SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
๑.ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
๓.แก้ปัญหาที่จุดเล็ก
๕.ภูมิสังคม
๗.ไม่ติดตารา
๙.ทาให้ง่าย
๑๑.ประโยชน์ส่วนรวม
๑๓.ทรงใช้ธรรมชาติ ช่วยธรรมชาติ
๑๕.ปลูกป่าในใจคน
๑๗.การพึ่งตนเอง
๑๙.เศรษฐกิจพอเพียง
๒๑.ทางานอย่างมีความสุข
๒๓.รู้ รัก สามัคคี
๒.ระเบิดจากข้างใน
๔.ทาตามลาดับขั้น
๖.องค์รวม
๘.ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์ สูงสุด
๑๐.การมีส่วนร่วม
๑๒.บริการรวมที่จุดเดียว
๑๔.ใช้อธรรมปราบอธรรม
๑๖.ขาดทุนคือกาไร
๑๘.พออยู่พอกิน
๒๐.ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน
๒๒.ความเพียร : พระมหาชนก
 การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศึกษาข้อมูล รายละเอียด
อย่างเป็นระบบ ทั้งจากข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสาร แผนที่ สอบถามจาก
เจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ ให้ได้รายละเอียด ที่ถูกต้อง เพื่อที่จะ
พระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ
ของประชาชน
การประยุกต์ใช้ : เมื่อจะทางานอะไรต้องศึกษาข้อมูลทั้งหมด ทั้งระบบ และทุกมิติ
อย่าดูแต่ตัวเลข อย่าดุแต่เอกสารให้ใช้การสอบถามบุคคลที่
เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
 พระองค์ทรงมุ่งเน้น เรื่องการพัฒนาคน ทรงตรัสว่า“ต้อง ระเบิดจากข้างใน”
หมายความว่า ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชน ที่เราเข้าไปพัฒนามีสภาพพร้อม
ที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อย ออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่การนาเอาความ
เจริญหรือบุคคลจากสังคม ภายนอกเข้าไปหาชุมชนหมู่บ้านที่ยังไม่ทันได้มีโอกาส
เตรียมตัวหรือตั้งตัว
 การประยุกต์ใช้ :
การจะเริ่มทาอะไรซักอย่างสิ่งที่ต้องสร้างให้ได้ก่อนคือการสร้างคน เช่น ถ้าจะ
ทางานอะไรคนที่ทาก็ต้องรู้ให้ดี ก่อน ไม่ใช่แค่บอกว่าจะทาแต่ไม่มีใครรู้ว่าต้องทาอะไร
แล้วก็บอกแต่ว่าต้องทา คนต้องเข้าใจและเห็นคุณค่าในสิ่งที่ทา ไม่ใช่ทาตามสั่ง
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปี่ยม ไปด้วยพระอัจฉริยภาพในการแก้ไขปัญหา ทรง
มองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่ การแก้ปัญหาของพระองค์จะเริ่มจาก
จุดเล็กๆ (Micro) คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมัก จะมองข้าม ดังพระราช
ดารัสความตอนหนึ่งว่า “...ถ้าปวดหัวก็คิดอะไรไม่ออก เป็น อย่างนั้นต้องแก้ไขการปวด
หัวนี้ก่อน...มันไม่ได้เป็นการแก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปวดหัวก่อน เพื่อที่จะให้อยู่ใน
สภาพที่คิดได้...แบบ (Macro) นี้ เขาจะทาแบบรื้อทั้งหมด ฉันไม่เห็นด้วย...อย่างบ้าน
คนอยู่เราบอก บ้านนี้มันผุตรงนั้น ผุตรงนี้ ไม่คุ้มที่จะไปซ่อม...เอาตกลงรื้อบ้านนี้ ระเบิด
เลย เราจะไปอยู่ที่ไหน ไม่มีที่อยู่...วิธีทาต้องค่อยๆ ทา จะไป ระเบิดหมดไม่ได้...”
 การประยุกต์ใช้:
การมองปัญหาให้มองภาพรวมแต่การแก้ไขปัญหาเราจะพบว่ามีปัญหา
มากมายจนไม่รู้จะทาอะไรก่อนมีทั้งปัญหาใหญ่ๆ จนถึงปัญหาเล็กน้อย ถ้าเราจะ
แก้ปัญหาใหญ่ก่อนอาจต้องใช้ทรัพยากรมากมาย แต่ถ้าเราแก้ปัญหาเล็กๆที่มี
ความสาคัญก่อนปัญหาใหญ่ ที่ว่าอาจจะค่อยๆ เล็กลง
 ในการทรงงาน พระองค์จะทรงเริ่มต้นจากสิ่งที่จาเป็นของ ประชาชนที่สุดก่อน ได้แก่
สาธารณสุข เมื่อมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงแล้ว ก็จะสามารถทาประโยชน์ด้านอื่นๆ
ต่อไปได้ จากนั้นจะเป็นเรื่อง สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและสิ่งจาเป็นในการประกอบ
อาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค ที่เอื้อประโยชน์ต่อ
ประชาชน โดยไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการให้ความรู้ทางวิชาการและ
เทคโนโลยีที่เรียบง่าย เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถ นาไปปฏิบัติ
ได้และเกิดประโยชน์สูงสุด
 การประยุกต์ใช้:
ข้อ 3 บอกให้ทาเรื่องเล็กๆก่อนแต่ก็ต้องนาปัญหาทั้งหมดมาเรียงตามลาดับ
ความสาคัญ ,และลาดับขั้นของการแก้ปัญหา ทาจากเล็กไปหาใหญ่โดยเรียง
ตามลาดับความสาคัญ /ลาดับขั้นตอนของปัญหา
 การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึง สภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็น อย่างไร และสังคม
วิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจน วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มี
ความแตกต่างกัน ดังพระราชดารัส ความตอนหนึ่งว่า “...การพัฒนาจะต้องเป็นไปตาม
ภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศ ทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา คือ นิสัยใจคอ
ของคนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่น ไม่ได้ เราต้องแนะนา เราเข้าไปช่วยโดยที่จะ
คิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการ อะไรจริงๆ แล้วก็
อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิด ประโยชน์อย่างยิ่ง...”
 การประยุกต์ใช้:
งานอย่างเดียวกันในสถานการณ์ / สถานที่ที่ต่างกัน การทางานหรือการ
