SlideShare a Scribd company logo
การละเล่นพื้นเมือง
บทนำา
การละเล่นพื้นเมืองเป็นการละเล่นประจำาท้องถิ่น มีทั้งของเด็ก และของผู้ใหญ่ ในทุกภาคของ
ประเทศไทย ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาค
อีสาน ล้วนมีการละเล่นที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองทั้งสิ้น ความแตกต่างของการละเล่นแต่ละภาค
ปรากฏจากท่าทางการร่ายรำา คำาร้อง ดนตรี และการแต่งกาย
การละเล่นเกิดขึ้นพร้อมกับสังคมเกษตรกรรม อันเป็นอาชีพดั้งเดิมของชาวไทย ชาวบ้านมีความรัก
ใคร่กลมเกลียวเอื้อเฟื้อเกื้อกูลร่วมช่วยเหลือกันในการทำางาน เช่น ช่วยกันดำานา เกี่ยวข้าว หรือนวด
ข้าว และจะผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อย ด้วยการสอดแทรกความสนุกสนานระหว่างทำางาน ด้วยการ
ร้องรำาทำาเพลงโต้ตอบประคารมกัน เมื่อถึงเวลาตรุษสงกรานต์ ชาวบ้านออกมาทำาบุญที่วัด มีการ
ชุมนุมที่เป็นหมู่คณะ จะมีการละเล่นต่างๆ เกิดขึ้น เช่น เล่นช่วง เล่นตีคลี เล่นแม่ศรี ลิงลม เล่นกลอง
ยาว รำากระทบไม้ และฟันดาบ เป็นต้น
ประเพณีเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทยผูกพันกับการทำาบุญ เมื่อมีเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น ในครอบครัว
ทั้งการเกิด การตาย การบวช การขึ้นบ้านใหม่ หรืองานพิธีทางศาสนาตามเทศกาล ชาวไทยมักนิยม
ให้มีการละเล่นเป็นการฉลอง และเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ความครึกครื้น ทั้งการประโคมดนตรี ปี่
พาทย์ การแสดงมหรสพ สร้างความสามัคคีภายในหมู่บ้าน หรือบ้านใกล้เรือนเคียง ทำาให้มีความรัก
ใคร่กัน มีความเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกันอย่างเหนียวแน่น การละเล่นพื้นเมืองของไทยจึงมีความหลากหลาย
มากมาย การละเล่นหลายอย่างได้สูญหายไปบ้างตามสิ่งแวดล้อมและกาลเวลา บางอย่างได้ปรับแต่ง
ให้มีวิธีการเล่นที่เข้ากับความเจริญในเทคโนโลยีสมัยปัจจุบันด้วย
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่น หมายถึง การเล่นดนตรี การเล่นเพลง การเล่นรำา การ
เล่นที่ต้องร่วมกันตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป เรียกว่า มหรสพหรือศิลปะการ
แสดงพื้นเมือง หมายถึง สิ่งที่อยู่ในท้องถิ่นนั้น
การละเล่นพื้นเมือง คือ การละเล่นที่แสดงเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ทั้งภาคกลาง ภาค
เหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ตามลักษณะพื้นที่
ของประเทศ เป็นกิจกรรมบันเทิง ที่ประกอบด้วยการแสดง มหรสพ กีฬา และนันทนาการ
การละเล่นพื้นเมือง คือ การละเล่นที่แสดงเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ที่มี
อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย เป็นกิจกรรมบันเทิงที่แฝงไว้ด้วย
สัญลักษณ์ อันเนื่องด้วยวัฒนธรรม และประเพณี สะท้อนวิถีชีวิต และ
ความเชื่อของสังคม ที่สืบทอดมาแต่โบราณ
การละเล่นพื้นเมือง หมายถึง การแสดงใด ๆ อันเป็นประเพณีนิยมใน
ท้องถิ่นและเล่นกันใน ระหว่างประชาชน เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง
ตามฤดูกาล การแสดงต้องเป็นไปอย่างมีวัฒนธรรม มีความเรียบร้อย
ใช้ถ้อยคำาสุภาพ แต่งกายสุภาพถูกต้องตามความนิยมและวัฒนธรรม
เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น สถานที่ก็ต้องจัดให้เหมาะสมกับโอกาสที่จะ
แสดง ซึ่งการละเล่นพื้นเมือง จะไม่เป็นอาชีพหรือเพื่อหารายได้ จะมี
ดนตรีหรือการขับร้อง หรือการฟ้อนรำาประกอบก็ได้
ประวัติศาสตร์ไทยได้บันทึกไว้ว่า คนไทยมีการละเล่นมาตั้งแต่สมัย
สุโขทัย จากความในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ จารึกพ่อขุน
รามคำาแหงมหาราช กล่าวว่า "...ใครใคร่จักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว
หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน..." และในสมัยอยุธยา ก็ได้กล่าวถึงการ
แสดงเรื่องมโนห์ราไว้ในบทละครครั้งกรุงเก่า ซึ่งกล่าวถึงการละเล่นใน
บทละครนั้น ได้แก่ ลิงชิงหลัก และปลาลงอวน
ประเพณีและวัฒนธรรมไทยสมัยก่อน มักสอดแทรกความสนุกสนาน
บันเทิง ควบคู่ไปกับการทำางาน ทั้งในชีวิตประจำาวัน ในเทศกาลงาน
บุญ และตามระยะเวลาแห่งฤดูกาล เรียกกิจกรรมบันเทิงว่า เป็นการละ
เล่น ครอบคลุมการเล่นลักษณะต่างๆ ทุกโอกาส ไว้ในความหมาย
เดียวกันว่าคือ การแสดง การมหรสพ กีฬา และนันทนาการ
การแสดง คือ การละเล่น ทั้งที่เป็นแบบแผน และเป็นการแสดงทั่วไปของชาวบ้านในรูปของ
การร้อง การขับ การบรรเลง การฟ้อนรำา ประกอบด้วยเพลง ดนตรี และนาฏศิลป์
การแสดง หมายถึง การละเล่นที่รวมทั้งที่เป็นแบบแผน และการแสดงทั่วไปของชาวบ้าน ใน
