SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองหมายถึงเครื่องดนตรีที่ใช้เล่นกันเพื่อความบันเทิงหรือเล่นประกอบการแสดงพื้นเมือง
ตามท้องถิ่นต่างๆเครื่องดนตรีพื้นเมืองจะมีลักษณะแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคทั้งนี้เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจและลักษณะนิสัยของประชาชนในแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกันเครื่องดนตรีพื้นเมืองของไทย
จาแนกตามภูมิภาคได้เป็น3 ภูมิภาค คือ
เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ
เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือได้แก่
ซึง เป็นเครื่องดีด มี 4 สายสันนิษฐานว่าน่าจะดัดแปลงแก้ไขวิวัฒนาการมาจากพิณเทียะลักษณะของซึงตัวกะโหลก
และคันทวนทาด้วยไม้เนื้อแข็งเช่นไม้ประดู่หรือ ไม้สักชิ้นเดียวกันชาวไทยภาคเหนือนิยมเล่นซึงกันมาช้านาน
ตามปกติใช้เล่นร่วมกับปี่ซอหรือพวกหนุ่มๆใช้ดีดเล่นขณะไป"แอ่วสาว"
สะล้อเป็นเครื่องสีลักษณะคลายซออู้ แต่ทาไม่ค่อยประณีตนักคันทวนยาวประมาณ 64ซม.
กะโหลกซอทาด้วยกะลามะพร้าวใช้แผ่นไม้บางๆปิดหน้ากระโหลกแทนการใช้หนังลูกบิดมี 2 อันเจาะเสียบทแยงกัน
มีสายเป็นสายลวดทั้ง2สายคันชักแยกต่างหากจากตัวซอสะล้อใช้เล่นผสมกับซึงและปี่ซอ
ประกอบการขับร้องเพลงพื้นเมืองทางเหนือ
ตะโล้ดโป๊ ดเป็นกลองขึ้นหนังสองหน้ามีรูปร่างลักษณะและขนาดเช่นเดียวกับ"เปิงมาง"และ"สองหน้า"
แต่ตัวกลองยาวกว่าเปิงมางและสองหน้าตามลาดับหน้ากลองข้างหนึ่งใหญ่ ข้างหนึ่งเล็กตีทางหน้าเล็ก
กลองชนิดนี้ใช้ตีคู่กับกลองแอว์ในขบวนแห่ต่างๆและใช้ตีประกอบการฟ้ อนกับใช้ตีร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆ
ในการเล่นเพลงพื้นเมืองภาคเหนือ
กลองแอว์เป็นกลองขึ้นหนังหน้าเดียวเช่นเดียวกับกลองยาวของภาคกลางแต่มีขนาดยาวและใหญ่กว่าหลายเท่า
เหตุที่เรียกว่ากลองแอว์ก็หมายความว่ากลองมีสะเอวนั่นเอง(แอว์คือเอว)ตัวกลองกว้างใหญ่ เอวคอดตอนท้ายเรียว
และปลายบานคล้ายดอกลาโพงกลองชนิดนี้มีประจาตามวัดต่างๆในภาคเหนือเกือบทุกวัด
สาหรับใช้ตีเป็นสัญญาณประจาวัดนอกจากนี้ยังใช้ตีร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆประกอบการเล่นพื้นเมือง
และใช้ตีเข้าขบวนแห่ในงานพิธี"ปอยหลวง"งานแห่ครัวทานและงาน"ปอยลูกแก้ว"(บวชเณร)
ปี่ซอ ตัวปี่ทาด้วยไม้รวกปล้องยาวมีหลายขนาดความยาวตั้งแต่45- 80 ซม. สารับหนึ่งมีจานวน3 เล่ม5 เล่มหรือ7 เล่ม
ปี่ซอถ้าใช้ 3 เล่มมี 3 ขนาด เล่มเล็กเป็นปี่เอกเรียกว่าปี่ต้อยเล่มกลางเรียกว่าปี่กลางและเล่มใหญ่เรียกว่าปี่ใหญ่
ลักณะการใช้ปี่ ซอ
ใช้กับทานองเพลงเชียงใหม่มักมีซึงร่วมบรรเลงด้วย
ใช้กับทานองเพลงเงี้ยวตามปกติใช้ปี่เอกหรือปี่ต้อยอย่างเดียวเล่นร่วมกับซึงหรือบางครั้งอาจใช้ปี่ทั้ง 3 เล่มล้วนก็ได้