แก้ไขปัญหาอาจไม่เหมือนกัน เราไม่อาจนาวิธีการเดียว ไปใช้กับปัญหาทุก
ปัญหาได้ ต้องศึกษา ว่าคนที่ทางานร่วมกับเราเป็นอย่างไร จะทาอย่างไร
เพื่อให้เค้าให้ความร่วมมือกับเราจนงานสาเร็จได้
 ทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวม (Holistic) หรือมองอย่างครบวงจร ใน การที่จะ
พระราชทานพระราชดาริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้น จะทรงมอง เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น
และแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง ดังเช่น กรณีของ “ทฤษฎีใหม่” ที่พระราชทานให้แก่
ปวงชนชาวไทย เป็นแนวทางในการ ประกอบอาชีพแนวทางหนึ่งที่พระองค์ทรงมอง
อย่างองค์รวม ตั้งแต่การถือ ครองที่ดินโดยเฉลี่ยของประชาชนคนไทย ประมาณ ๑๐-๑๕
ไร่ การ บริหารจัดการที่ดินและแหล่งน้า อันเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญในการ ประกอบ
อาชีพ เมื่อมีน้าในการทาเกษตรแล้วจะส่งผลให้ผลผลิตดีขึ้น และหากมีผลผลิตเพิ่มมาก
ขึ้น เกษตรกรจะต้องรู้จักวิธีการจัดการและ การตลาด รวมถึงการรวมกลุ่มรวมพลัง
ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อพร้อม ที่จะออกสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกได้
อย่างครบวงจรนั่นคือ ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ ๑, ๒ และ ๓
 การประยุกต์ใช้:
ไม่ทางานแบบแยกส่วน ต้องคิดว่าถ้าเราทาแบบนี้ จะเกิดผลกระทบกับใครบ้าง
เกิดอย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไรเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาใหม่ตามมา ต้องมองให้ครบทั้ง
ระบบ คน เครื่องมือ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมองค์กร ถ้าเป็นทางด้านสุขภาพ ก็คือต้องดู
ให้ครบร่างกาย จิตไจ ครอบครัว สังคม เศรษฐานะ
 การพัฒนาตามแนว พระราชดาริ ในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มี ลักษณะของการพัฒนาที่
อนุโลม และรอมชอมกับ สภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน
คือ “ไม่ติดตารา” ไม่ผูกมัดติด กับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความ
เป็นอยู่ ที่แท้จริงของคนไทย
 การประยุกต์ใช้ :
ถ้าให้ตีความจะตึความว่าเป็นเรื่องการคิดนอกกรอบ ถ้าเราจะทางานแล้วมีทฤษฎีบอก
ว่า ต้องทาอย่างไรเพื่อให้ประสบความสาเร็จ แต่เราศึกษาแล้วพบว่าไม่เหมาะกับบริบทของของ
เรา เพราะอาจต้องลงทุนสูง ใช้คนมาก ใช้เครื่องมือที่มีราคาแพง เราจาเป็นต้องมีการ
ดัดแปลง เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพของเรา โดยยึดหลักการสาคัญของตาราไว้ ส่วนอื่น
ดัดแปลงตามบริบทของเรา ไม่ต้องตามตาราทั้งหมด เพราะถ้ารอให้ทาตามตาราได้ทั้งหมด
อาจจะไม่ได้ทาอะไรเลย
 “...กองงานในพระองค์โดย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ บอกว่าปีหนึ่ง พระองค์
เบิกดินสอ ๑๒ แท่ง เดือน ละแท่ง ใช้จนกระทั่งกุด ใครอย่าไปทิ้ง ของท่านนะ จะ
กริ้วเลย ประหยัดทุก อย่าง เป็นต้นแบบทุกอย่าง ทุกอย่างนี้ มีค่าสาหรับ
พระองค์หมด ทุกบาททุก สตางค์จะใช้อย่างระมัดระวัง จะสั่งให้ เราปฏิบัติงาน
ด้วยความรอบคอบ...”
 การประยุกต์ใช้ :
ประหยัดไม่ได้แปลว่าไม่จ่าย ไม่ใช้ แต่หมายถึงใช้อย่างเหมาะสม
คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่ใช้เกินจาเป็น
 ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทาให้การ
คิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขงานการ พัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริ
ดาเนินไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และที่สาคัญอย่างยิ่ง คือ สอดคล้องกับสภาพ
ความเป็นอยู่และระบบ นิเวศโดยส่วนรวม ตลอดจนสภาพทางสังคมของชุมชนนั้นๆ
ทรงโปรดที่จะ ทาสิ่งที่ยากให้กลายเป็นง่าย ทาสิ่งที่สลับซับซ้อนให้เข้าใจง่าย อันเป็น
การ แก้ปัญหาด้วยการใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทางนั่นเอง แต่การทา สิ่งยาก ให้
กลายเป็นง่ายนั้นเป็นของยาก ฉะนั้นคาว่า “ทาให้ง่าย” หรือ “Simplicity” จึงเป็น
หลักคิดสาคัญที่สุดของการพัฒนาประเทศในรูป แบบของโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ
 การประยุกต์ใช้
ทาทุกอย่างให้ง่าย ให้น้อยเท่าที่จาเป็น อย่าคิดมาก อย่าคิดซับซ้อน “ทางสายกลาง”จะ
เป็นคานิยามสาหรับตัวเอง ไม่ลาบาก ตัวเอง ไม่ลาบากคนอื่น
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักประชาธิปไตย จึงทรงนา “ประชาพิจารณ์”
มาใช้ในการบริหาร เพื่อเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชน หรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับ
ได้มาร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ จะต้องคานึงถึงความคิดเห็นของ
ประชาชน หรือความต้องการของ สาธารณชน ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า “...
สาคัญที่สุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวางหนักแน่น รู้จักรับฟัง ความคิดเห็น แม้กระทั่ง
ความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาด เพราะการรู้จักรับฟังอย่างฉลาดนั้นแท้จริง