รูปแบบของการร้อง การขับ การบรรเลง การฟ้อนรำา ซึ่งประกอบด้วยดนตรี เพลง และ
นาฏศิลป์
มหรสพ คือ การแสดงที่จะต้องขออนุญาตจากฝ่ายบ้านเมืองก่อนจัดแสดง ซึ่งกำาหนดเป็นพระ
ราชบัญญัติไว้หลายอย่างคือ ละครไทย ละครชาตรี ละครแขก งิ้ว หุ่นไทย หุ่นจีน หุ่นต่างๆ
หนังไทย หนังตะลุง หนังแขก หนังจีน หนังต่างๆ เพลงสักวา เสภา ลิเก กลองยาว ลาวแพน
มอญรำา ทวายรำา พิณพาทย์ มโหรี กลองแขก คฤหัสถ์สวดศพ และจำาอวด
มหรสพ หมายถึง การแสดงที่ฝ่ายบ้านเมืองจะเรียกเก็บค่าแสดงเป็นเงินภาษีบำารุงแผ่นดิน
ตามพระราชบัญญัติที่กำาหนดไว้ ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๐๔ เป็นต้นมา ประกาศมหรสพ ว่าด้วย
การละเล่นหลายประเภท ดังนี้ ละครไทย ละครชาตรี ละครแขก งิ้ว หุ่นไทย หุ่นจีน หุ่นต่างๆ
หนังไทย หนังตะลุง หนังแขก หนังจีน หนังต่างๆ เพลง สักวา เสภา ลิเก กลองยาว ลาวแพน
มอญและทวายรำา พิณพาทย์ มโหรี กลองแขก คฤหัสถ์สวดศพ และจำาอวด
ส่วนกีฬาและนันทนาการ คือ การละเล่นเพื่อความสนุกสนาน เล่นตามฤดูกาล อาจเป็นการ
แข่งขัน หรือกิจกรรม ที่ทำาตามความสมัครใจ การละเล่นสามารถจำาแนกออกได้ ๓ ลักษณะคือ
การเล่นเพลงและระบำารำาฟ้อน ๑ การเล่นเข้าผี ๑ กีฬาและนันทนาการ ๑ คือ
กีฬาและนันทนาการ คือ การเล่น เพื่อความสนุกสนานตามเทศกาล และเล่นตามฤดูกาล และ
การละเล่น เพื่อการแข่งขัน หรือกิจกรรมที่ทำาตามความสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้เกิดความ
สนุกสนาน เพลิดเพลิน และผ่อนคลายความตึงเครียด
การละเล่นมีทั้งของเด็ก และของผู้ใหญ่ การละเล่นของเด็กจะเริ่มตั้งแต่เป็นทารกแบเบาะ จน
กระทั่งเจริญวัย มีการเล่นง่ายๆ อยู่ภายในบ้าน การเล่นสนุกนอกบ้าน และการเล่น ที่นำา
อุปกรณ์การเล่นมาจากวัสดุธรรมชาติเป็นการเล่นที่มุ่ง เพื่อการพัฒนาร่างกาย สมอง และ
จิตใจตามวัย
ส่วนการละเล่นของผู้ใหญ่ มีความซับซ้อนในวิธีการเล่นตามประเภทของการแสดง มีทั้งมุ่ง
แสดงเพื่อบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์อันเป็นพิธีกรรม การเฉลิมฉลอง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระมหา
กษัตริย์ การสมโภชในงานของพระศาสนา และการสังสรรค์สนุกสนานบันเทิงของชาวบ้าน
เพื่อความรื่นเริงในการชุมนุมกันเป็นหมู่คณะ เมื่อร่วมกันทำางาน โดยเฉพาะการทำานา และเล่น
เพื่อความครึกครื้นตามประเพณีเทศกาลตรุษสารท และยามว่างในฤดูกาล
การละเล่นพื้นเมืองเป็นวัฒนธรรมประจำา ชาติ ทุกภาคของประเทศจะมีการละเล่นที่เป็น
เอกลักษณ์เฉพาะภาคหลายอย่างต่างๆ กัน นับ ตั้งแต่ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก-
เฉียงเหนือหรือภาคอีสาน ภาคตะวันออก และ ภาคใต้ การละเล่นเกือบทุกชนิดมักจะมีอุปกรณ์
ที่เกื้อกูลกัน ๓ อย่าง คือ ดนตรี เพลง และการฟ้อนรำา ซึ่งล้วนแต่มีพื้นฐานมาจาก การละเล่น
พื้นบ้าน ผสมผสานกับอิทธิพล ของหลวงหรือส่วนกลาง การละเล่นหลายอย่าง เล่นแพร่หลาย
กันอยู่ทั่วทุกภาค อาจผิดแปลกกัน ไปบ้างในส่วนปลีกย่อยของลีลาการร่ายรำา สำาเนียง ของ
บทร้อง ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมเป็นเครื่องบังคับ การแสดงอาจไม่เหมือนกันทีเดียว แต่ในโครง
สร้างหลักอันเป็นองค์ประกอบของการละเล่น จะ แสดงลักษณะของความเป็นพื้นบ้านพื้นเมือง
และ มีวิวัฒนาการต่อเนื่องกันตามยุคสมัย สามารถ จำาแนกลักษณะของการละเล่นพื้นเมืองได้
เป็น ประเภท ดังนี้
การละเล่นพื้นเมือง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ การแสดงพื้นเมือง
และ เพลงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง หมายถึง การละเล่นที่มีการแสดง การร่ายรำา มี
เพลงดนตรีประกอบ ที่ได้วางเป็นแบบแผน และนิยมเล่นหรือถ่ายทอด
สืบต่อกันมาจนแพร่หลาย
การแสดงพื้นเมือง อาจเกิดจากการบูชาบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น ขอ
ให้สิ่งที่ตนนับถือประทานสิ่งที่ตนปรารถนา หรือขจัดปัดเป่าสิ่งที่ไม่
ปรารถนา นอกจากนี้ ก็เป็นการแสดงเพื่อความบันเทิงรื่นเริง
เพลงพื้นเมือง หมายถึง เพลงที่ชาวบ้านในท้องถิ่นนั้น ๆ ประดิษฐ์
แบบแผนการร้องเพลง ไปตามความนิยม และสำาเนียงภาษาพูดในท้อง
ถิ่นของตน นิยมร้องเล่นกันในเทศกาลหรืองานที่มีการชุมนุมรื่นเริง
เช่น ตรุษ สงกรานต์ ขึ้นปีใหม่ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า และในการ
ลงแขกเกี่ยวข้าว นวดข้าว เป็นการเล่นที่สืบต่อกันมา
เนื้อความของเพลงพื้นเมืองที่นิยมร้องกัน มักจะเป็นการเกี้ยว
พาราสีระหว่างชายหญิง ปะทะคารมกัน ในด้านสำานวนโวหาร สิ่ง
สำาคัญของการร้องคือ การด้นกลอนสด ร้องแก้กันด้วยปฏิภาณไหว
พริบ ทำาให้เกิดความสนุกสนานทั้งสองฝ่าย
การเล่นเพลงและการระบำารำาฟ้อน กิดขึ้นพร้อมกับสังคมเกษตรกรรม เนื่องจากเกษตรกรรม