ใช้กับเพลงจ๊อยซึ่งเป็นเพลงราพันรักของคนหนุ่มในขณะไปแอ่วสาว(เกี้ยวสาว)ในเวลาค่าโดยใช้ปี่เอกเป่าคลอกับการสีสะล้อ
ใช้กับทานองเพระลอคือใช้เป่าประกอบการขับเรื่องพระลอ
ใช้กับทานองเพลงพม่าที่มีสร้องเพลงว่า"เซเลเมา"
เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่
พิณพิณพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีชื่อเรียกแตกต่างกันเช่นซุง หมากจับปี่ หมากต้องโต่งและหมากตับแต่ง
มีสายตั้งแต่2 - 4 สายชนิดที่มี 4 สายก็คล้ายกับซึงของภาคเหนือแต่ปลายกะโหลกพิณป้ านกว่าพิณพื้นเมืองภาคนี้
ทาด้วยไม้เนื้อแข็งประดิษฐ์ขึ้นอย่างง่ายๆไม่สู้จะประณีตนักใช่เล่นเดี่ยวหรือเล่นร่วมกับวงแคนและโปงลาง
โปงลางเป็นเครื่องตี ทาด้วยไม้ร้อยต่อกันจานวน12 ท่อนด้วยเชือกเป็นผืนแต่ละท่อนมีขนาด
และความยาวลดหลั่นกันตามลาดับจากใหญ่ลงมาเล็กเวลาเล่นใช้ด้านใหญ่ (ด้านบน)แขวนกับกิ่งไม้ หรือไม้ขาตั้งด้านเล็ก
(ด้านล่าง)ใช้เท้าผู้เล่นหรือทาที่เกี่ยวยึดไว้ มักใช้ผู้เล่น2คนคนหนึ่งเล่นทานองเพลงเรียก"หมอเคาะ"
อีกคนหนึ่งทาหน้าที่เคาะประสานเสียงทาจังหวะเรียก"หมอเสิร์ฟ"โปงมีเสียง 5 เสียงคือโด เร มี ซอล ลาไม่มีเสียง ฟาและที
แคนเป็นเครื่องเป่า ทาด้วยไม้ซางขนาดต่างๆนามาเรียงลาดับผูกติดกันเป็น2 แถวๆ ละ6 ลาบ้าง7 ลาบ้างหรือ8 ลาบ้าง
สุดแท้แต่ว่าจะเป็นแคนหกแคนเจ็ดหรือแคนแปด โดยเรียงลาใหญ่ไว้คู่หน้าและลาเล็กๆเป็นคู่ถัดไปตามลาดับ
และต้องเรียงให้กลางลาตรงที่ใส่ลิ้นอยู่ในระดับเดียวกันแล้วเอาไม้จริงมาถากเจาะรูสาหรับเป่า (เรียกส่วนนี้ว่า"เต้า")
เอาลาไม้ซางที่เรียงไว้สอดลงในเต้าให้พอดีกับตรงที่ใส่ลิ้นไว้ แล้วเอาชันหรือขี้ผึ้งพอกกันลมรั่วเหนือเต้าขึ้นไปประมาณ 4- 5
ซม. เจาะรูด้านข้างของลาไม้ซางตั้งแต่คู่ที่2เป็นต้นไปลาละ1 รู สาหรับนิ้วปิดเปิดเปลี่ยนเสียงส่วนคู่แรก
เจาะรูด้านหน้าเหนือเต้าขึ้นไปประมาณ 2- 3 ซม. สาหรับนิ้วหัวแม่มือปิดเปิดการเป่าแคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้า
และดูดลมออกโดยเป่าตรงหัวเต้าด้านที่เจาะรูไว้ อาจกล่าวได้ว่าแคนเป็นเครื่องดนตรีสัญลักษณ์ของภาคอีสาน
ประชาชนแถบนี้นิยมเป่าเล่นสืบต่อกันมาช้านานทั้งเล่นเดี่ยวคลอการร้องและเล่นเป็นวงโดยผสมกับเครื่องดนตรีอื่นเช่นพิณ
โปงลางกลอง ฯลฯประกอบการแสดงพื้นบ้านภาคอีสานต่างๆ
โหวดเป็นเครื่องเป่าไม่มีลิ้นตัวโหวดทาด้วยไม้ไผ่รวก(หรือไม้เฮี้ย)ลาเล็กๆสั้นยาวต่างกันจานวน
6 - 9 ลา มัดติดกับกระบอกไม้ไผ่ที่เป็นแกนกลางโดยใช้ขี้สุดติดแต่ละลาจะมีระดับเสียงแตกต่างกันตามขนาดสั้นยาว
ตามปกติโหวดมีเสียง5เสียงแต่เดิมใช้เชือกผูกปลายด้านหนึ่งแล้วเหวี่ยงหมุนกลั
จ้องหน่อง หึนหรือหุน เป็นเครื่องดีดทาด้วยไม้ไผ่เหลาบางๆยาว12 - 15 ซม. กว้าง11/2 ซม. หนา 1/2 ซม.