คือ การระดมสติปัญญาและ ประสบการณ์อันหลากหลาย มาอานวยการปฏิบัติ
บริหารงานให้ ประสบความสาเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง...”
 การประยุกต์ใช้ :
รับฟังความคิดเห็นของผู้ร่วมงาน ฟังให้มากกว่าพูด โดยส่วนตัว คิดว่า
หมายถึง การระดมสมอง ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในงานนั้น ให้ทุกคนรู้สึกเป็นเจ้าของ
เมื่อความรู้สึกเป็นเจ้าของเกิด ความร่วมมือจะตามมา
 ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า “...ใครต่อใครบอกว่าขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม
อันนี้ฟัง จนเบื่อ อาจจะราคาญด้วยซ้าว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึง ประโยชน์
ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เรื่อยแล้วส่วนตัวจะได้ อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เพื่อ
ส่วนรวมนั้นมิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะ
อาศัยได้...”
พระบรมราโชวาท มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๑๔
 การประยุกต์ใช้
บางครั้งในการทางานเราอาจต้องทางานมากว่าคน อื่น เหนื่อยกว่าคนอื่น หรือ
งานที่ได้รับมอบหมายซับซ้อนและยากกว่าผู้ร่วมงานอื่นต้องมองว่า ถ้าทาแล้วทาให้
งานสาเร็จได้ ก็ต้องทาอย่านึกแต่ว่าทาไมต้องทางานยาก งานหนักกว่าคนอื่น งาน
ประสบความสาเร็จ ตัวเราก็ประสบความสาเร็จ
 การบริการรวมที่จุดเดียว เป็นรูปแบบการบริการแบบเบ็ดเสร็จ หรือ One
Stop Services ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในระบบ บริหารราชการแผ่นดินของ
ประเทศไทย โดยทรงให้ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริเป็น
ต้นแบบในการบริการ รวมที่จุดเดียว เพื่อประโยชน์ต่อประชาชนที่มาขอใช้
บริการ จะประหยัด เวลาและค่าใช้จ่าย โดยมีหน่วยงานราชการต่างๆ มาร่วม
ดาเนินการและ ให้บริการประชาชน ณ ที่แห่งเดียว (มีมาแล้วกว่า 20 ปี)
 การประยุกต์ใช้
อันนี้ชัดเจนนะเราได้ยินและรู้จักความหมายกันดีอยู่แล้ว
 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและ ต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติ ทรงมอง
อย่างละเอียดถึง ปัญหาธรรมชาติ หากเราต้องการแก้ไข ธรรมชาติ จะต้องใช้
ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ อาทิ การแก้ไขปัญหาป่าเสื่อมโทรมได้ พระราชทาน
พระราชดาริ การปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก ปล่อยให้ธรรมชาติช่วย ในการฟื้นฟู
ธรรมชาติ หรือแม้กระทั่ง การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ได้แก่ ปลูกไม้
เศรษฐกิจ ไม้ผล และไม้ฟืน นอกจากได้ประโยชน์ ตามชื่อของไม้แล้วยังช่วยรักษา
ความชุ่มชื้นให้แก่พื้นดินด้วย เห็นได้ว่า ทรงเข้าใจธรรมชาติ และมนุษย์อย่าง
เกื้อกูลกัน ทาให้คนอยู่ร่วมกับป่า ได้อย่างยั่งยืน
 ทรงนาความจริงในเรื่อง ความเป็นไปแห่งธรรมชาติและ กฎเกณฑ์ของธรรมชาติมา
เป็น หลักการ แนวปฏิบัติที่สาคัญ ในการแก้ปัญหาและปรับปรุง เปลี่ยนแปลงสภาวะที่
ไม่ปกติ เข้าสู่ระบบที่เป็นปกติ เช่น การนาน้าดีขับไล่น้าเสีย หรือ เจือจางน้าเสียให้กลับ
เป็นน้าดี ตามจังหวะการขึ้นลงตามธรรมชาติ ของน้า การบาบัดน้าเน่าเสียโดย ใช้
ผักตบชวาซึ่งมีตามธรรมชาติ ให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้า ดังพระราชดารัส
ความว่า “ใช้อธรรม ปราบอธรรม
 การประยุกต์ใช้ :
ส่วนตัวคิดถึงเรื่องของทุกอย่างในโลกนี้มีดีเสมอขึ้นกับ การมองของคนเรา
บางครั้งเรื่องหรือเหตุการณ์ที่ไม่ดี ก็จะมีแง่ดีหรือประโยชน์ในเรื่องนั้นเสมอ ,คนบาง
คนที่เราคิดว่าไม่ดี มีข้อเสียเยอะ ถ้าเรามองต่างมุม ข้อเสียของเขาเราอาจนามาใช้
ประโยชน์ได้ถ้ารู้จักคิด รู้จักมอง
 เป็นการปลูกป่าลงบนแผ่นดินด้วย ความต้องการอยู่รอดของมนุษย์ ทาให้ต้องมี การ
บริโภคและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง สิ้นเปลือง เพื่อประโยชน์ของตนเองและ สร้าง
ความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อม ปัญหา ความไม่สมดุลจึงบังเกิดขึ้น ดังนั้น ในการที่ จะ
ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมาจะ ต้องปลูกจิตสานึกในการรักผืนป่าให้แก่คน
เสียก่อน ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า “...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ ลงใน
ใจคนเสียก่อน แล้วคน เหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้
ด้วยตนเอง...
 การประยุกต์ใช้:
การทาอะไรต้องเริ่มจากใจที่อยากทาก่อน ถ้าใจไม่รัก ก็ไม่ประสบความสาเร็จ
 “...ขาดทุน คือ กาไร Our loss is our gain...การเสียคือ การได้ ประเทศชาติก็จะก้าวหน้า
และการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็น มูลค่าเงินไม่ได้...” จากพระราชดารัสดังกล่าว คือ
หลักการในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่มีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การเสียสละ” เป็นการ
กระทาอันมีผลเป็นกาไรคือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร ซึ่งสามารถ สะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน
ได้
อย่ามองที่กาไรขาดทุนที่เป็นตัวเงินมากจนเกินไป บางครั้งเราได้กาไรจากการขาดทุน
ลงทุนมหาศาล ได้ธรรมชาติกลับคืนมา
ลงทุนมหาศาล ได้ลูกคืนมา
ลงทุนมหาศาล ได้คนดีๆ กลับมา
ลงทุนมหาศาล ได้ความรู้ไว้คอยช่วยเหลือ
 การพัฒนาตามแนวพระราชดารัส เพื่อแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไข ปัญหาเฉพาะ
หน้า เพื่อให้มีความแข็งแรง พอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไป ก็คือการพัฒนาให้
ประชาชนสามารถ อยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อมและ สามารถ “พึ่งตนเองได้” ในที่สุด
ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า “...การช่วยเหลือสนับสนุน ประชาชนในการประกอบ
อาชีพและตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่น เป็นสิ่งสาคัญยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพและ
ฐานะเพียงพอที่จะพึ่งพา ตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญในระดับสูงขั้นต่อไป...”
 การประยุกต์ใช้:
พ่อสอนให้เราจับปลาให้เป็นด้วยตัวของเราเอง พ่อไม่ได้หาปลาให้เรา เพราะ
การหาปลามาให้ เราจะไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยตัวของเราเอง เราจะต้องเป็น
ทาส ของคนอื่นตลอดไป
 พออยู่พอกินก่อน แล้วค่อยพัฒนาเราขอให้บาบัดให้ได้ก่อน==>
ประคับประคอง==> เป็นที่ปรึกษา==>เป็นผู้ช่วยเหลือผู้อื่นต่อไป
 การประยุกต์ใช้:
ตามนั้นเลยค่ะ
 เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดารัส
ชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิต แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย ตลอดนานกว่า ๓๐
ปี ตั้งแต่ ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงย้าแนว
ทางการ แก้ไข เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน
ภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ดังปรัชญาของ
เศรษฐกิจ พอเพียงที่ได้พระราชทานไว้
 การประยุกต์ใช้:
การเดินทางสายกลางและใช้ชีวิตตามกาลังทรัพย์ อย่างมีเหตุผล
รอบคอบ ซื่อสัตย์ รู้จักแบ่งปัน เพื่อให้ครอบครัวและสังคมดีขึ้น
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดารัส เรื่อง ความซื่อสัตย์
สุจริต จริงใจต่อกันอย่างต่อ เนื่องตลอดมา เพราะ เห็นว่าหากคนไทยทุก คนได้
ร่วมมือกันช่วย ชาติ พัฒนาชาติด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกันแล้ว
ประเทศไทยจะเจริญก้าวหน้าอย่างมาก
“...ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมทา ประโยชน์ให้แก่
ส่วนรวมได้ มากกว่าผู้มีความรู้มากแต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ...”
พระราชดารัส เมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๓
 “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระเกษมสาราญและทรงมีความสุข ทุกคราที่จะ
ช่วยเหลือประชาชน ซึ่งเคยมี พระราชดารัสครั้งหนึ่งความว่า “...ทางานกับฉัน ฉันไม่มี
อะไร จะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทาประโยชน์ให้กับผู้อื่น..
 การประยุกต์ใช้:
รักในงานที่ทา ถึงแม้มันจะไม่ใช่งานที่อยากทา แต่ถ้าเรารักงานที่ทาจะทาให้
ทางานอย่างมีความสุขและเกิดประโยชน์ ต่อคนรอบข้าง
 จากพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” เป็นพระราชนิพนธ์ที่พระองค์ทรงใช้เวลา ค่อนข้าง
นานในการคิดประดิษฐ์ ทาให้ เข้าใจง่าย และปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสภาพ สังคมปัจจุบัน
อีกทั้งภาพประกอบ และ คติธรรมต่างๆ ได้ส่งเสริมให้หนังสือเล่มนี้ มีความศักดิ์สิทธิ์ที่
หากคนไทยน้อมรับมาศึกษา วิเคราะห์และปฏิบัติตามรอยพระมหาชนก กษัตริย์ ผู้
เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่ง ก็ยังว่ายน้าต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่ายก็จะตกเป็น
อาหาร ปู ปลา และ ไม่ได้พบกับเทวดาที่มาช่วยเหลือมิให้จมน้าไป เช่นเดียวกับ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงริเริ่มทาโครงการต่างๆ ในระยะแรก ที่ไม่มีความ
พร้อมในการ ทางานมากนัก และทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ทั้งสิ้น แต่พระองค์
ก็มิได้ท้อพระราชหฤทัย มุ่งมั่นพัฒนาบ้านเมืองให้บังเกิดความร่มเย็นเป็นสุข
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดารัสในเรื่อง “รู้ รัก สามัคคี” มาอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งเป็น คาสามคา ที่มีค่าและมีความหมาย ลึกซึ้ง พร้อมทั้งสามารถปรับใช้ได้ กับทุกยุค
ทุกสมัย
รู้: การที่เราจะลงมือทาสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัย ทั้งหมด รู้ถึงปัญหา และรู้
ถึงวิธีการแก้ปัญหา
รัก : คือความรัก เมื่อเรารู้ครบถ้วนกระบวนความแล้ว จะต้องมี ความรักการพิจารณา
ที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้นๆ
สามัคคี: การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรคานึงเสมอว่า เราจะทางาน คนเดียวไม่ได้ ต้อง
ทางานร่วมมือร่วมใจเป็นองค์กรเป็นหมู่คณะ จึงจะมี พลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไป
ได้ด้วยดี