เป็นอาชีพดั้งเดิมของชาวไทย สังคมไทยภาคกลาง มักจะช่วยเหลือเกื้อกูล ในการทำางานด้วย
กัน เช่น การดำานา การเกี่ยวข้าว การนวดข้าวระหว่างช่วยกันทำางาน จะผ่อนคลายความ
เหน็ดเหนื่อยด้วยการละเล่นต่างๆ ทั้งการร่ายรำา การเกี้ยวพาราสี และการโต้ตอบคารมในเชิง
กลอน ทำาให้เกิดการละเล่น เช่น การเล่นเพลง ได้แก่ เพลงนา เพลงสงฟาง เพลงเต้นกำารำา
เคียว เพลงชักกระดาน เพลงพาดควาย เพลงพวงมาลัย เพลงอีแซว เพลงลำาตัด เพลงเหย่อย
ฯลฯ การละเล่นในภาคเหนือจะเป็นเรื่องของการฟ้อน มักจะเล่นในงานบุญ ได้แก่ ฟ้อนดาบ
ฟ้อนเจิง หรือการเล่นกลองสะบัดชัย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเป็นการฟ้อนและการรำา
เช่น รำาแคน ฟ้อนภูไท รำาโทน ส่วนในภาคใต้ จะประกอบด้วยการละเล่น เช่น หนังตะลุง
เพลงเรือ เพลงบอก เป็นต้น
การเล่นเพลงและระบำารำาฟ้อน
เพลง คู่กับ ระบำารำาฟ้อน การละเล่นแต่โบราณที่กล่าวไว้ในเอกสารเก่า
หลายอย่าง ได้สูญหายไป ที่ไม่ทราบวิธีการเล่นก็มีจำานวนไม่น้อย
เนื่องจากในสมัยก่อน บ้านเมืองมีประชากรน้อย ความต้องการทาง
เศรษฐกิจไม่เร่งรัดขวนขวาย เช่นในปัจจุบัน ราษฎรมีเวลาประกอบ
กิจกรรม ทั้งการบุญ และการพบปะสังสรรค์ ช่วยเหลือเกื้อกูลในการ
งานของกันและกันภายในท้องถิ่นได้อย่างเต็มที่ ประเพณีและ
วัฒนธรรมในสังคม ได้สร้างมรดกทางการแสดงไว้หลายรูปแบบ ทั้ง
การร้อง การรำา การเล่นเพลง เมื่อบ้านเมืองมี ความเจริญขึ้นตามยุค
สมัย ประชากรเพิ่มมากขึ้น ความจำาเป็นด้านการครองชีพมีส่วนทำาให้
สังคม ชนบทต้องว่างเว้นการสร้างงานด้านวัฒนธรรม การละเล่นพื้น
เมืองหลายอย่างจึงสูญหายไปโดย ไม่มีการสืบต่อ การเล่นเพลงส่วน
ใหญ่จะมีลักษณะ เป็นเพลงปฏิพากย์ คือ ร้องเกี้ยวพาราสีโต้ตอบ ด้วย
วาทะโวหารระหว่างหญิงชาย ส่วนระบำา รำาฟ้อน จะเป็นการร่ายรำา
ตามศิลปะของแต่ละ ท้องถิ่น ถือว่าเป็นนาฏศิลป์พื้นเมือง จึงนิยม เล่น
หรือแสดงกันในท้องถิ่น ในภาษาไทยมีคำาว่า "รำาบำา" หรือ "ระบำา" มัก
จะเป็นการร่ายรำา ทั่วไป ส่วน "ฟ้อน" จะใช้เฉพาะในภาคเหนือ
ฟ้อน
ฟ้อนเป็นนาฏศิลป์พื้นเมืองของชาวเมืองเหนือ จำาแนกการฟ้อนตามลักษณะกิจกรรม คือ ฟ้อน
ผี ฟ้อนเมือง ฟ้อนแบบไทยใหญ่ และฟ้อนม่าน
การละเล่นภาคเหนือ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ การฟ้อนต่างๆ ศิลปะการฟ้อนในภาคเหนือ จะมีดนตรี
พื้นบ้านประกอบ ซึ่งอาจมีท่วงทำานองเป็น เพลงบรรเลงล้วน หรือเป็นเพลงที่มีการขับร้อง
ประกอบร่วมด้วย การฟ้อนของภาคเหนือ แต่ก่อนมิได้มุ่งถึงการบันเทิง แต่เกิดจากพิธีกรรม
ทางศาสนา และความเชื่อทางประเพณี ในการบูชา ผีปู่ย่าตายาย ผีบรรพบุรุษ เป็นหลัก การ
ฟ้อน ได้วิวัฒนาการไปตามยุค มาเป็นการฟ้อนอีกหลายอย่าง นอกจากนั้น ยังมีการเล่นกลอง
สะบัดชัย การร่ายรำา ตบมะผาบ ฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง หรือเชิง ซึ่งมักจะมีดนตรี และมีกลองเป็น
หลัก เข้าประกอบจังหวะ
การละเล่นพื้นเมืองภาคเหนือ
ในภาคเหนือ ภูมิประเทศเป็นป่าเขา ต้นนำ้าลำาธาร อุดมด้วย
ทรัพยากรธรรมชาติ การทำามาหากินสะดวกสบาย ชาวเหนือจึงมีนิสัย
อ่อนโยน ยิ้มแย้มแจ่มใส มีนำ้าใจไมตรี การแสดงพื้นเมืองจึงมีลีลาอ่อน
ช้อย งดงามและอ่อนหวาน
การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ เรียกกันว่า ฟ้อน มีผู้แสดงเป็นชุดเป็นหมู่
ร่ายรำาท่าเหมือนกัน แต่งกายเหมือนกัน มีการแปรแถวแปรขบวนต่าง
ๆ
การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ ได้แก่ ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บหรือฟ้อน
เมือง ฟ้อนลาวแพน ฟ้อนรัก ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนดวงเดือน ฟ้อนดวง
ดอกไม้ ฟ้อนดวงเดือน ฟ้อนมาลัย ฟ้อนไต ฟ้อนดาบ ฟ้อนโยคี
ถวายไฟ ระบำาชาวเขา รำากลองสะบัดไช
๑. ฟ้อนผี
ฟ้อนที่สืบเนื่องจากการนับถือ ผี ได้แก่ ฟ้อนผีมด, ฟ้อนผีเมือง เพื่อเซ่น
สังเวยผีบรรพบุรุษ ผีปู่ย่า ผีประจำาตระกูล จะ ทำาทุกๆ ๓ ปี โดยสร้าง
ปะรำา ตั้งเครื่องเซ่นสังเวย ที่ลานบ้าน ผู้ฟ้อนเป็นผู้หญิงในตระกูล นุ่ง
โสร่ง ทับผ้าที่คล้องคอ และโพกศีรษะ ฟ้อนตามจังหวะของดนตรี ซึ่ง
เป็นดนตรีวงสะล้อซอซึง
ฟ้อนผีเจ้านาย มีลักษณะเหมือนฟ้อน ผีมด
ฟ้อนผีนายด้ง เป็นการละเล่นที่เล่น กันในงานสงกรานต์ เหมือนเล่นแม่
ศรีของ ภาคกลาง แต่เล่นในเวลากลางคืน โดยให้ ผู้หญิง ๔-๕ คน จับ
กระด้งที่ใช้ฝัดข้าว แล้วขับลำานำาเพลง เพื่อให้ผีนางด้งมาเข้าฟ้อนรำา
จนเป็นที่พอใจ
๒. ฟ้อนเมือง เป็นลีลาการฟ้อนของ คนเมือง ได้แก่
ฟ้อนเล็บ เป็นเอกลักษณ์ของภาคเหนือ นิยมฟ้อนนำาขบวนแห่ครัวทาน
เรียกกันว่า"ฟ้อนเมือง" "ฟ้อนแห่ครัวทาน" ใช้ผู้ฟ้อนเป็นชุด ตั้งแต่ ๖
