราเป็นชุด ก็ถือเป็นการแสดงเบ็ดเตล็ด 
๒.การแสดงเบ็ดเตล็ดคือร่ายราเป็นชุด เช่นโนราร็องเง็ง ซัมเปงตรีกีปัสราบาร่อน แร่กรีดยาง ปาเต๊ะราซัดชาตรี
ดนตรีพื้นเมืองของภาคใต้ได้แก่ 
กลองแขก รามะนา ปี่ ทับ โหม่ง ฉิ่ง ซอ 
เพลงพื้นเมืองภาคใต้เช่น 
เพลงร้องเรือ(เพลงกล่อมเด็ก) เพลงบอก เพลงกาพรัด(หรือคาพลัด)
ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคใต้ 
“เพลงบอก” เป็นเพลงพื้นบ้านที่ได้รับความนิยมสูงสุด และมีการ แพร่กระจายทั่วทั้ง 14 จังหวัดภาคใต้ ตลอดไปถึงคนไทยในประเทศ มาเลเซีย ศิลปินที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา คาว่าเพลงบอก มาจากภาระหน้าที่ของเพลงชนิดนี้ กล่าวคือ สมัยก่อนเมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์จะมีนักเลงกลอนชาวบ้าน เที่ยว ตระเวนไปแทบทุกครัวเรือน เพื่อขับร้องกลอนบอกสงกรานต์ตามคา ทานายของโหรหลวง เพลงชนิดนี้จึงได้ชื่อว่า “เพลงบอก”
ตัวอย่างตอนหนึ่งจากการประชันเพลงบอก ระหว่างเพลงบอกรุ่ง อาเภอปากพนัง กับเพลงบอกปานอาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช 
(รุ่ง) ปานนี้เปรียบเหมือนกับชูชก มันแสนสกปรกเหลือประมาณ 
อ้ายเรื่องหัวไม้ขอทาน แล้วใครจะปานกับมัน 
เปิดคนที่ขี้ขอ ยิ่งคนเขายอว่าสาคัญ 
แล้วตัวมันยิ่งกินยอ เห็นว่าคนพอใจ 
พัทลุงหรือสงขลา ตลอดมาถึงนคร 
ถ้าปล่อยให้ปานขอก่อน แล้วคนอื่นไม่พักไขว่ 
(ปาน) จริงแหละรุ่งปานเหมือนชูชก แต่ปานจะยกรุ่งเป็นพระเวสสันดร 
ครั้งชูชกเข้าไปวอน แล้วรุ่งให้ไม่เหลือไหร่ 
ถึงลูกเมียยังไม่แน่ ครั่งพอปานแวะเข้าไป 
บางทีสิ่งไรที่รัก ใคร่ก็รุ่งต้องให้มา
(รุ่ง) เราไม่เป็นพระเวสสันดร เพราะจะเดือนร้อนในที่สุด 
เราจะเป็นนายเจตบุตร ที่มันเลิศเป็นนักหนา 
ได้รับคาสั่งท้าวเจตราษฏร์ เหมือนหมายมาดที่เป็นมา 
คอยรักษาอยู่ประตูป่า ถ้ามึงมาเวลาใด 
เราจะคอยยิงด้วยธนูหน้าไม้ ให้ชูชกมันวายชีวิต 
น้ารุ่งยกกลอนขึ้นประดิษฐ์ เห็นว่าไม่ผิดไหร่ 
(ปาน) จริงแหละรุ่งตนเป็นเจตบุตร เป็นคนประเสริฐสุดงามวิไล 
ถ้าเมื่อชูชกเข้าไป ต้องม้วยซึ่งชีวา 
แต่คนอื่นอื่นเขาเลี้ยงวัว บางคนก็เลี้ยงควาย 
แต่เจตบุตรรุ่งนาย ทาไมถึงเลี้ยงหมา

More Related Content

What's hot

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
gchom
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เกษสุดา สนน้อย
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
Warodom Techasrisutee
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 

What's hot (20)

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 

Viewers also liked

เพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้านเพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้าน
SAM RANGSAM
 
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองการละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
leemeanxun
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressweerawich1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
สไลด์ ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
สไลด์  ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1pageสไลด์  ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
สไลด์ ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
Wordpress
WordpressWordpress
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
Panomporn Chinchana
 
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน [นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
กระต่าย อยากกินเกี๊ยวกุ้ง
 
การเพิ่ม Pdf ใน wordpress
การเพิ่ม Pdf ใน wordpressการเพิ่ม Pdf ใน wordpress
การเพิ่ม Pdf ใน wordpress
pantiluck
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Lhin Za
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสานHis ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
Montira Hokjaroen
 

Viewers also liked (17)

เพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้านเพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้าน
 
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองการละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpress
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
สไลด์ ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
สไลด์  ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1pageสไลด์  ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
สไลด์ ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน [นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
 
การเพิ่ม Pdf ใน wordpress
การเพิ่ม Pdf ใน wordpressการเพิ่ม Pdf ใน wordpress
การเพิ่ม Pdf ใน wordpress
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสานHis ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
His ค่ายผู้นำเยาวชน สี่สังฆมณฑลอีสาน
 

Similar to การแสดงพื้นเมือง

นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
ดวงฤทัย ช่วงชัย
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
kalayatookta
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
peter dontoom
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองเครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
leemeanshun minzstar
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยJirapan Kamking
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์
leemeanxun
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
manasakpoto
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)
Float Jo
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นFaRung Pumm
 

Similar to การแสดงพื้นเมือง (20)

นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองเครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่น
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การแสดงพื้นเมือง