More Related Content

What's hot

เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 

What's hot (20)

เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 

More from Sutthiluck Kaewboonrurn

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564Sutthiluck Kaewboonrurn
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่Sutthiluck Kaewboonrurn
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองSutthiluck Kaewboonrurn
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนSutthiluck Kaewboonrurn
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตSutthiluck Kaewboonrurn
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการSutthiluck Kaewboonrurn
 

More from Sutthiluck Kaewboonrurn (19)

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Mentor & coaching
Mentor & coachingMentor & coaching
Mentor & coaching
 
Net promoter score
Net promoter scoreNet promoter score
Net promoter score
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง
 
7 qc tool online
7 qc tool online7 qc tool online
7 qc tool online
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ICD 10
ICD 10ICD 10
ICD 10
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิต
 
Service excellent update
Service excellent updateService excellent update
Service excellent update
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการ
 
Service excellent
Service  excellentService  excellent
Service excellent
 

หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้

  • 1.
  • 2.
  • 3. ๑.ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ ๓.แก้ปัญหาที่จุดเล็ก ๕.ภูมิสังคม ๗.ไม่ติดตารา ๙.ทาให้ง่าย ๑๑.ประโยชน์ส่วนรวม ๑๓.ทรงใช้ธรรมชาติ ช่วยธรรมชาติ ๑๕.ปลูกป่าในใจคน ๑๗.การพึ่งตนเอง ๑๙.เศรษฐกิจพอเพียง ๒๑.ทางานอย่างมีความสุข ๒๓.รู้ รัก สามัคคี ๒.ระเบิดจากข้างใน ๔.ทาตามลาดับขั้น ๖.องค์รวม ๘.ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์ สูงสุด ๑๐.การมีส่วนร่วม ๑๒.บริการรวมที่จุดเดียว ๑๔.ใช้อธรรมปราบอธรรม ๑๖.ขาดทุนคือกาไร ๑๘.พออยู่พอกิน ๒๐.ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน ๒๒.ความเพียร : พระมหาชนก
  • 4.  การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศึกษาข้อมูล รายละเอียด อย่างเป็นระบบ ทั้งจากข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสาร แผนที่ สอบถามจาก เจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ ให้ได้รายละเอียด ที่ถูกต้อง เพื่อที่จะ พระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ ของประชาชน การประยุกต์ใช้ : เมื่อจะทางานอะไรต้องศึกษาข้อมูลทั้งหมด ทั้งระบบ และทุกมิติ อย่าดูแต่ตัวเลข อย่าดุแต่เอกสารให้ใช้การสอบถามบุคคลที่ เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
  • 5.  พระองค์ทรงมุ่งเน้น เรื่องการพัฒนาคน ทรงตรัสว่า“ต้อง ระเบิดจากข้างใน” หมายความว่า ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชน ที่เราเข้าไปพัฒนามีสภาพพร้อม ที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อย ออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่การนาเอาความ เจริญหรือบุคคลจากสังคม ภายนอกเข้าไปหาชุมชนหมู่บ้านที่ยังไม่ทันได้มีโอกาส เตรียมตัวหรือตั้งตัว  การประยุกต์ใช้ : การจะเริ่มทาอะไรซักอย่างสิ่งที่ต้องสร้างให้ได้ก่อนคือการสร้างคน เช่น ถ้าจะ ทางานอะไรคนที่ทาก็ต้องรู้ให้ดี ก่อน ไม่ใช่แค่บอกว่าจะทาแต่ไม่มีใครรู้ว่าต้องทาอะไร แล้วก็บอกแต่ว่าต้องทา คนต้องเข้าใจและเห็นคุณค่าในสิ่งที่ทา ไม่ใช่ทาตามสั่ง
  • 6.  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปี่ยม ไปด้วยพระอัจฉริยภาพในการแก้ไขปัญหา ทรง มองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่ การแก้ปัญหาของพระองค์จะเริ่มจาก จุดเล็กๆ (Micro) คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมัก จะมองข้าม ดังพระราช ดารัสความตอนหนึ่งว่า “...ถ้าปวดหัวก็คิดอะไรไม่ออก เป็น อย่างนั้นต้องแก้ไขการปวด หัวนี้ก่อน...มันไม่ได้เป็นการแก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปวดหัวก่อน เพื่อที่จะให้อยู่ใน สภาพที่คิดได้...แบบ (Macro) นี้ เขาจะทาแบบรื้อทั้งหมด ฉันไม่เห็นด้วย...อย่างบ้าน คนอยู่เราบอก บ้านนี้มันผุตรงนั้น ผุตรงนี้ ไม่คุ้มที่จะไปซ่อม...เอาตกลงรื้อบ้านนี้ ระเบิด เลย เราจะไปอยู่ที่ไหน ไม่มีที่อยู่...วิธีทาต้องค่อยๆ ทา จะไป ระเบิดหมดไม่ได้...”  การประยุกต์ใช้: การมองปัญหาให้มองภาพรวมแต่การแก้ไขปัญหาเราจะพบว่ามีปัญหา มากมายจนไม่รู้จะทาอะไรก่อนมีทั้งปัญหาใหญ่ๆ จนถึงปัญหาเล็กน้อย ถ้าเราจะ แก้ปัญหาใหญ่ก่อนอาจต้องใช้ทรัพยากรมากมาย แต่ถ้าเราแก้ปัญหาเล็กๆที่มี ความสาคัญก่อนปัญหาใหญ่ ที่ว่าอาจจะค่อยๆ เล็กลง
  • 7.  ในการทรงงาน พระองค์จะทรงเริ่มต้นจากสิ่งที่จาเป็นของ ประชาชนที่สุดก่อน ได้แก่ สาธารณสุข เมื่อมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงแล้ว ก็จะสามารถทาประโยชน์ด้านอื่นๆ ต่อไปได้ จากนั้นจะเป็นเรื่อง สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและสิ่งจาเป็นในการประกอบ อาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค ที่เอื้อประโยชน์ต่อ ประชาชน โดยไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการให้ความรู้ทางวิชาการและ เทคโนโลยีที่เรียบง่าย เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถ นาไปปฏิบัติ ได้และเกิดประโยชน์สูงสุด  การประยุกต์ใช้: ข้อ 3 บอกให้ทาเรื่องเล็กๆก่อนแต่ก็ต้องนาปัญหาทั้งหมดมาเรียงตามลาดับ ความสาคัญ ,และลาดับขั้นของการแก้ปัญหา ทาจากเล็กไปหาใหญ่โดยเรียง ตามลาดับความสาคัญ /ลาดับขั้นตอนของปัญหา