คน ๘ คน ๑๒ คน (จนถึง ๑๐๐-๒๐๐ คน ก็ได้ เช่น ในงานต้อนรับพระ
ราชอาคันตุกะ) การแต่งกาย จะสวมเสื้อแขนกระบอกผ่าอกติดกระดุม
ห่มผ้าสไบทับเสื้อ นุ่งผ้าซิ่นลายขวาง ป้ายข้างยาวกรอมเท้า ไม่สวม
รองเท้า สวมเล็บทำาด้วยโลหะทองเหลืองลักษณะ ปลายเรียวแหลมยาว
ประมาณ ๓ นิ้ว ผมทรง เกล้ามวยใช้ดอกเอื้องประดับมวย เครื่องดนตรี
ที่ ใช้บรรเลงประกอบคือ วงกลองตึ่งนง ซึ่ง ประกอบด้วยเพลงตึ่งนง
(กลองแอว) กลอง ตะโล้ดโป๊ด แนหลวง แนน้อย ฆ้องโหม่ง ฆ้องหุ่ย
และสว่า (ฉาบ)
ฟ้อนเทียน มีท่วงท่าลีลาการฟ้อน การแต่งกาย และเครื่องดนตรี
เหมือนกับฟ้อนเล็บทุกประการ เพียงแต่เปลี่ยนจากการสวมเล็บ มาถือ
เทียนแทน เป็นการฟ้อนจัดร่วมนำาขบวน แห่ขันโตก เรียกชื่ออีกอย่าง
หนึ่งว่า "ฟ้อน เชิญโตก" ความงดงามของศิลปะการฟ้อนเล็บ และฟ้อน
เทียนจะอยู่ที่ลีลาการบิดข้อมือ และการเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ นุ่มนวล
สอดคล้องกับทำานองเพลง ฟ้อนอย่างมีระเบียบ และพร้อมเพรียงกัน
ฟ้อนเจิงเซิง เป็นการฟ้อนของช่างฟ้อนผู้ชาย ฟ้อนเป็นชุดต่อเนื่องกัน
เริ่มด้วย ฟ้อนเจิง คำาว่า "เจิง" หมายถึง "ชั้นเชิง" เป็นการแสดงชั้นเชิง
ของลีลาท่าทางร่ายรำาต่างๆ ซึ่งแสดงออกในท่วงท่าของนักรบ
เป็นการฟ้อนด้วยมือเปล่า โดยเคลื่อนไหวร่างกาย และแยกแขน ยกขา
ทำาท่วงท่าทีต่างๆ ซึ่งช่างฟ้อนจะแสดงชั้นเชิงแตกต่างกันไป ตามการ
คิดประดิษฐ์ท่าทางของแต่ละคน
ตบมะผาบ เป็นการละเล่นของภาคเหนือ คือ การใช้มือเปล่าตบไปตาม
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย พร้อมกับกล่าวคาถาอาคม ลูบตามแขนขา ทั่ว
ร่างกาย ตามความเชื่อทางไสยศาสตร์ เพื่อให้เกิดความคงกระพัน
ชาตรี มีการยกเท้า งอเข่า งอศอก บิดตัวไปมา หลอกล่อคู่ต่อสู้ไป ด้วย
โดยลีลาของฟ้อนเจิงและตบมะผาบจะ ต่อเนื่อง และสัมพันธ์กันตาม
จังหวะของดนตรี ทั้งจังหวะช้าๆ และรวดเร็ว มีการกระโดดด้วย
ท่าทางผาดโผนต่างๆ อย่างน่าดูยิ่ง
ฟ้อนดาบ เป็นการแสดงที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับชั้นเชิงต่อสู้ป้องกันตัว
ผสมผสานกับลีลาท่าฟ้อน ที่สง่างาม การฟ้อนดาบของล้านนา หรือ
ภาคเหนือมี ๒ แบบ คือ
เชิงดาบแสนหวี เป็นเชิงการฟ้อน ดาบของไทยใหญ่
เชิงดาบเชียงแสน เป็นเชิงการ ฟ้อนดาบของคนเมือง
ฟ้อนสาวไหม ท่าฟ้อนสาวไหมแต่ดั้งเดิมเป็นท่าแม่บทท่าหนึ่ง ในการ
ฟ้อนเจิง ช่างฟ้อนเป็นหญิงแต่งกายพื้นเมืองแบบเดียวกับฟ้อนเล็บ ท่า
ฟ้อนมีลีลาอ่อนช้อยมาก เป็นท่าฟ้อนที่เลียนแบบกิริยาอาการสาวไหม
เครื่องดนตรีที่ใช้ ประกอบคือ วงสะล้อ-ซึง บรรเลงทำานองเพลง
แบบ "ซอปั่นฝ้าย"
๓. ฟ้อนแบบไทยใหญ่ มีศิลปะการฟ้อนของชาวไทยในภาคเหนือ
ปรากฏอยู่เป็นเอกลักษณ์
ฟ้อนกิ่งกระหร่า กำาเบ้อดง และเล่นโต "กิ่งกระหร่า" หมายถึง กินนรา
กำาเบ้อดง"กำาเบ้อ" หมายถึง ผีเสื้อ "ดง" หมายถึง ชื่อแม่นำ้าสาละ
วิน "โต" เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะเป็นสัตว์สี่
เท้า นิยมแสดงในงานเทศกาลออกพรรษา ตามตำานานที่เล่า สัตว์เหล่า
นี้มาแสดงความรื่นเริง ต้อนรับพระพุทธองค์ เมื่อครั้งเสด็จลงมาจาก
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากโปรดพระพุทธมารดา
ผู้แสดงเป็นกิ่งกระหร่า แต่งกายด้วยเสื้อผ้า สีดำา หรือสีอื่นๆ ก็ได้ สวม
กางเกง มีปีกหางทำาด้วยโครงไม้ไผ่ที่บุด้วยผ้าแพร หรือผ้ามีสี ปักดิ้น
เงินดิ้นทอง ตกแต่งเป็นลวดลายสวยงาม มีเชือกผูกติดปีกหาง โยง
มายังมือผู้ฟ้อน เพื่อให้เคลื่อนไหวได้ สวมมงกุฎ สังวาล และเครื่อง
ประดับต่างๆ ให้ดูงดงาม สวมหน้ากากรูปหน้า คนทาสีขาว ผู้แสดงมี
ทั้งหญิงและชาย ท่าการ ฟ้อนเลียนแบบธรรมชาติของนก ซึ่งบางแห่ง
เรียกว่า "ฟ้อนนางนก" สำาหรับกำาเบ้อดงจะประดิษฐ์ปีกเป็นแบบผีเสื้อ
ลักษณะคล้ายคลึงกับกิ่งกระหร่า
ฟ้อนมองเชิง คำาว่า "มองเชิง" ใน ภาษาไทยใหญ่แปลว่า "ฆ้องชุด" วง
มองเชิงคือ วงดนตรี นิยมใช้ในกระบวนแห่ และบรรเลงในงานทั่วไป
ของชาวไทยใหญ่ และมีอิทธิพลให้คนเมืองบางท้องถิ่น รับอิทธิพล
ลักษณะการเล่นประสมวงมาด้วย บางทีก็เรียกว่า "ฟ้อนไต"
ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนเงี้ยวเป็นที่รู้จักกันในภาคเหนือปัจจุบัน เป็นการ
ประดิษฐ์ท่ารำา โดยช่างฟ้อนในวังของพระราชายาเจ้าดารารัศมี ซึ่ง
เลียนแบบท่วงท่าของการฟ้อนแบบชาวไทยใหญ่ ผสมกับลีลานาฎ
ศิลป์ภาคกลาง จึงเกิดเป็นการฟ้อนชนิดนี้ขึ้น
๔. ฟ้อนแบบม่าน
คำาว่า "ม่าน" ใน ภาษาล้านนาหมายถึง พม่า ด้วยเหตุที่บริเวณภาค
เหนืออยู่ติดกับประเทศพม่า จึงมีการรับอิทธิพลทางด้านศิลปกรรม
ต่างๆ ของพม่าหลายด้าน สำาหรับด้านนาฏศิลป์ ฟ้อนม่านมุยเชียงตา
เป็นฟ้อนที่พระราชชายา เจ้าดารารัศมี ทรงริเริ่ม ขึ้น โดยมีช่างฟ้อน