ตรงกลางเซาะร่องเป็นลิ้นในตัวปลายด้านหนึ่งสาหรับจับอีกด้านหนึ่งใช้ดีดด้วยนิ้วหัวแม่มือหรือนิ้วชี้
เวลาเล่นประกบลิ้นจ้องหน่องเข้ากับปากโดยเฉพาะกระพุ้งแก้มใช้เป็นกล่องเสียงสามารถทาเสียงได้ 2- 3 เสียงเท่านั้น
ดีดเป็นทานองได้เล็กน้อยเครื่องดนตรีชนิดนี้ใช้เล่นกันมาแต่โบราณโดยมากใช้เล่นคนเดียวยามว่าง
เป็นที่นิยมกันทางแถบอีกสานเหนือ
พิณไหเป็นเครื่องประกอบจังหวะทาด้วยไหซองหรือไหกระเทียมใช้ยางเส้นหนาๆขึงที่ปากไห
เวลาเล่นใช้มือดึงเส้นยางให้สั่นเกิดเสียงสูง-ต่า อย่างไรขึ้นอยู่กับขนาดของไหและการขึงเส้นยางให้ตึงหย่อนต่างกัน
พิณไหใช้เล่นประกอบจังหวะในวงโปงลางแคนพิณปกติชุดหนึ่งมี 2 - 3 ลูกหรืออาจมากกว่าก็ได้
โดยมากมักให้หญิงสาวแต่งตัวพื้นเมืองสวยงามยืนเล่นด้วยลีลาอ่อนช้อยตามจังหวะเป็นที่สะดุดตาในวง
ซอกระดองเต่าหรือซอเขาควายเป็นเครื่องสีกระโหลกซอทาด้วยกระดองเต่าตัดส่วนหน้าออกหรือทา
ด้วยเขาควายตัดขนาดตามต้องการแล้วขึงด้วยหนังงูคันซอทาด้วยไม้เนื้อแข็งยาวประมาณ 40ซม. มีลูกบิดสาหรับขึงสาย2
อัน สายซอเป็นสายลวดคันชักอยู่ระหว่างสายซอทั้ง2สายซอชนิดนี้เป็น ที่นิยมในแถบอีสานใต้
ชาวบ้านทาเล่นกันมานานแล้วใช้บรรเลงเยวในวงกันตรึมและบรรเลงเพลงพื้นบ้านอีสานใต้
ซอบั้ง เป็นซอของชาวภูไท ทาจากกระบอกไม้ไผ่ชนิดหนึ่ง(ชาวบ้านเรียกไม้โกะ)โดยใช้กระบอกไม้ไผ่ชิ้นเดียวกัน
เป็นทั้งกะโหลกซอและคันซอไปในตัว โดยช่างทาซอจะเหลากระบอกให้บางทาหน้าที่คล้ายหนังหุ้มกะโหลกซอซอบั้งมี 2
สายเป็นสายลวดคันชักอยู่นอกสายเวลาสีต้องสีให้ถูกสายทั้ง 2สายตลอดเวลาเพื่อให้ได้เสียงที่เป็นทานอง
และเสียงประสานควบคู่กันไปซอชนิดนี้นิยมใช้สีประสานเสียงกับเครื่องดนตรีอื่นๆประกอบการฟ้ อนภูไท
ซอปี๊บ เป็นซอ 2 สายเป็นสายลวดกะโหลกทาจากปี๊บน้ามันก๊าดหรือปี๊บขนมคันชักอาจจะอยู่ระหว่างสายทั้งสอง
หรืออยู่ข้างนอกก็ได้ แต่ส่วนมากนิยมให้คันชักอยู่ข้างนอกซอปี๊บใช้สีเดี่ยวหรือสีคลอเสียงหมอลา
ซอกระป๋ อง เป็นซอ 2 สายเช่นเดียวกับซอปี๊บเพียงแต่กระโหลกทาด้วยกระป๋ องและคันชักอยู่ระหว่างสายทั้งสอง
นิยมใช้สีประกอบการขับร้องหรือสีเพลงลายพื้นเมืองของแคน
ทับ หรือโทนชาตรี เป็นกลองชนิดหุ้มหนังหน้าเดียวหุ่นกลองนิยมใช้แก่นไม้ขนุนทาหน้ากลองนิยมใช้ หนังบางๆเช่นหนังค่าง
หรือหนังแมวขึงขึ้นหน้าโดยใช้เชือกหรือหวายผูกตรึงไว้กับหุ่นทับใช้ตีให้ ้จังหวะควบคุมกรเปลี่ยนจังหวะ
เสริมลีลาท่าทางการแสดงละครชาตรี โนราและหนังตะลุงตามปกติใช้ทับ2 ลูก ตีประกอบกับกลองชาตรี
ตานานโนราเรียกทับลูกหนึ่งว่า"น้าตาตก"และอีกลูกหนึ่งว่า"นกเขาขัน"