  • 2. ความหมายการแสดงพื้นเมือง การแสดงพื้นเมืองหมายถึง การแสดงที่เกิดขึ้นตามท้องถิ่นและ ตามพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละภูมิภาค โดยอาจมีการพัฒนาดัดแปลงมา จากการละเล่นพื้นเมืองของท้องถิ่นนั้นๆ เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้และรักในคุณค่าในศิลปะไทยในแขนง นี้ และเป็นการแสดงเพื่อก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และ ความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันตามสภาพ ภูมิประเทศ สังคม วัฒนธรรม แต่ละท้องถิ่น
  • 3. ประเภทการแสดงพื้นเมือง การแสดงพื้นเมือง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ราพื้นเมือง และ เพลงพื้นเมือง ราพื้นเมืองหมายถึง การละเล่นที่มีการแสดง การร่ายรา มีเพลงดนตรี ประกอบ ที่ได้วางเป็นแบบแผน และนิยมเล่นหรือถ่ายทอดสืบต่อกันมาจน แพร่หลาย การแสดงพื้นเมือง อาจเกิดจากการบูชาบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น ขอให้สิ่งที่ตนนับถือประทานสิ่งที่ตนปรารถนา หรือขจัดปัดเป่าสิ่งที่ไม่ ปรารถนา นอกจากนี้ ก็เป็นการแสดงเพื่อความบันเทิงรื่นเริง
  • 4. เพลงพื้นเมืองหมายถึง เพลงที่ชาวบ้านในท้องถิ่นนั้นๆประดิษฐ์ แบบแผนการร้องเพลงไปตามความนิยม และสาเนียงภาษาพูดใน ท้องถิ่นของตน นิยมร้องเล่นกันในเทศกาลหรืองานที่มีการชุมนุมรื่นเริง เช่น สงกรานต์ ขึ้นปีใหม่ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า และในการลงแขกเกี่ยว ข้าว เนื้อความของเพลงพื้นเมืองที่นิยมร้องกัน มักจะเป็นการเกี้ยวพา ราสีระหว่างชายหญิง ปะทะคารมกัน ในด้านสานวนโวหาร สิ่งสาคัญ ของการร้องคือ การด้นกลอนสด ร้องแก้กันด้วยปฏิภาณไหวพริบ ทาให้เกิดความสนุกสนานทั้งสองฝ่าย
  • 5. การแสดงพื้นเมืองของไทยแบ่งออกเป็นภูมิภาคได้ ๔ภูมิภาค ดังนี้ ๑.การแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ ๒.การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง ๓.การแสดงพื้นเมืองของอีสาน ๔.การแสดงพื้นเมืองของใต้
  • 6. การแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ เป็นศิลปะการรา และการละเล่น หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า “ฟ้อน” การ ฟ้อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลุ่มชนเผ่าต่างๆ เช่น ชาวไต ชาวลื้อ ชาว ยอง ชาวเขิน เป็นต้น ลักษณะของการฟ้อน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิม และ แบบที่ปรับปรุงขึ้น เอกลักษณ์ทางการแสดงคือ มีลีลาท่าราที่แช่มช้า อ่อนช้อย มีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบกับการบรรเลงและขับร้อง ด้วยวงดนตรีพื้นบ้าน เช่น วงสะล้อ ซอ ซึง วงปูเจ่ วงกลองแอว เป็นต้น โอกาสที่ แสดงมักเล่นกันในงานประเพณี หรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง ได้แก่ ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนครัวทาน ฟ้อนสาวไหม และฟ้อนเจิง
  • 7. การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือได้แก่ ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บหรือฟ้อนเมืองฟ้อนลาวแพน ฟ้อนรักฟ้อนเงี้ยวฟ้อนดวงเดือน ฟ้อนดวงดอกไม้ ฟ้อนดวงเดือนฟ้อนมาลัย ฟ้อนไตฟ้อนดาบฟ้อนโยคีถวายไฟ ระบาชาวเขา รากลองสะบัดไช เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ ได้แก่ ปี่แนกลองตะโล้ดโป๊ด ฉาบใหญ่ ฆ้องโหม่ง ฆ้องหุ่ย เพลงพื้นเมืองภาคเหนือ เช่น เพลงซอ เพลงชาวเหนือ เพลงดวงดอกไม้