ในคุ้มและในวังร่วมกับครูช่าง ฟ้อนของพม่า ช่างฟ้อนเป็นหญิง ๘-๑๖
คน แต่งกายแบบพม่า สวมเสื้อเอวลอยรัดรูป นุ่ง ซิ่น มีผ้าสไบคล้องคอ
เกล้าผมสูงปล่อยชายผม ลงด้านหนึ่ง ท่วงท่าฟ้อนรำามีทั้งช้าและเร็ว
ใช้ วงปี่พาทย์บรรเลงประกอบทำานองเพลง
ปัจจุบันการฟ้อนได้วิวัฒนาการไปสู่ภาคอื่นๆ โดยเฉพาะภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือตอนล่าง ได้มีการคิดท่าฟ้อนประกอบ
สัญลักษณ์ของการทำางาน หรือจัดเป็นชุดรำาในนิทานพื้นบ้าน เช่น
ฟ้อนเก็บขิด ฟ้อนมโนห์ราเล่นนำ้า ของวิทยาลัยนาฏศิลป์ จังหวัด
ร้อยเอ็ด ฟ้อนลื้อล่องน่านของจังหวัดน่าน เป็นต้น
ลักษณะของการแสดงพื้นเมือง ได้แก่
ลีลาการเคลื่อนไหว เป็นไปตามเอกลักษณ์ของแต่ละภาค
เครื่องแต่งกาย เป็นลักษณะพื้นเมืองของภาคนั้น ๆ
เครื่องดนตรี เป็นของท้องถิ่น ได้แก่ ปี่แน กลองตะโล้ดโป๊ด ฉาบ
ใหญ่ ฆ้องโหม่ง ฆ้องหุ่ย
เพลงบรรเลงและเพลงร้อง เป็นทำานองและสำาเนียงท้องถิ่น
เพลงพื้นเมืองภาคเหนือ เช่น เพลงซอ เพลงชาวเหนือ เพลงดวง
ดอกไม้
ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคเหนือ
เพลงซอ ทำานองซอละม้ายหญิง
น้อยมานพอ้ายจะมาเป็นกู่ พี่มานพ ที่จุมาเป็นกู่
อ้ายช่างมีความฮู้ ติดตั๋วท่องหา พี่มีความรู้บ้างไหม
จะมาเป็นผัวมันต้องมีปัญญา
ที่จะมาเป็นสามีต้องมี
ความรู้ปัญญา
ถ้าบ่หมีวิชาเอากั๋นตึงบ่ได้
ถ้าไม่มีวิชา แต่งงาน
กันไม่ได้
หากมานพจะมาเป็นผัว
หากมานพจะมาเป็น
สามี
ตั๋วจะต้องมีความฮู้เอาไว้ พี่ต้องมีความรู้เอาไว
หน้าต๋ากะหลวก ถ้าใจ่ก๋านบ่ได้
หน้าตาก็ฉลาด ถ้าใช้
ทำางานไม่ได้
แล้วไผจะเอาอ้ายมานอนโตย
แล้วใครจะเอาพี่มา
นอนด้วย
น้อยมานพจะมาเป็นกู่ พี่มานพจะมาเป็นคู่
ถ้าบ่หมีความฮู้ ข้าเจ้าตึงบ่เอา
เป็นผัว
ถ้าไม่มีความรู้น้องก็ไม่
เอา มาเป็นสามี
สมัยเดี๋ยวอี่บัวตองตึงกั๋ว
สมัยปัจจุบันนี้น้องบัว
ตองกลัว
บ่มีความฮู้ติดตั๋วเอากั๋นตึงบ่ได้
ไม่มีความรู้ติดตัว
แต่งงานกันไม่ได้
ป่อแม่ข้าเจ้าตึงบ่เปิงใจ๋ พ่อแม่ของน้องจึงไม่
พอใจ
กั๋วเอาของไปชุบบ่ตาย กั๋วอับ กั๋
วอาย
กลัวว่าจะเอากันไปใช้
เปล่าๆ
ไปแผวปี่ แผวน้อง จิ่มแหล่นอ กลัวจะอายไปถึงพี่น้อง
การละเล่นพื้นเมืองภาคอีสาน
ภูมิประเทศภาคอีสานเป็นที่ราบสูง ค่อนข้างแห้งแล้งเพราะพื้นดิน
ไม่เก็บนำ้า ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝนนำ้าจะท่วม แต่ชาวอีสานก็มีอาชีพ
ทำาไร่ทำานา และเป็นคนรักสนุก จีงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาส
การแสดงของภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจำาวัน หรือประจำา
ฤดูกาล เช่น แห่นางแมว เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบ รำาลาวกระทบ
ไม้ ฯลฯ
การละเล่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ภาคอีสานประกอบด้วย ๑๖ จังหวัด
นอกจากชาวไทยแล้ว ยังมีชาวพื้นเมืองที่มีเชื้อสายเขมร เชื้อสายภูไท หรือผู้ไทย ลาว กุย
แสก โซ่ง ฯลฯ การละเล่นพื้นเมืองจึงมีหลายประเภท เช่น แสกเต้นสาก ฟ้อนภูไท กันตรึม รำา
แคน หมอลำา รำาโทน
ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะของอีสาน คือ ลีลาและจังหวะใน
การก้าวเท้า มีลักษณะคล้ายเต้น แต่นุ่มนวล มักเดินด้วยปลายเท้าและ
สบัดเท้าไปข้างหลังสูง เป็นลักษณะของ เซิ้ง
ดนตรีพื้นเมืองอีสาน ได้แก่ กลองยาว กรับ ฉาบ โหม่ง แคน
โปงลาง
การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ได้แก่ ฟ้อนภูไท เซิ้งสวิง เซิ้งโปงลาง เซิ้งตังหวาย ภูไทสามเผ่า ไท
ภูเขา เซิ้งกระติบข้าว
กันตรึม เป็นการละเล่นพื้นเมืองของชาวไทย เชื้อสายเขมร ในเขต
อีสานใต้ ซึ่งเป็นชุมชน ที่ใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาถิ่น เช่น จังหวัด
สุรินทร์ บุรีรัมย์ และศรีสะเกษ ตามประวัติแต่โบราณ ใช้สำาหรับขับร้อง
ประกอบการร่ายรำาบวงสรวง รำาคู่ และรำาหมู่ ต่อมามีวิวัฒนาการของ
การเล่นคล้ายกับการเล่นเพลงปฏิพากย์ ในภาคกลาง มีกลองที่เรียก
ว่า "กลองกันตรึม" เป็นหลัก เมื่อตีเสียงจะออกเป็นเสียง กันตรึม โจ๊ะ
ตรึม ตรึม การเล่นจะเริ่มด้วยบทไหว้ครู เพื่อระลึกถึงคุณของ
พระพุทธเจ้า พระวิศวกรรม ครูบาอาจารย์ และเริ่มทักทายกัน เล่นได้
ทุกโอกาส ไม่กำาหนดว่าเป็นงานมงคล หรืออวมงคล วงดนตรีประกอบ
ด้วย กลอง ซอ ปี่อ้อ ขลุ่ย ฉิ่ง กรับ ฉาบ กล่าวกันว่า ท่วงทำานองของ
เพลงกันตรึมมีกว่า ๑๐๐ ทำานอง บทเพลงจะเกี่ยวกับเรื่องเบ็ดเตล็ด
ตั้งแต่เกี้ยวพาราสี โอ้โลม ชมธรรมชาติ แข่งขันปฏิภาณ สู่ขวัญ เล่า
เรื่อง ฯลฯ การแต่งกาย แต่งตามประเพณีของท้องถิ่น ผู้หญิงนุ่งซิ่น
เสื้อแขนกระบอก ผ้าสไบเฉียงห่มทับ ผู้ชายนุ่งโจงกระเบน เสื้อคอกลม
แขนสั้น ผ้าไหมคาดเอวและพาดไหล่
ครกมอง เป็นการละเล่นพื้นเมืองของชาวอีสาน ที่แสดงวิธีการตำาข้าวที่