ปี่กาหลอหรือปี่ห้อ เป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่งเลาปี่ทาด้วยไม้ยาวประมาณ 13นิ้ว มีรูบังคับเสียง7 รู
และด้านล่างมีรูนิ้วหัวแม่มือ1 รู ลิ้นปี่ทาด้วยใบตาลมีบังลมทาด้วยไม้ หรือเปลือกหอยมุกด้านล่าง
เป็นลาโพงปี่ทาด้วยไม้ปากบานเพื่อขยายเสียง(เช่นเดียวกับปี่ชวา)นิยมใช้ลูกปัดสีต่างๆร้อยห้อยที่เลาปี่เพื่อตกแต่งด้วย
ปี่กาหลอใช้เป่าบรรเลงในงานศพหรืองานบวชที่ผู้บวชจะไม่สึก
ปี่ไหน เป็นเครื่องเป่าที่มีรูปร่างเหมือนปี่ในหรือปี่นอกของภาคกลางแต่เล็กกว่าปี่นอกระดับเสียงสูงกว่าปี่รูบังคับเสียง 6 รู
ลิ้นทาด้วยใบตาลผูกติดกับท่อลมเล็กๆ(กาพวด)ปี่ไหนนิยมใช้เป่าประสมในวงดนตรีประกอบการแสดงโนราและหนังตะลุง
กลองชาตรี หรือกลองดตุ๊กมีรูปร่างเช่นเดียวกับ"กลองทัด"แต่มีขนาดเล็กกว่าหลายเท่ามีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10"-
12" สูงประมาณ18 " หุ่นกลองนิยมใช้ไม้ขนุนทาเพราะทาให้เสียงดังดีหน้ากลองขึงด้วยหนังวัวหรือหนังควาย
โดยใช้หมุดไม้ (ชาวใต้เรียก"ลูกสัก")ตอกยึดไว้กับตัวหุ่นกลองชาตรีใช้ตีประกอบการแสดงละครชาตรี โนราและหนังตะลุง
(โดยใช้เป็นจังหวะเสริมลีลาท่าทางการแสดง)ตานานโนราเรียกกลองชนิดนี้ว่า"กลองสุวรรณเภรีโลก"
โนรารุ่นเก่าใช้ตีเวลาผ่านชุมชนหรือสถานที่ๆควรเคารพบูชาตีเป็นสัญญาณบอกคนหรือเรียกคนให้มาดูการแสดง
กราวหรือกรับชักทาด้วยไม้เนื้อแข็งเหลาบางๆกว้างประมาณ11/2นิ้วยาวประมาณ9นิ้ว จานวน
6 -10 อัน นามาร้อยติดกันเป็นพวง(เช่นเดียวกับกรับพวง)โดยเจาะรูตรงกลางสวมกับหลักซึ่งตรึงกับฐานไม้หนาๆ
อันบนสุดมีมือจับ กราวหรือกรับชักนิยมใช้เล่นประกอบจังหวะการแสดงโนราอย่างเดียวเพราะเสียงดังหนักแน่นมาก
ฆ้องคู่ เป็นฆ้อง 2 ใบ ใบหนึ่งเสียงสูงอีกใบหนึ่งเสียงต่าแขวนขึงอยู่กับรางไม้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า(สมัยโบราณใช้โหม่งฟาก
ซึ่งทาด้วยแผ่นเหล็ก2อัน) ฆ้องคู่ใช้ตีประกอบการเล่นละครชาตรี โนราและหนังตะลุงโดยประสมกับกลองชาตรี ทับฉิ่ง และ
ปี่

More Related Content

Similar to เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง

ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
bmbeam
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
อำนาจ ศรีทิม
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
love5710
 
ทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัยทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัย
gemini_17
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 

Similar to เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง (10)

ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยงานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
 
ทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัยทักษ์ดนัย
ทักษ์ดนัย
 
ดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง

  • 1. เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองหมายถึงเครื่องดนตรีที่ใช้เล่นกันเพื่อความบันเทิงหรือเล่นประกอบการแสดงพื้นเมือง ตามท้องถิ่นต่างๆเครื่องดนตรีพื้นเมืองจะมีลักษณะแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคทั้งนี้เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและลักษณะนิสัยของประชาชนในแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกันเครื่องดนตรีพื้นเมืองของไทย จาแนกตามภูมิภาคได้เป็น3 ภูมิภาค คือ เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคใต้ เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือได้แก่ ซึง เป็นเครื่องดีด มี 4 สายสันนิษฐานว่าน่าจะดัดแปลงแก้ไขวิวัฒนาการมาจากพิณเทียะลักษณะของซึงตัวกะโหลก และคันทวนทาด้วยไม้เนื้อแข็งเช่นไม้ประดู่หรือ ไม้สักชิ้นเดียวกันชาวไทยภาคเหนือนิยมเล่นซึงกันมาช้านาน ตามปกติใช้เล่นร่วมกับปี่ซอหรือพวกหนุ่มๆใช้ดีดเล่นขณะไป"แอ่วสาว" สะล้อเป็นเครื่องสีลักษณะคลายซออู้ แต่ทาไม่ค่อยประณีตนักคันทวนยาวประมาณ 64ซม. กะโหลกซอทาด้วยกะลามะพร้าวใช้แผ่นไม้บางๆปิดหน้ากระโหลกแทนการใช้หนังลูกบิดมี 2 อันเจาะเสียบทแยงกัน มีสายเป็นสายลวดทั้ง2สายคันชักแยกต่างหากจากตัวซอสะล้อใช้เล่นผสมกับซึงและปี่ซอ ประกอบการขับร้องเพลงพื้นเมืองทางเหนือ ตะโล้ดโป๊ ดเป็นกลองขึ้นหนังสองหน้ามีรูปร่างลักษณะและขนาดเช่นเดียวกับ"เปิงมาง"และ"สองหน้า" แต่ตัวกลองยาวกว่าเปิงมางและสองหน้าตามลาดับหน้ากลองข้างหนึ่งใหญ่ ข้างหนึ่งเล็กตีทางหน้าเล็ก กลองชนิดนี้ใช้ตีคู่กับกลองแอว์ในขบวนแห่ต่างๆและใช้ตีประกอบการฟ้ อนกับใช้ตีร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆ ในการเล่นเพลงพื้นเมืองภาคเหนือ กลองแอว์เป็นกลองขึ้นหนังหน้าเดียวเช่นเดียวกับกลองยาวของภาคกลางแต่มีขนาดยาวและใหญ่กว่าหลายเท่า เหตุที่เรียกว่ากลองแอว์ก็หมายความว่ากลองมีสะเอวนั่นเอง(แอว์คือเอว)ตัวกลองกว้างใหญ่ เอวคอดตอนท้ายเรียว และปลายบานคล้ายดอกลาโพงกลองชนิดนี้มีประจาตามวัดต่างๆในภาคเหนือเกือบทุกวัด สาหรับใช้ตีเป็นสัญญาณประจาวัดนอกจากนี้ยังใช้ตีร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆประกอบการเล่นพื้นเมือง และใช้ตีเข้าขบวนแห่ในงานพิธี"ปอยหลวง"งานแห่ครัวทานและงาน"ปอยลูกแก้ว"(บวชเณร) ปี่ซอ ตัวปี่ทาด้วยไม้รวกปล้องยาวมีหลายขนาดความยาวตั้งแต่45- 80 ซม. สารับหนึ่งมีจานวน3 เล่ม5 เล่มหรือ7 เล่ม ปี่ซอถ้าใช้ 3 เล่มมี 3 ขนาด เล่มเล็กเป็นปี่เอกเรียกว่าปี่ต้อยเล่มกลางเรียกว่าปี่กลางและเล่มใหญ่เรียกว่าปี่ใหญ่ ลักณะการใช้ปี่ ซอ ใช้กับทานองเพลงเชียงใหม่มักมีซึงร่วมบรรเลงด้วย ใช้กับทานองเพลงเงี้ยวตามปกติใช้ปี่เอกหรือปี่ต้อยอย่างเดียวเล่นร่วมกับซึงหรือบางครั้งอาจใช้ปี่ทั้ง 3 เล่มล้วนก็ได้ ใช้กับเพลงจ๊อยซึ่งเป็นเพลงราพันรักของคนหนุ่มในขณะไปแอ่วสาว(เกี้ยวสาว)ในเวลาค่าโดยใช้ปี่เอกเป่าคลอกับการสีสะล้อ ใช้กับทานองเพระลอคือใช้เป่าประกอบการขับเรื่องพระลอ ใช้กับทานองเพลงพม่าที่มีสร้องเพลงว่า"เซเลเมา"
  • 2. เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ พิณพิณพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีชื่อเรียกแตกต่างกันเช่นซุง หมากจับปี่ หมากต้องโต่งและหมากตับแต่ง มีสายตั้งแต่2 - 4 สายชนิดที่มี 4 สายก็คล้ายกับซึงของภาคเหนือแต่ปลายกะโหลกพิณป้ านกว่าพิณพื้นเมืองภาคนี้ ทาด้วยไม้เนื้อแข็งประดิษฐ์ขึ้นอย่างง่ายๆไม่สู้จะประณีตนักใช่เล่นเดี่ยวหรือเล่นร่วมกับวงแคนและโปงลาง โปงลางเป็นเครื่องตี ทาด้วยไม้ร้อยต่อกันจานวน12 ท่อนด้วยเชือกเป็นผืนแต่ละท่อนมีขนาด และความยาวลดหลั่นกันตามลาดับจากใหญ่ลงมาเล็กเวลาเล่นใช้ด้านใหญ่ (ด้านบน)แขวนกับกิ่งไม้ หรือไม้ขาตั้งด้านเล็ก (ด้านล่าง)ใช้เท้าผู้เล่นหรือทาที่เกี่ยวยึดไว้ มักใช้ผู้เล่น2คนคนหนึ่งเล่นทานองเพลงเรียก"หมอเคาะ" อีกคนหนึ่งทาหน้าที่เคาะประสานเสียงทาจังหวะเรียก"หมอเสิร์ฟ"โปงมีเสียง 5 เสียงคือโด เร มี ซอล ลาไม่มีเสียง ฟาและที แคนเป็นเครื่องเป่า ทาด้วยไม้ซางขนาดต่างๆนามาเรียงลาดับผูกติดกันเป็น2 แถวๆ ละ6 ลาบ้าง7 ลาบ้างหรือ8 ลาบ้าง สุดแท้แต่ว่าจะเป็นแคนหกแคนเจ็ดหรือแคนแปด โดยเรียงลาใหญ่ไว้คู่หน้าและลาเล็กๆเป็นคู่ถัดไปตามลาดับ และต้องเรียงให้กลางลาตรงที่ใส่ลิ้นอยู่ในระดับเดียวกันแล้วเอาไม้จริงมาถากเจาะรูสาหรับเป่า (เรียกส่วนนี้ว่า"เต้า") เอาลาไม้ซางที่เรียงไว้สอดลงในเต้าให้พอดีกับตรงที่ใส่ลิ้นไว้ แล้วเอาชันหรือขี้ผึ้งพอกกันลมรั่วเหนือเต้าขึ้นไปประมาณ 4- 5 ซม. เจาะรูด้านข้างของลาไม้ซางตั้งแต่คู่ที่2เป็นต้นไปลาละ1 รู สาหรับนิ้วปิดเปิดเปลี่ยนเสียงส่วนคู่แรก เจาะรูด้านหน้าเหนือเต้าขึ้นไปประมาณ 2- 3 ซม. สาหรับนิ้วหัวแม่มือปิดเปิดการเป่าแคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้า และดูดลมออกโดยเป่าตรงหัวเต้าด้านที่เจาะรูไว้ อาจกล่าวได้ว่าแคนเป็นเครื่องดนตรีสัญลักษณ์ของภาคอีสาน