  • 8. ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคเหนือ “ฟ้อนมาลัย”หรือ “ฟ้อนดวงดอกไม้” เพลงฟ้อนดวงดอกไม้ เป็นเพลงเก่าของ เชียงใหม่ เจ้าดารารัศมี พระชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ ทรงนามาใช้ในละครเรื่อง "น้อยใจยา" เมื่อกรมศิลปากรแสดงละครพันทางเรื่อง "พญาผานอง" ณ โรงละครแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ. 2501 อาจารย์มนตรี ตราโมท ได้นา ทานองเพลงฟ้อนดวงดอกไม้มาใช้เป็นเพลงฟ้อนของนางข้าหลวงของแม่ท้าวคาปิน โดยได้แต่งบทร้องขึ้นมาใหม่ และคุณหญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ประดิษฐ์ท่ารา ฟ้อนชุด นี้ออกเพลงซุ้ม ซึ่งเป็นเพลงสาเนียงลาวชั้นเดียว
  • 9. เพลงฟ้อนมาลัย ชมดอกไม้เบ่งบานสลอน ฝูงภมรวะว่อนใฝ่หา ดอกพิกุลยี่สุ่นจาปา ลมพัดพาราเพยขจร เกดกระถินส่งกลิ่นหอมฟุ้ง กาจายจรุงระรื่นเกสร จันทน์กะพ้อช่างล่อภมร ให้หลงเริงร่อนบินว่อนตอม โอ้ดอกไม้ก็ได้ใช้กลิ่น อวดประทินที่แสนสุดหอม เร้าฤทัยเราให้ใฝ่ดอม ช่างน่าถนอมจริงหนอ พวกดอกไม้ก็ไม่งามเท่า พักตร์แม่เจ้าแม่ท้าวค้าปิน สารวยเลิศช่างเฉิดโฉมฉิน บ่มีมลทินทั่วสรรพางค์ กลิ่นดอกไม้ก็ไม่ระรื่น หอมชุ่มชื่นเท่าคุณพระนาง ข้าเจ้าภักดีบ่มีจืดจาง จนชีวิตวางวายเนอ
  • 10. การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง เป็นศิลปะการราและการละเล่นของชนชาวพื้นบ้านภาคกลาง ซึ่งส่วน ใหญ่มีอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถี ชีวิตและเพื่อความบันเทิงสนุกสนาน เป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการ ทางาน หรือเมื่อเสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยว เช่น การเล่นเพลงเกี่ยวข้าว เต้นการาเคียว ราโทนหรือราวง ราเถิดเทิง หรือรากลองยาว เป็นต้น มีการ แต่งกาย ตามวัฒนธรรมของท้องถิ่น และใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้าน เช่น กลอง ยาว กลองโทน ฉิ่ง ฉาบ กรับ และโหม่ง
  • 11. การแสดงพื้นเมืองภาคกลางได้แก่ ราวง ราเหย่ย เต้นการาเคียว ราชาวนาเถิดเทิงราต้นวรเชษฐ์ ราแม่ศรี ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงได้แก่ วงปี่พาทย์ เพลงพื้นเมืองภาคกลางเช่น เพลงเหย่อย เพลงเทพทอง เพลงฉ่อย เพลงอีแซว เพลงเรือ เพลงเกี่ยวข้าว เพลงสงฟาง เพลงพิษฐาน เพลงเต้นกา เพลงราเคียว เพลงพวงมาลัย เพลงชาวไร่ เพลงระบา เพลงบ้านนา เพลงปรบไก่ เพลงสวรรค์ เพลงแอ่วซอ
  • 12. ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคกลาง “เพลงเกี่ยวข้าว”เป็นเพลงที่สาหรับร้องกันในขณะลงแขกเกี่ยวข้าว อันเป็นอาชีพสาคัญของประชาชนชาวไทยอย่างหนึ่งเพื่อให้ความ สนุกสนานกับความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าในการงาน และเชื่อมความสามัคคี ในระหว่างพื้นบ้านอาชีพเดียวกันเนื้อความของเพลงมักจะเกี่ยวกับ การไต่ ถามถึงการทานาผสมผสานการเกี้ยวพาราสีกัน เพลงเกี่ยวข้าว บางแห่งเรียก “เพลงกา” เวลาแสดงมือหนึ่งถือเคียว อีกมือหนึ่งกาข้าวไว้ย่าเท้าใช้ลีลาไปตามจังหวะเพลง ใช้ตบมือให้จังหวะ พร้อมๆ กัน บางครั้งใช้กลองและฉิ่งเข้าร่วมด้วย