มีมาแต่โบราณ เป็นการรำาหมู่ ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ไห โหวด
โปงลาง แคน ฉาบ พิณ จังหวะที่ใช้เป็นทำานองอีสาน เช่น ใช้ "ลาย
เพลงเกี้ยวสาว" หรือ "ลายสุดสะแนนออกลายน้อย"
เซิ้ง การละเล่นพื้นเมืองของชาวไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็นการร่ายรำาหมู่ ทั้งหมู่หญิงล้วน ชายล้วน และผสมทั้งหญิงชาย เซิ้ง
เป็นคู่ ตั้งแต่ ๓-๕ คู่ เครื่องดนตรีประกอบการเล่น ได้แก่ แกร๊ป โหม่ง
กลองแตะ และกลองยาว ลีลาของการเซิ้งต้องกระฉับกระเฉง
แคล่วคล่อง ว่องไว ทั้งนี้เพื่อมุ่งความสนุกสนานเพลิดเพลิน และผ่อน
คลายความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าจาก การตรากตรำาทำางาน
กระบวนการเล่นเซิ้งจะนำา สภาพการดำารงชีวิตมาดัดแปลง "เซิ้ง
สวิง" เป็นลีลาท่ารำา เช่น นำาลักษณะการจับปลา โดยใช้สวิงมา
ประดิษฐ์เป็นลีลาการเล่น นำาเอาอากัปกิริยาของหญิงสาวชาวบ้าน ที่
นำาอาหารใส่กระติบข้าวไปส่งสามีและญาติ ที่กลางไร่กลางนามา
ประดิษฐ์เป็น ลีลาท่า "เซิ้งกระติบข้าว" หรือนำาการออกไปตีรังมดบน
ต้นไม้ เพื่อนำามาประกอบอาหาร มาประดิษฐ์เป็น "เซิ้งแหย่ไข่มดแดง"
ปัจจุบันเซิ้งได้วิวัฒนาการตามยุคสมัย มีการคิดท่าเซิ้งใหม่ๆ ขึ้นอีก
มาก เรียกชื่อแตกต่างกัน ตามลักษณะของการเลียนแบบสภาพ
วัฒนธรรม ที่มีอยู่ในพื้นเมืองนั้นเป็นหลัก เช่น เซิ้งโปง เซิ้งกระหยัง
เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสุ่ม ฯลฯ และไม่ว่าจะคิดท่าเซิ้งใดๆ ขึ้น ลักษณะของเซิ้ง
ก็จะบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ไว้ในลีลาการเต้น ท่าเดิมไม่แตกต่างไปเลย
โปงลางเป็นเครื่องดนตรีของชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ วิวัฒนาการมาจาก
เกราะหรือขอลอ ตีเพื่อให้เกิดเสียงดัง โปง หมายถึง เสียงของโปง ลาง
หมายถึง สัญญาณบอกลางดี หรือลางแห่งความรื่นเริง โปงลาง จึง
หมายถึง เครื่องดนตรีที่ มีเสียงแห่งลางดี ทำาด้วยไม้เนื้อแข็ง เรียงร้อย
กัน ๑๒ ท่อน ใช้แขวนเวลาตี การบรรเลงใช้ คน ๒ คน ตีเข้าจังหวะ
เร็ว รุกเร้าด้วยความ สนุกสนาน มักจะเล่นเข้าวงกัน
ลำาเต้ย, ลำาเต้ยเกี้ยว
ลำาเต้ย หรือลำาเต้ยเกี้ยว เป็นการรำา (ร้อง) เต้ยเป็นท่ารำาเกี่ยวกับการ
เกี้ยวพาราสี ผู้รำาจะฟ้อนและออกลีลาประกอบการรำาตามจังหวะเพลง
เล่นกันอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดชัยภูมิ ดนตรีที่ใช้
ประกอบ ได้แก่ พิณ แคน โปงลาง โหวด กลอง เพลงที่ร้องเป็นเพลง
พื้นเมือง การรำามีทั้งรำาคู่และรำาหมู่
เดินไม้สูงการละเล่นของภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก
ว่า เดินขาโกกเกก มักใช้ไม้ไผ่เป็นไม้คำ้า มีง่ามสองอัน สำาหรับยืน
เหยียบ เพื่อใช้เดินต่างเท้า เวลาเดินมีเสียงดัง ก้าวจะยาว มักใช้แข่ง
เรื่องความเร็ว
รำาลาวกระทบไม้
การรำาลาวกระทบไม้ เป็นการละเล่นพื้นเมืองของหนุ่มสาวชาวไทย ใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งฝั่งซ้าย และฝั่งขวาของแม่นำ้าโขง โดยผู้
เล่นทุกคน ร่วมกันร้อง ร่วมกันรำา และจับกระบอกไม้ ให้กระทบกัน
ตามจังหวะ เป็นที่รื่นเริงบันเทิงใจ ทำานองเพลงร้อง ได้รับความนิยม
แพร่หลายเข้ามาในภาคกลาง ทำาให้เกิดบทร้องต่างๆ ขึ้น พร้อมทั้งได้
ปรับปรุงทำานอง และวิวัฒนาการตามสมัย แต่อาศัยสำาเนียงจังหวะเดิม
เป็นหลัก
ระบำาตรีลีลา
ระบำาตรีลีลา เป็นระบำาอีกชุดหนึ่งที่กรม ศิลปากรได้ปรับปรุงขึ้น โดย
จัดเพลงและท่าฟ้อน รำาของไทยทั้ง ๓ แบบ มาประสานให้ติดต่อเป็น
ชุดเดียวกัน คือ
ฟ้อนเทียน ใช้เครื่องดนตรีพื้นเมืองของท้องถิ่นพายัพ มีกลองยาวและ
ปี่
ฟ้อนแพน ใช้เครื่องดนตรีพื้นเมืองของท้องถิ่นพายัพ และภาคอีสาน
นิยมใช้กับเดี่ยวจะเข้ ฟ้อนเงี้ยว ดัดแปลงมาจากไทยใหญ่หรือเงี้ยว ที่
อยู่ชายเขตแดนไทย
กลองเส็ง, กลองสองหน้า
การละเล่นพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือบาง
จังหวัด ได้แก่ บุรีรัมย์ หนองคาย เลย และเพชรบูรณ์ บางแห่งเรียก
ว่า "แข่งกลอง" ซึ่งเป็นการแข่งขันตีกลองคู่ด้วยไม้ค้อนสองมือ กลอง
ลูกหนึ่งๆ จะหนักมาก ใช้คนหาม ๒ คน สนามแข่งขันส่วนใหญ่อยู่
ภายในวัด ตัดสินโดยฟังเสียงกังวานที่ดังก้องสลับกัน ประกอบกับท่าตี
ที่สวยงาม เจ้าของกลองมักจะเป็นวัดในแต่ละหมู่บ้านที่สร้างกลองชนิด
นี้ไว้ นิยมเล่นในเทศกาลเดือนหกจนถึงเข้าพรรษา
กระโดดสาก
การละเล่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ใช้สากไม้แก่น
ยาวประมาณ ๔-๖ ศอก ศูนย์กลาง ๓ นิ้ว ๒ คู่ วางไขว้กัน ผู้เล่นจับ
ปลายสากหัวท้ายข้างละอัน ตีให้กระทบกันตามจังหวะเพลง มีตะโพน
และปี่บรรเลง ประกอบจังหวะ หนุ่มสาวรำาเข้าจังหวะที่สากกระทบ และ