  • 8.  การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึง สภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็น อย่างไร และสังคม วิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจน วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มี ความแตกต่างกัน ดังพระราชดารัส ความตอนหนึ่งว่า “...การพัฒนาจะต้องเป็นไปตาม ภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศ ทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา คือ นิสัยใจคอ ของคนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่น ไม่ได้ เราต้องแนะนา เราเข้าไปช่วยโดยที่จะ คิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการ อะไรจริงๆ แล้วก็ อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิด ประโยชน์อย่างยิ่ง...”  การประยุกต์ใช้: งานอย่างเดียวกันในสถานการณ์ / สถานที่ที่ต่างกัน การทางานหรือการ แก้ไขปัญหาอาจไม่เหมือนกัน เราไม่อาจนาวิธีการเดียว ไปใช้กับปัญหาทุก ปัญหาได้ ต้องศึกษา ว่าคนที่ทางานร่วมกับเราเป็นอย่างไร จะทาอย่างไร เพื่อให้เค้าให้ความร่วมมือกับเราจนงานสาเร็จได้
  • 9.  ทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวม (Holistic) หรือมองอย่างครบวงจร ใน การที่จะ พระราชทานพระราชดาริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้น จะทรงมอง เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น และแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง ดังเช่น กรณีของ “ทฤษฎีใหม่” ที่พระราชทานให้แก่ ปวงชนชาวไทย เป็นแนวทางในการ ประกอบอาชีพแนวทางหนึ่งที่พระองค์ทรงมอง อย่างองค์รวม ตั้งแต่การถือ ครองที่ดินโดยเฉลี่ยของประชาชนคนไทย ประมาณ ๑๐-๑๕ ไร่ การ บริหารจัดการที่ดินและแหล่งน้า อันเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญในการ ประกอบ อาชีพ เมื่อมีน้าในการทาเกษตรแล้วจะส่งผลให้ผลผลิตดีขึ้น และหากมีผลผลิตเพิ่มมาก ขึ้น เกษตรกรจะต้องรู้จักวิธีการจัดการและ การตลาด รวมถึงการรวมกลุ่มรวมพลัง ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อพร้อม ที่จะออกสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกได้ อย่างครบวงจรนั่นคือ ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ ๑, ๒ และ ๓  การประยุกต์ใช้: ไม่ทางานแบบแยกส่วน ต้องคิดว่าถ้าเราทาแบบนี้ จะเกิดผลกระทบกับใครบ้าง เกิดอย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไรเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาใหม่ตามมา ต้องมองให้ครบทั้ง ระบบ คน เครื่องมือ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมองค์กร ถ้าเป็นทางด้านสุขภาพ ก็คือต้องดู ให้ครบร่างกาย จิตไจ ครอบครัว สังคม เศรษฐานะ
  • 10.  การพัฒนาตามแนว พระราชดาริ ในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มี ลักษณะของการพัฒนาที่ อนุโลม และรอมชอมกับ สภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน คือ “ไม่ติดตารา” ไม่ผูกมัดติด กับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความ เป็นอยู่ ที่แท้จริงของคนไทย  การประยุกต์ใช้ : ถ้าให้ตีความจะตึความว่าเป็นเรื่องการคิดนอกกรอบ ถ้าเราจะทางานแล้วมีทฤษฎีบอก ว่า ต้องทาอย่างไรเพื่อให้ประสบความสาเร็จ แต่เราศึกษาแล้วพบว่าไม่เหมาะกับบริบทของของ เรา เพราะอาจต้องลงทุนสูง ใช้คนมาก ใช้เครื่องมือที่มีราคาแพง เราจาเป็นต้องมีการ ดัดแปลง เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพของเรา โดยยึดหลักการสาคัญของตาราไว้ ส่วนอื่น ดัดแปลงตามบริบทของเรา ไม่ต้องตามตาราทั้งหมด เพราะถ้ารอให้ทาตามตาราได้ทั้งหมด อาจจะไม่ได้ทาอะไรเลย
  • 11.  “...กองงานในพระองค์โดย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ บอกว่าปีหนึ่ง พระองค์ เบิกดินสอ ๑๒ แท่ง เดือน ละแท่ง ใช้จนกระทั่งกุด ใครอย่าไปทิ้ง ของท่านนะ จะ กริ้วเลย ประหยัดทุก อย่าง เป็นต้นแบบทุกอย่าง ทุกอย่างนี้ มีค่าสาหรับ พระองค์หมด ทุกบาททุก สตางค์จะใช้อย่างระมัดระวัง จะสั่งให้ เราปฏิบัติงาน ด้วยความรอบคอบ...”  การประยุกต์ใช้ : ประหยัดไม่ได้แปลว่าไม่จ่าย ไม่ใช้ แต่หมายถึงใช้อย่างเหมาะสม คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่ใช้เกินจาเป็น
  • 12.  ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทาให้การ คิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขงานการ พัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริ ดาเนินไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และที่สาคัญอย่างยิ่ง คือ สอดคล้องกับสภาพ ความเป็นอยู่และระบบ นิเวศโดยส่วนรวม ตลอดจนสภาพทางสังคมของชุมชนนั้นๆ ทรงโปรดที่จะ ทาสิ่งที่ยากให้กลายเป็นง่าย ทาสิ่งที่สลับซับซ้อนให้เข้าใจง่าย อันเป็น การ แก้ปัญหาด้วยการใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทางนั่นเอง แต่การทา สิ่งยาก ให้ กลายเป็นง่ายนั้นเป็นของยาก ฉะนั้นคาว่า “ทาให้ง่าย” หรือ “Simplicity” จึงเป็น หลักคิดสาคัญที่สุดของการพัฒนาประเทศในรูป แบบของโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ  การประยุกต์ใช้ ทาทุกอย่างให้ง่าย ให้น้อยเท่าที่จาเป็น อย่าคิดมาก อย่าคิดซับซ้อน “ทางสายกลาง”จะ เป็นคานิยามสาหรับตัวเอง ไม่ลาบาก ตัวเอง ไม่ลาบากคนอื่น