  • 13. เพลงเกี่ยวข้าว ต้นเสียง ชะเอิง เงิงเงย ชะ เอิง เงิง เง้ย ลูกคู่ เฮ้ เอ้า เฮ้ เฮ้ ต้นเสียง แขกอาสาที่มาก็สาย ทั้งวัวทั้งควายพะรุงพะรัง(เฮ้ เอ้า เฮ้ เฮ้) พี่ขี่ไอ้เผือกออกหน้า อีสร้อยระย้าตามหลัง ลง พี่ขี่ไอ้ทุยลุยซังไปกระทั่งนาเอย (เวลาลง ร้องซ้าสองครั้ง) (ลูกคู่รับย้อนต้น พร้อมๆ กัน) ต้นเสียง เกี่ยวข้าวอยู่ข้างทาง เห็นสายระยางเป็นเชือกชัก พี่ขอถามน้องสาว ว่าทาข้าวเบาหรือว่าทาข้าวหนัก ลง ขอยืมเคียวเกี่ยวสักพัก แม่คนที่รักกันเอย
  • 14. การแสดงพื้นเมืองของภาคอีสาน ภูมิประเทศภาคอีสานเป็นที่ราบสูง ค่อนข้างแห้งแล้งเพราะพื้นดิน ไม่เก็บน้า ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝนน้าจะท่วม แต่ชาวอีสานก็มีอาชีพทาไร่ ทานา และเป็นคนรักสนุก จึงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาส การแสดงของ ภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจาวัน หรือประจาฤดูกาล เช่น แห่นางแมว เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบ ราลาวกระทบไม้ ฯลฯ ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะของอีสาน คือ ลีลาและจังหวะ ในการก้าวเท้า มีลักษณะคล้ายเต้น แต่นุ่มนวล มักเดินด้วยปลายเท้าและ สะบัดเท้าไปข้างหลังสูง เป็นลักษณะของ เซิ้ง
  • 15. การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ได้แก่ ฟ้อนภูไทเซิ้งสวิง เซิ้งโปงลางเซิ้งตังหวาย ภูไทสามเผ่าไทภูเขา เซิ้งกระติบข้าว ดนตรีพื้นเมืองอีสานได้แก่ กลองยาว กรับ ฉาบ โหม่ง แคน โปงลาง เพลงพื้นเมืองภาคอีสานเช่น หมอลา เพลงโคราช เจรียง กันตรึม เพลงล่องโขง เพลงแอ่วแคน
  • 16. ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคอีสาน “หมอลาเพลิน” หรือ “หมอลาหมู่” เป็นการลาที่มีผู้แสดงครบหรือ เกือบครบตามจานวนตัวละครในเรื่องที่ดาเนินการแสดง มีอุปกรณ์ ประกอบทั้งฉาก เสื้อผ้า สมจริงสมจัง และยังมีเครื่องดนตรีประกอบ คือ พิณ (ซุงหรือซึง) แคน กลอง การลามี ๒ แนวทาง คือ ๑.ลาเวียง เป็นการลาแบบลากลอน ๒. หมอลาแสดงเป็นตัวละครตามบทบาทในเรื่อง การดาเนินเรื่อง ค่อนข้างช้า แต่ก็ได้อรรถรสของละครพื้นบ้าน หมอลาได้ใช้ พรสวรรค์ของตัวเองในการลาทั้งทางด้านเสียงร้อง ปฏิภาณไหวพริบ และความจาเป็นที่นิยมในหมู่ผู้สูงอายุ
  • 17. เพลงหมอลาเพลิน จังวางเปิดม่านกั้งแจ้งสว่างอยู่ในตา ตาส่องหาพี่ชายผู้เสื้อลายบ่มา บ้อ แฟนพี่ชาย อยู่เทิงฮ่าน โอ้ โอย เด้ ชาย ฟังเด้ออ้าย เด้ออ้าย ผู้ชายงามบ้านเพิ่น น่องมาคิดอยากได้โตเจ้าไว้กล่อมนอน น่องผู้ฮ่าย ผู้ฮ่าย อ้ายสิบ่สนใจ เฮ็ดจั๋งได๋นอชาย น่องคนจนพร้อม จนใจแล่ว ใจแล่ว แนวมันพาทุกข์ หาความสุขกายใจอยู่ที่ไฮ่นา เชิญเถิดค้า เถิดค่ามาจากันก่อน อย่าซิฟ่าวใจฮ่อน จ่มว่าราคาญ ขันไปบ้าน ไปบ้านขอนแก่นทางอีสาน ขอเชิญวงศ์วานเยี่ยมยามกันบ้าง จาทอนี่ ทอนี่ พอเป็นแบบอย่าง ฮู่แนงทางตานานครู ข้าได้สอนมา ว่าจังได๋คนดี สนนางบอน้ออ้าย น้ออ้าย น้ออ้าย
  • 18. การแสดงพื้นเมืองของภาคใต้ เป็นศิลปะการราและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคใต้ อาจแบ่ง ตามกลุ่มวัฒนธรรมได้ 2 กลุ่มคือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา และวัฒนธรรมไทยมุสลิม ได้แก่ รองเง็ง ซาเปง มะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลิเกภาคกลาง) และซิละ มีเครื่องดนตรีประกอบที่สาคัญ เช่น กลองโนรา กลองโพน กลองปิด กลอง โทน ทับ กรับ พวง โหม่ง ปี่กาหลอ ปี่ไหน รามะนา ไวโอลิน อัคคอร์เดียน ภายหลังได้มีระบาที่ปรับปรุงจากกิจรรมในวิถีชีวิต ศิลปาชีพต่างๆ เช่น ระบาร่อนแร่ กรีดยาง ปาเต๊ะ เป็นต้น