ประชาชนแถบนี้นิยมเป่าเล่นสืบต่อกันมาช้านานทั้งเล่นเดี่ยวคลอการร้องและเล่นเป็นวงโดยผสมกับเครื่องดนตรีอื่นเช่นพิณ โปงลางกลอง ฯลฯประกอบการแสดงพื้นบ้านภาคอีสานต่างๆ โหวดเป็นเครื่องเป่าไม่มีลิ้นตัวโหวดทาด้วยไม้ไผ่รวก(หรือไม้เฮี้ย)ลาเล็กๆสั้นยาวต่างกันจานวน 6 - 9 ลา มัดติดกับกระบอกไม้ไผ่ที่เป็นแกนกลางโดยใช้ขี้สุดติดแต่ละลาจะมีระดับเสียงแตกต่างกันตามขนาดสั้นยาว ตามปกติโหวดมีเสียง5เสียงแต่เดิมใช้เชือกผูกปลายด้านหนึ่งแล้วเหวี่ยงหมุนกลั จ้องหน่อง หึนหรือหุน เป็นเครื่องดีดทาด้วยไม้ไผ่เหลาบางๆยาว12 - 15 ซม. กว้าง11/2 ซม. หนา 1/2 ซม. ตรงกลางเซาะร่องเป็นลิ้นในตัวปลายด้านหนึ่งสาหรับจับอีกด้านหนึ่งใช้ดีดด้วยนิ้วหัวแม่มือหรือนิ้วชี้ เวลาเล่นประกบลิ้นจ้องหน่องเข้ากับปากโดยเฉพาะกระพุ้งแก้มใช้เป็นกล่องเสียงสามารถทาเสียงได้ 2- 3 เสียงเท่านั้น ดีดเป็นทานองได้เล็กน้อยเครื่องดนตรีชนิดนี้ใช้เล่นกันมาแต่โบราณโดยมากใช้เล่นคนเดียวยามว่าง เป็นที่นิยมกันทางแถบอีกสานเหนือ พิณไหเป็นเครื่องประกอบจังหวะทาด้วยไหซองหรือไหกระเทียมใช้ยางเส้นหนาๆขึงที่ปากไห เวลาเล่นใช้มือดึงเส้นยางให้สั่นเกิดเสียงสูง-ต่า อย่างไรขึ้นอยู่กับขนาดของไหและการขึงเส้นยางให้ตึงหย่อนต่างกัน พิณไหใช้เล่นประกอบจังหวะในวงโปงลางแคนพิณปกติชุดหนึ่งมี 2 - 3 ลูกหรืออาจมากกว่าก็ได้ โดยมากมักให้หญิงสาวแต่งตัวพื้นเมืองสวยงามยืนเล่นด้วยลีลาอ่อนช้อยตามจังหวะเป็นที่สะดุดตาในวง ซอกระดองเต่าหรือซอเขาควายเป็นเครื่องสีกระโหลกซอทาด้วยกระดองเต่าตัดส่วนหน้าออกหรือทา ด้วยเขาควายตัดขนาดตามต้องการแล้วขึงด้วยหนังงูคันซอทาด้วยไม้เนื้อแข็งยาวประมาณ 40ซม. มีลูกบิดสาหรับขึงสาย2
  • 3. อัน สายซอเป็นสายลวดคันชักอยู่ระหว่างสายซอทั้ง2สายซอชนิดนี้เป็น ที่นิยมในแถบอีสานใต้ ชาวบ้านทาเล่นกันมานานแล้วใช้บรรเลงเยวในวงกันตรึมและบรรเลงเพลงพื้นบ้านอีสานใต้ ซอบั้ง เป็นซอของชาวภูไท ทาจากกระบอกไม้ไผ่ชนิดหนึ่ง(ชาวบ้านเรียกไม้โกะ)โดยใช้กระบอกไม้ไผ่ชิ้นเดียวกัน เป็นทั้งกะโหลกซอและคันซอไปในตัว โดยช่างทาซอจะเหลากระบอกให้บางทาหน้าที่คล้ายหนังหุ้มกะโหลกซอซอบั้งมี 2 สายเป็นสายลวดคันชักอยู่นอกสายเวลาสีต้องสีให้ถูกสายทั้ง 2สายตลอดเวลาเพื่อให้ได้เสียงที่เป็นทานอง และเสียงประสานควบคู่กันไปซอชนิดนี้นิยมใช้สีประสานเสียงกับเครื่องดนตรีอื่นๆประกอบการฟ้ อนภูไท ซอปี๊บ เป็นซอ 2 สายเป็นสายลวดกะโหลกทาจากปี๊บน้ามันก๊าดหรือปี๊บขนมคันชักอาจจะอยู่ระหว่างสายทั้งสอง หรืออยู่ข้างนอกก็ได้ แต่ส่วนมากนิยมให้คันชักอยู่ข้างนอกซอปี๊บใช้สีเดี่ยวหรือสีคลอเสียงหมอลา ซอกระป๋ อง เป็นซอ 2 