  • 13.  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักประชาธิปไตย จึงทรงนา “ประชาพิจารณ์” มาใช้ในการบริหาร เพื่อเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชน หรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับ ได้มาร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ จะต้องคานึงถึงความคิดเห็นของ ประชาชน หรือความต้องการของ สาธารณชน ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า “... สาคัญที่สุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวางหนักแน่น รู้จักรับฟัง ความคิดเห็น แม้กระทั่ง ความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาด เพราะการรู้จักรับฟังอย่างฉลาดนั้นแท้จริง คือ การระดมสติปัญญาและ ประสบการณ์อันหลากหลาย มาอานวยการปฏิบัติ บริหารงานให้ ประสบความสาเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง...”  การประยุกต์ใช้ : รับฟังความคิดเห็นของผู้ร่วมงาน ฟังให้มากกว่าพูด โดยส่วนตัว คิดว่า หมายถึง การระดมสมอง ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในงานนั้น ให้ทุกคนรู้สึกเป็นเจ้าของ เมื่อความรู้สึกเป็นเจ้าของเกิด ความร่วมมือจะตามมา
  • 14.  ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า “...ใครต่อใครบอกว่าขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟัง จนเบื่อ อาจจะราคาญด้วยซ้าว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึง ประโยชน์ ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เรื่อยแล้วส่วนตัวจะได้ อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เพื่อ ส่วนรวมนั้นมิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะ อาศัยได้...” พระบรมราโชวาท มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๑๔  การประยุกต์ใช้ บางครั้งในการทางานเราอาจต้องทางานมากว่าคน อื่น เหนื่อยกว่าคนอื่น หรือ งานที่ได้รับมอบหมายซับซ้อนและยากกว่าผู้ร่วมงานอื่นต้องมองว่า ถ้าทาแล้วทาให้ งานสาเร็จได้ ก็ต้องทาอย่านึกแต่ว่าทาไมต้องทางานยาก งานหนักกว่าคนอื่น งาน ประสบความสาเร็จ ตัวเราก็ประสบความสาเร็จ
  • 15.  การบริการรวมที่จุดเดียว เป็นรูปแบบการบริการแบบเบ็ดเสร็จ หรือ One Stop Services ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในระบบ บริหารราชการแผ่นดินของ ประเทศไทย โดยทรงให้ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริเป็น ต้นแบบในการบริการ รวมที่จุดเดียว เพื่อประโยชน์ต่อประชาชนที่มาขอใช้ บริการ จะประหยัด เวลาและค่าใช้จ่าย โดยมีหน่วยงานราชการต่างๆ มาร่วม ดาเนินการและ ให้บริการประชาชน ณ ที่แห่งเดียว (มีมาแล้วกว่า 20 ปี)  การประยุกต์ใช้ อันนี้ชัดเจนนะเราได้ยินและรู้จักความหมายกันดีอยู่แล้ว
  • 16.  ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและ ต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติ ทรงมอง อย่างละเอียดถึง ปัญหาธรรมชาติ หากเราต้องการแก้ไข ธรรมชาติ จะต้องใช้ ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ อาทิ การแก้ไขปัญหาป่าเสื่อมโทรมได้ พระราชทาน พระราชดาริ การปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก ปล่อยให้ธรรมชาติช่วย ในการฟื้นฟู ธรรมชาติ หรือแม้กระทั่ง การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ได้แก่ ปลูกไม้ เศรษฐกิจ ไม้ผล และไม้ฟืน นอกจากได้ประโยชน์ ตามชื่อของไม้แล้วยังช่วยรักษา ความชุ่มชื้นให้แก่พื้นดินด้วย เห็นได้ว่า ทรงเข้าใจธรรมชาติ และมนุษย์อย่าง เกื้อกูลกัน ทาให้คนอยู่ร่วมกับป่า ได้อย่างยั่งยืน
  • 17.  ทรงนาความจริงในเรื่อง ความเป็นไปแห่งธรรมชาติและ กฎเกณฑ์ของธรรมชาติมา เป็น หลักการ แนวปฏิบัติที่สาคัญ ในการแก้ปัญหาและปรับปรุง เปลี่ยนแปลงสภาวะที่ ไม่ปกติ เข้าสู่ระบบที่เป็นปกติ เช่น การนาน้าดีขับไล่น้าเสีย หรือ เจือจางน้าเสียให้กลับ เป็นน้าดี ตามจังหวะการขึ้นลงตามธรรมชาติ ของน้า การบาบัดน้าเน่าเสียโดย ใช้ ผักตบชวาซึ่งมีตามธรรมชาติ ให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้า ดังพระราชดารัส ความว่า “ใช้อธรรม ปราบอธรรม  การประยุกต์ใช้ : ส่วนตัวคิดถึงเรื่องของทุกอย่างในโลกนี้มีดีเสมอขึ้นกับ การมองของคนเรา บางครั้งเรื่องหรือเหตุการณ์ที่ไม่ดี ก็จะมีแง่ดีหรือประโยชน์ในเรื่องนั้นเสมอ ,คนบาง คนที่เราคิดว่าไม่ดี มีข้อเสียเยอะ ถ้าเรามองต่างมุม ข้อเสียของเขาเราอาจนามาใช้ ประโยชน์ได้ถ้ารู้จักคิด รู้จักมอง
  • 18.  เป็นการปลูกป่าลงบนแผ่นดินด้วย ความต้องการอยู่รอดของมนุษย์ ทาให้ต้องมี การ บริโภคและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง สิ้นเปลือง เพื่อประโยชน์ของตนเองและ สร้าง ความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อม ปัญหา ความไม่สมดุลจึงบังเกิดขึ้น ดังนั้น ในการที่ จะ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมาจะ ต้องปลูกจิตสานึกในการรักผืนป่าให้แก่คน เสียก่อน ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า “...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ ลงใน ใจคนเสียก่อน แล้วคน เหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ ด้วยตนเอง...  การประยุกต์ใช้: การทาอะไรต้องเริ่มจากใจที่อยากทาก่อน ถ้าใจไม่รัก ก็ไม่ประสบความสาเร็จ