  • 19. การแสดงพื้นเมืองของภาคใต้ ภาคใต้ เป็นดินแดนที่ติดทะเลทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออก ทางด้านใต้ติดกับมลายู ทาให้รับวัฒนธรรมของมลายูมาบ้าง และมีขนบประเพณีวัฒนธรรมและบุคลิกบางอย่าง คล้ายคลึงกัน คือ พูดเร็ว อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจรวดเร็วเด็ดขาด การแต่งกาย เพลง และ ดนตรีคล้ายคลึงกันมาก การแสดงพื้นเมืองภาคใต้ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ๑.มหรสพคือ การแสดงเป็นเรื่อง เช่น หนังตะลุง มีตัวหนัง มีคนเชิด มีการร้องและ เจรจา นอกจากนั้นมี ลิเกป่า หรือลิเกรามะนา หรือลิเกแขกแดง หรือลิเกแขกเทศ หรือลิเก บก ซึ่งผู้แสดงโต้ตอบกันเป็นเรื่องราวอีกการแสดงคือ โนรา ถ้าเล่นเป็นเรื่องก็ถือเป็นมหรสพ แต่ถ้าร่ายราเป็นชุด ก็ถือเป็นการแสดงเบ็ดเตล็ด ๒.การแสดงเบ็ดเตล็ดคือร่ายราเป็นชุด เช่นโนราร็องเง็ง ซัมเปงตรีกีปัสราบาร่อน แร่กรีดยาง ปาเต๊ะราซัดชาตรี
  • 20. ดนตรีพื้นเมืองของภาคใต้ได้แก่ กลองแขก รามะนา ปี่ ทับ โหม่ง ฉิ่ง ซอ เพลงพื้นเมืองภาคใต้เช่น เพลงร้องเรือ(เพลงกล่อมเด็ก) เพลงบอก เพลงกาพรัด(หรือคาพลัด)
  • 21. ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคใต้ “เพลงบอก” เป็นเพลงพื้นบ้านที่ได้รับความนิยมสูงสุด และมีการ แพร่กระจายทั่วทั้ง 14 จังหวัดภาคใต้ ตลอดไปถึงคนไทยในประเทศ มาเลเซีย ศิลปินที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา คาว่าเพลงบอก มาจากภาระหน้าที่ของเพลงชนิดนี้ กล่าวคือ สมัยก่อนเมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์จะมีนักเลงกลอนชาวบ้าน เที่ยว ตระเวนไปแทบทุกครัวเรือน เพื่อขับร้องกลอนบอกสงกรานต์ตามคา ทานายของโหรหลวง เพลงชนิดนี้จึงได้ชื่อว่า “เพลงบอก”
  • 22. ตัวอย่างตอนหนึ่งจากการประชันเพลงบอก ระหว่างเพลงบอกรุ่ง อาเภอปากพนัง กับเพลงบอกปานอาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช (รุ่ง) ปานนี้เปรียบเหมือนกับชูชก มันแสนสกปรกเหลือประมาณ อ้ายเรื่องหัวไม้ขอทาน แล้วใครจะปานกับมัน เปิดคนที่ขี้ขอ ยิ่งคนเขายอว่าสาคัญ แล้วตัวมันยิ่งกินยอ เห็นว่าคนพอใจ พัทลุงหรือสงขลา ตลอดมาถึงนคร ถ้าปล่อยให้ปานขอก่อน แล้วคนอื่นไม่พักไขว่ (ปาน) จริงแหละรุ่งปานเหมือนชูชก แต่ปานจะยกรุ่งเป็นพระเวสสันดร ครั้งชูชกเข้าไปวอน แล้วรุ่งให้ไม่เหลือไหร่ ถึงลูกเมียยังไม่แน่ ครั่งพอปานแวะเข้าไป บางทีสิ่งไรที่รัก ใคร่ก็รุ่งต้องให้มา
  • 23. (รุ่ง) เราไม่เป็นพระเวสสันดร เพราะจะเดือนร้อนในที่สุด เราจะเป็นนายเจตบุตร ที่มันเลิศเป็นนักหนา ได้รับคาสั่งท้าวเจตราษฏร์ เหมือนหมายมาดที่เป็นมา คอยรักษาอยู่ประตูป่า ถ้ามึงมาเวลาใด เราจะคอยยิงด้วยธนูหน้าไม้ ให้ชูชกมันวายชีวิต น้ารุ่งยกกลอนขึ้นประดิษฐ์ เห็นว่าไม่ผิดไหร่ (ปาน) จริงแหละรุ่งตนเป็นเจตบุตร เป็นคนประเสริฐสุดงามวิไล ถ้าเมื่อชูชกเข้าไป ต้องม้วยซึ่งชีวา แต่คนอื่นอื่นเขาเลี้ยงวัว บางคนก็เลี้ยงควาย แต่เจตบุตรรุ่งนาย ทาไมถึงเลี้ยงหมา