กระโดดข้ามกลับไปกลับมาตามลีลาเพลงและท่ารำา เป็นที่ครึกครื้น
สนุกสนาน มักเล่นในเทศกาลตรุษสารท
เพลงพื้นเมืองภาคอีสาน เช่น หมอลำา เพลงโคราช เจรียง กันตรึม
เพลงล่องโขง เพลงแอ่วแคน
ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคอีสาน
หมอลำาเพลิน
จังวางเปิดม่านกั้งแจ้งสว่างอยู่
ในตา
ตาส่องหาพี่ชายผู้เสื้อ
ลายบ่มา บ้อ
แฟนพี่ชาย อยู่เทิงฮ่าน
โอ้ โอย เด้ ชาย ฟังเด้
ออ้าย เด้ออ้าย
ผู้ชายงามบ้านเพิ่น
น่องมาคิดอยากได้โตเจ้า
ไว้กล่อมนอน
น่องผู้ฮ่าย ผู้ฮ่าย อ้ายสิบ่สนใจ เฮ็ดจั๋งได๋นอชาย
น่องคนจนพร้อม จนใจแล่ว ใจแล่ว
แนวมันพาทุกข์
หาความสุขกายใจอยู่ที่
ไฮ่นา
เชิญเถิดค้า เถิดค่ามาจากัน อย่าซิฟ่าวใจฮ่อน จ่มว่า
ก่อน รำำคำญ
ขันไปบ้ำน ไปบ้ำนขอนแก่น
ทำงอีสำน
ขอเชิญวงศ์วำนเยี่ยม
ยำมกันบ้ำง
จำทอนี่ ทอนี่ พอเป็นแบบอย่ำง
ฮู่แนงทำงตำำนำนครู ข้ำ
ได้สอนมำ
ว่ำจังได๋คนดี สนนำงบอน้ออ้ำย น้ออ้ำย น้ออ้ำย
กำรละเล่นพื้นเมืองภำคใต้
ภำคใต้ เป็นดินแดนที่ติดทะเลทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออก ทำง
ด้ำนใต้ติดกับมลำยู ทำำให้รับวัฒนธรรมของมลำยูมำบ้ำง และมี
ขนบประเพณีวัฒนธรรมและบุคคลิกบำงอย่ำงคล้ำยคลีงกัน คือ พูดเร็ว
อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจรวดเร็วเด็ดขำด กำรแต่งกำย เพลง และดนตรี
คล้ำยคลึงกันมำก
กำรละเล่นภำคใต้ ได้แก่ เพลงเรือ เพลงลำ เพลงคำำตัก คำำบอก แปดบท กำรสวดมำลัย เล่น
มหำชำติทรงเครื่อง หนังตะลุง โนรำชำตรี ลิเกป่ำ รองเง็ง
กำรแสดงพื้นเมืองภำคใต้ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ
๑. มหรสพ คือ กำรแสดงเป็นเรื่อง เช่น หนังตะลุง มีตัวหนัง มีคน
เชิด มีกำรร้องและเจรจำ นอกจำกนั้นมี ลิเกป่ำ หรือลิเกรำำมะนำ หรือ
ลิเกแขกแดง หรือลิเกแขกเทศ หรือลิเกบก ซึ่งผู้แสดงโต้ตอบกันเป็น
เรื่องรำว อีกกำรแสดงคือ โนรำ ถ้ำเล่นเป็นเรื่องก็ถือเป็นมหรสพ แต่
ถ้ำร่ำยรำำเป็นชุด ก็ถือเป็นกำรแสดงเบ็ดเตล็ด
๒. กำรแสดงเบ็ดเตล็ด คือ ร่ำยรำำเป็นชุด เช่น โนรำ ร็องเง็ง ซัม
เปง ตำรีกีปัส ระบำำร่อนแร่ กรีดยำง ปำเต๊ะ รำำซัดชำตรี
กำหลอ
กำหลอเป็นกำรละเล่นของภำคใต้ คือ กำรประโคมดนตรี สมัยโบรำณ
จะเล่นในงำนบวชนำค งำนขึ้นเบญจำฉลองพระ งำนสงกรำนต์ และ
งำนศพ ปัจจุบันใช้เล่นเฉพำะงำนศพเป็นส่วนใหญ่ วงกำหลอใช้เครื่อง
ดนตรี ๓ ชนิด คือ ปี่ห้อ หรือปี่กำหลอ กลองโทน ๒ ลูก (กลอง ๒
หน้ำ) และฆ้อง ๒ ใบ ปี่ทำำหน้ำที่ประดุจคนขับร้อง อธิบำยภำษำ และ
ควำมหมำยของเรื่อง ด้วยสัญลักษณ์ของเพลง ตั้งแต่เริ่มงำนจน สิ้นสุด
งำน งำนหนึ่งๆ จะใช้เพลงระหว่ำง ๗ เพลง ถึง ๒๒ เพลง ตัวอย่ำง
เพลงที่นำำมำใช้ เช่น เหยี่ยวเล่นลม ทอมท่อม ยั่วยวน สุริยน ทองศรี
พลำยแก้วพลำยทอง พระพำย นกเปล้ำ กำรจัดแสดงแต่ละครั้งจะ
เคร่งครัดใน พิธีกรรมไหว้ครูมำก
คำำบอก หรือเพลงบอก
คำำบอกเป็นกำรละเล่นของปักษ์ใต้ สมัยก่อนนิยมเล่นในเทศกำลตรุษ
สงกรำนต์ เป็นกำรป่ำวร้องให้ชำวบ้ำนทุกคนในละแวกได้ทรำบว่ำ ถึง
วันขึ้นปีใหม่แล้ว ปัจจุบันเล่นประชันกันในงำนบุญ งำนวัด งำนนักขัต
ฤกษ์ หรืองำนมงคลของชำวบ้ำนทั่วไป ตั้งเป็นคณะ เพลงบอกคณะ
หนึ่งประกอบด้วยแม่เพลงและลูกคู่ ๓-๔ คน คุณสมบัติของแม่เพลง
ต้องเฉียบแหลม เก่งใน ทำงกลอน
ชนวัวเป็นกีฬำพื้นเมืองของภำคใต้ แข่งเพื่อควำม สนุกสนำน จะทำำ
เป็นสนำมชนวัว โดยใช้ลำนดินกว้ำง ล้อมคอกไว้ เมื่อเจ้ำของปล่อยวัว
พ้นคอก วัวทั้งสองจะตรงรี่เข้ำปะทะ และใช้เขำเสยเกยเขำ ขำทั้งสี่ยืน
หยัดสู้อย่ำงไม่ยอมถอย ส่วนคนดูรำยล้อมกันแน่นขนัด วัวจะเป็นวัว
กระทิง รูปร่ำงบึกบึนกำำยำำ เขำ หัว ตัว และขำหน้ำ ต้องแข็งแรง เมื่อ
วิ่งเข้ำปะทะหัวชนหัว เสียง สนั่น ต่ำงไม่ยอมถอย ชนกันจนกว่ำฝ่ำย
ใด ฝ่ำยหนึ่งจะหมดแรง ปัจจุบันมักจะเล่นเป็น กำรพนัน
แปดบท เป็นกำรละเล่นของภำคใต้ เป็นชื่อฉันทลักษณ์ร้อยกรองของ
คำำกลอน สมัยก่อนนิยมเล่น เพื่อแสดงควำมสำมำรถโต้ตอบกันในเชิง
กลอน ระหว่ำงชำยและชำยด้วยกัน หรือชำยกับหญิง ประฝีปำก หรือ
ปฏิภำณโวหำร เพื่อควำมเป็นเลิศ นักเลงที่เล่นแปดบท จะโต้ตอบกัน
ทันที เมื่อได้พบปะกัน โดยไม่เลือกสถำนที่ ผู้ขับแปดบทที่ จะให้คติ
เตือนใจในงำนต่ำงๆ มักจะเขียนติดไว้ตำม ศำลำ ต้นไม้ บ่อนชนไก่
ฯลฯ เป็นเครื่อง เตือนสติได้
เพลงนำ เพลงพื้นเมืองภำคใต้ เพลงนำเป็นกำรเล่นกลอนโต้ตอบกัน
ระหว่ำงชำยหญิง มักเล่นในเวลำทำำนำ เช่นเดียวกับเพลงปฏิพำกย์ใน
ภำคกลำง และในเทศกำลงำนมงคลทั่วไป เป็นบทที่สื่อควำมรัก เกี้ยว
พำรำสี ต้นเสียงเรียกว่ำ "แม่เพลง" จะเป็นผู้ร้องนำำ ซึ่งต้องมีปฏิภำณ
ไหวพริบ และคำรมคมคำย กลุ่มเสริมเรียกว่ำ "ท้ำยไฟ" ทำำหน้ำที่
คล้ำยลูกคู่ ร้องไปพร้อมๆ กับแม่เพลง เพื่อให้ท่วงทำำนองน่ำฟังยิ่งขึ้น