  • 19.  “...ขาดทุน คือ กาไร Our loss is our gain...การเสียคือ การได้ ประเทศชาติก็จะก้าวหน้า และการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็น มูลค่าเงินไม่ได้...” จากพระราชดารัสดังกล่าว คือ หลักการในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่มีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การเสียสละ” เป็นการ กระทาอันมีผลเป็นกาไรคือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร ซึ่งสามารถ สะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน ได้ อย่ามองที่กาไรขาดทุนที่เป็นตัวเงินมากจนเกินไป บางครั้งเราได้กาไรจากการขาดทุน ลงทุนมหาศาล ได้ธรรมชาติกลับคืนมา ลงทุนมหาศาล ได้ลูกคืนมา ลงทุนมหาศาล ได้คนดีๆ กลับมา ลงทุนมหาศาล ได้ความรู้ไว้คอยช่วยเหลือ
  • 20.  การพัฒนาตามแนวพระราชดารัส เพื่อแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไข ปัญหาเฉพาะ หน้า เพื่อให้มีความแข็งแรง พอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไป ก็คือการพัฒนาให้ ประชาชนสามารถ อยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อมและ สามารถ “พึ่งตนเองได้” ในที่สุด ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า “...การช่วยเหลือสนับสนุน ประชาชนในการประกอบ อาชีพและตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่น เป็นสิ่งสาคัญยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพและ ฐานะเพียงพอที่จะพึ่งพา ตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญในระดับสูงขั้นต่อไป...”  การประยุกต์ใช้: พ่อสอนให้เราจับปลาให้เป็นด้วยตัวของเราเอง พ่อไม่ได้หาปลาให้เรา เพราะ การหาปลามาให้ เราจะไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยตัวของเราเอง เราจะต้องเป็น ทาส ของคนอื่นตลอดไป
  • 21.  พออยู่พอกินก่อน แล้วค่อยพัฒนาเราขอให้บาบัดให้ได้ก่อน==> ประคับประคอง==> เป็นที่ปรึกษา==>เป็นผู้ช่วยเหลือผู้อื่นต่อไป  การประยุกต์ใช้: ตามนั้นเลยค่ะ
  • 22.  เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดารัส ชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิต แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย ตลอดนานกว่า ๓๐ ปี ตั้งแต่ ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงย้าแนว ทางการ แก้ไข เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ดังปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียงที่ได้พระราชทานไว้  การประยุกต์ใช้: การเดินทางสายกลางและใช้ชีวิตตามกาลังทรัพย์ อย่างมีเหตุผล รอบคอบ ซื่อสัตย์ รู้จักแบ่งปัน เพื่อให้ครอบครัวและสังคมดีขึ้น
  • 23.  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดารัส เรื่อง ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกันอย่างต่อ เนื่องตลอดมา เพราะ เห็นว่าหากคนไทยทุก คนได้ ร่วมมือกันช่วย ชาติ พัฒนาชาติด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกันแล้ว ประเทศไทยจะเจริญก้าวหน้าอย่างมาก “...ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมทา ประโยชน์ให้แก่ ส่วนรวมได้ มากกว่าผู้มีความรู้มากแต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ...” พระราชดารัส เมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๓
  • 24.  “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระเกษมสาราญและทรงมีความสุข ทุกคราที่จะ ช่วยเหลือประชาชน ซึ่งเคยมี พระราชดารัสครั้งหนึ่งความว่า “...ทางานกับฉัน ฉันไม่มี อะไร จะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทาประโยชน์ให้กับผู้อื่น..  การประยุกต์ใช้: รักในงานที่ทา ถึงแม้มันจะไม่ใช่งานที่อยากทา แต่ถ้าเรารักงานที่ทาจะทาให้ ทางานอย่างมีความสุขและเกิดประโยชน์ ต่อคนรอบข้าง
  • 25.  จากพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” เป็นพระราชนิพนธ์ที่พระองค์ทรงใช้เวลา ค่อนข้าง นานในการคิดประดิษฐ์ ทาให้ เข้าใจง่าย และปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสภาพ สังคมปัจจุบัน อีกทั้งภาพประกอบ และ คติธรรมต่างๆ ได้ส่งเสริมให้หนังสือเล่มนี้ มีความศักดิ์สิทธิ์ที่ หากคนไทยน้อมรับมาศึกษา วิเคราะห์และปฏิบัติตามรอยพระมหาชนก กษัตริย์ ผู้ เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่ง ก็ยังว่ายน้าต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่ายก็จะตกเป็น อาหาร ปู ปลา และ ไม่ได้พบกับเทวดาที่มาช่วยเหลือมิให้จมน้าไป เช่นเดียวกับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงริเริ่มทาโครงการต่างๆ ในระยะแรก ที่ไม่มีความ พร้อมในการ ทางานมากนัก และทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ทั้งสิ้น แต่พระองค์ ก็มิได้ท้อพระราชหฤทัย มุ่งมั่นพัฒนาบ้านเมืองให้บังเกิดความร่มเย็นเป็นสุข
  • 26.  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดารัสในเรื่อง “รู้ รัก สามัคคี” มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็น คาสามคา ที่มีค่าและมีความหมาย ลึกซึ้ง พร้อมทั้งสามารถปรับใช้ได้ กับทุกยุค ทุกสมัย รู้: การที่เราจะลงมือทาสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัย ทั้งหมด รู้ถึงปัญหา และรู้ ถึงวิธีการแก้ปัญหา รัก : คือความรัก เมื่อเรารู้ครบถ้วนกระบวนความแล้ว จะต้องมี ความรักการพิจารณา ที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้นๆ สามัคคี: การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรคานึงเสมอว่า เราจะทางาน คนเดียวไม่ได้ ต้อง ทางานร่วมมือร่วมใจเป็นองค์กรเป็นหมู่คณะ จึงจะมี พลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไป ได้ด้วยดี