สายเช่นเดียวกับซอปี๊บเพียงแต่กระโหลกทาด้วยกระป๋ องและคันชักอยู่ระหว่างสายทั้งสอง นิยมใช้สีประกอบการขับร้องหรือสีเพลงลายพื้นเมืองของแคน ทับ หรือโทนชาตรี เป็นกลองชนิดหุ้มหนังหน้าเดียวหุ่นกลองนิยมใช้แก่นไม้ขนุนทาหน้ากลองนิยมใช้ หนังบางๆเช่นหนังค่าง หรือหนังแมวขึงขึ้นหน้าโดยใช้เชือกหรือหวายผูกตรึงไว้กับหุ่นทับใช้ตีให้ ้จังหวะควบคุมกรเปลี่ยนจังหวะ เสริมลีลาท่าทางการแสดงละครชาตรี โนราและหนังตะลุงตามปกติใช้ทับ2 ลูก ตีประกอบกับกลองชาตรี ตานานโนราเรียกทับลูกหนึ่งว่า"น้าตาตก"และอีกลูกหนึ่งว่า"นกเขาขัน" ปี่กาหลอหรือปี่ห้อ เป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่งเลาปี่ทาด้วยไม้ยาวประมาณ 13นิ้ว มีรูบังคับเสียง7 รู และด้านล่างมีรูนิ้วหัวแม่มือ1 รู ลิ้นปี่ทาด้วยใบตาลมีบังลมทาด้วยไม้ หรือเปลือกหอยมุกด้านล่าง เป็นลาโพงปี่ทาด้วยไม้ปากบานเพื่อขยายเสียง(เช่นเดียวกับปี่ชวา)นิยมใช้ลูกปัดสีต่างๆร้อยห้อยที่เลาปี่เพื่อตกแต่งด้วย ปี่กาหลอใช้เป่าบรรเลงในงานศพหรืองานบวชที่ผู้บวชจะไม่สึก ปี่ไหน เป็นเครื่องเป่าที่มีรูปร่างเหมือนปี่ในหรือปี่นอกของภาคกลางแต่เล็กกว่าปี่นอกระดับเสียงสูงกว่าปี่รูบังคับเสียง 6 รู ลิ้นทาด้วยใบตาลผูกติดกับท่อลมเล็กๆ(กาพวด)ปี่ไหนนิยมใช้เป่าประสมในวงดนตรีประกอบการแสดงโนราและหนังตะลุง กลองชาตรี หรือกลองดตุ๊กมีรูปร่างเช่นเดียวกับ"กลองทัด"แต่มีขนาดเล็กกว่าหลายเท่ามีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10"- 12" สูงประมาณ18 " หุ่นกลองนิยมใช้ไม้ขนุนทาเพราะทาให้เสียงดังดีหน้ากลองขึงด้วยหนังวัวหรือหนังควาย โดยใช้หมุดไม้ (ชาวใต้เรียก"ลูกสัก")ตอกยึดไว้กับตัวหุ่นกลองชาตรีใช้ตีประกอบการแสดงละครชาตรี โนราและหนังตะลุง (โดยใช้เป็นจังหวะเสริมลีลาท่าทางการแสดง)ตานานโนราเรียกกลองชนิดนี้ว่า"กลองสุวรรณเภรีโลก" โนรารุ่นเก่าใช้ตีเวลาผ่านชุมชนหรือสถานที่ๆควรเคารพบูชาตีเป็นสัญญาณบอกคนหรือเรียกคนให้มาดูการแสดง กราวหรือกรับชักทาด้วยไม้เนื้อแข็งเหลาบางๆกว้างประมาณ11/2นิ้วยาวประมาณ9นิ้ว จานวน 6 -10 อัน นามาร้อยติดกันเป็นพวง(เช่นเดียวกับกรับพวง)โดยเจาะรูตรงกลางสวมกับหลักซึ่งตรึงกับฐานไม้หนาๆ อันบนสุดมีมือจับ กราวหรือกรับชักนิยมใช้เล่นประกอบจังหวะการแสดงโนราอย่างเดียวเพราะเสียงดังหนักแน่นมาก
  • 4. ฆ้องคู่ เป็นฆ้อง 2 ใบ ใบหนึ่งเสียงสูงอีกใบหนึ่งเสียงต่าแขวนขึงอยู่กับรางไม้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า(สมัยโบราณใช้โหม่งฟาก ซึ่งทาด้วยแผ่นเหล็ก2อัน) ฆ้องคู่ใช้ตีประกอบการเล่นละครชาตรี โนราและหนังตะลุงโดยประสมกับกลองชาตรี ทับฉิ่ง และ ปี่