แบบแผนกำรเล่น เริ่มด้วยบทบูชำสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เรียกว่ำ เกริ่นหน้ำบท
แล้วเข้ำเรื่อง คือ ชมโฉม ขอผูกรัก เป็นต้น
เพลงเรือเพลงพื้นเมืองภำคใต้ ทำำนองเป็นกลอน เพลงสำำหรับให้
จังหวะในกำรพำยเรือ นิยมเล่นกันในฤดูนำ้ำหลำกอย่ำงเรือภำคกลำง
เช่น ใน พิธีชักพระ ปัจจุบันห่ำงหำย และหำดูได้ยำก
มหำชำติทรงเครื่อง เป็นกำรละเล่นของภำคใต้ ลักษณะกำรแสดง
คล้ำยลิเกพื้นเมือง เล่นสลับกับกำรสวดเทศน์มหำชำติ เมื่อจบแต่ละ
กัณฑ์ เหมือนกำรเล่นแหล่เครื่องเล่นมหำชำติ ในภำคกลำง เป็นกำร
เปลี่ยนบรรยำกำศผู้ฟัง ให้มีควำมบันเทิงครึกครื้น ควบคู่กับกำรฟัง
เทศน์มหำชำติ กำรเล่นจะด้นกลอนสด กำรดำำเนินเรื่องจะแทรกบท
ตลก
รองเง็ง
รองเง็งเป็นกำรละเล่นพื้นเมืองของชำวไทย มุสลิมใน ๔ จังหวัดภำค
ใต้ คือ ยะลำ ปัตตำนี นรำธิวำส และสตูล เป็นกำรละเล่นที่วิวัฒนำกำร
มำจำกกำรเล่นมะโย่ง รองเง็งจะเป็นกำรเต้นเข้ำ จังหวะ ที่มีกลองเป็น
เครื่องให้จังหวะที่รุกเร้ำ รวดเร็ว และสนุกสนำน
ลิเกป่ำ
ลิเกป่ำเป็นกำรละเล่นพื้นเมืองภำคใต้ ที่หำดูได้ยำกแล้ว มีลักษณะกำร
แสดงคล้ำยกับโนรำ แต่บทร้องคล้ำยลำำตัด มีกำรออกแขกเป็นแขก
ขำว และแขกแดง ออกมำเต้นและร้อง แล้วจึงเริ่มแสดง เรื่องที่แสดงจะ
นำำมำจำกวรรณกรรมเรื่องเก่ำ หรือนิทำนพื้นเมือง ไม่กำำหนดกำร แต่ง
กำยอย่ำงเช่นโนรำ เน้นเฉพำะพระเอกเท่ำนั้น ที่จะต้องแต่งกำยอย่ำง
สวยงำม เนื่องจำกเป็น กำรเล่นที่มิได้เป็นแบบแผนนัก จึงหมดควำม
นิยมในเวลำต่อมำ
ดนตรีของภำคใต้ ได้แก่ กลองแขก รำำมะนำ ปี่ ทับ โหม่ง ฉิ่ง
ซอ
เพลงพื้นเมืองภำคใต้ เช่น เพลงร้องเรือ(เพลงกล่อมเด็ก) เพลงบอก
เพลงกำำพรัด(หรือคำำพลัด)
ตัวอย่ำงเพลงพื้นเมืองภำคใต้
เพลงบอก
เพลงบอก เป็นเพลงพื้นบ้ำนที่ได้รับควำมนิยมสูงสุด และมีกำรแพร่
กระจำยทั่วทั้ง 14 จังหวัดภำคใต้ ตลอดไปถึงคนไทยในประเทศ
มำเลเซีย ศิลปินที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมรำช
และจังหวัดสงขลำ
คำำว่ำเพลงบอก มำจำกภำระหน้ำที่ของเพลงชนิดนี้ กล่ำวคือ สมัยก่อน
เมื่อถึงเทศกำลสงกรำนต์จะมีนักเลงกลอนชำวบ้ำน เที่ยวตระเวนไป
แทบทุกครัวเรือน เพื่อขับร้องกลอนบอกสงกรำนต์ตำมคำำทำำนำยของ
โหรหลวง เพลงชนิดนี้จึงได้ชื่อว่ำ "เพลงบอก"
กลอนเพลงบอกพัฒนำมำจำก "แปดบท" ขุนประดิษฐ์เป็นผู้คิด
ดัดแปลง จึงเรียกกันในครั้งนั้นว่ำ "เพลงบอกขุนประดิษฐ์" ต่อมำพระ
รัตนธัชมุนี (ม่วง รัตนธัชเถร) ได้ปรับรูปแบบกลอนอีกครั้งหนึ่ง และได้
ใช้แต่งเรื่อง "ศำลำโกหกหรือสัจจศำลำ" มอบให้ลูกเสือมณฑล
นครศรีธรรมรำชนำำไปร้องในครำวชุมนุมลูกเสือแห่งชำติที่กรุงเทพฯ
เมื่อ พ.ศ. 2470
ผู้แสดง ใช้ทั้งผู้ชำยและผู้หญิงอย่ำงน้อย 6-7 คนหรือมำกกว่ำนี้
ก็ได้ ประกอบด้วยแม่เพลงและลูกคู่
กำรแต่งกำย แต่งกำยแบบพื้นเมืองชำวภำคใต้ตำมลักษณะชำว
บ้ำนที่มีควำมเป็นอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆ
กำรแสดง จะแตกต่ำงกันไปตำมโอกำส ซึ่งถือว่ำมีขนบนิยมใน
กำรเล่น ดังนี้
1. เล่นบอกสงกรำนต์ เล่นได้ในช่วงตั้งแต่ขึ้น 3 คำ่ำ เดือน 5 จนถึงวัน
เถลิงศก โดยคณะเพลงบอกและผู้นำำทำงซึ่งเป็นคนในหมู่บ้ำน ออกว่ำ
เพลงบอกไปตำมบ้ำนต่ำงๆ ตั้งแต่พลบคำ่ำจนสว่ำง
วิธีเล่นเพลง เมื่อคณะเพลงบอกถึงเขตรั้วบ้ำน แม่เพลงจะขึ้นบทไหว้ครู
ไหว้นนทรี ซึ่งเป็นเทวดำรักษำประตูบ้ำน ไหว้พระภูมิและสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ทั้งหลำย เมื่อก้ำวเข้ำสู่ลำนบ้ำนจะชมบ้ำนเรือน ทรัพย์สินต่ำงๆ ฝ่ำย
เจ้ำบ้ำนจะเปิดประตูปูเสื่อต้อนรับนอกตัวเรือน หลังจำกคณะเพลงบอก
สนทนำกับเจ้ำบ้ำนชั่วครู่ ก็ร้องกลอนบอกเรื่องรำวของสงกรำนต์ที่โหร
ทำำนำยให้ทรำบ เจ้ำบ้ำนอำจให้คณะเพลงบอกร้องกลอนเล่ำตำำนำน
สงกรำนต์ หรืออำจยกถำดข้ำวขวัญจำกยุ้งข้ำวมำให้คณะเพลงบอก
ร้องบูชำแม่โพสพ เมื่อเจ้ำบ้ำนพอใจก็จะตกรำงวัลให้ตำมธรรมเนียม
คณะเพลงบอกจะร้องเพลงอวยพร แล้วไปร้องบอกสงกรำนต์บ้ำนอื่นๆ
ต่อไป
2. เล่นบอกข่ำวครำวและโฆษณำ เช่น งำนบุญต่ำงๆ เพลงบอกจะร้อง
เชิญชวนทำำบุญ โดยจุดที่เพลงบอกอยู่จะมีกำรรับบริจำค เมื่อถึงช่วง
เลือกตั้ง ทำงรำชกำรอำจจะหำเพลงบอกมำร้องกลอนเชิญชวนชำว
บ้ำน ให้ไปใช้สิทธิ์ลงคะแนนเลือกตั้ง ชี้แนะให้เลือกบุคคลที่มี
คุณสมบัติเหมำะสม เป็นต้น
ทำงด้ำนกำรโฆษณำเพื่อผลทำงธุรกิจ ได้มีบริษัทห้ำงร้ำนหลำยแห่ง
ใช้เพลงบอกโฆษณำสินค้ำทำงวิทยุ และในงำนสวนสนุก
3. เล่นประชัน คือ จัดเพลงบอก 2 คณะ ให้ร้องโต้กลอนสด กำรเล่น
จะจัดให้เพลงบอกคู่ประชันนั่งห่ำงกันประมำณ 1 วำ โดยมีประธำนนั่ง
กลำง แต่ละฝ่ำยจะมีแม่เพลง 1 คน และลูกคู่ 2-3 คน ไม่มีกรรมกำร
เริ่มโต้โดยผลัดกันไหว้ครู จำกนั้นฝ่ำยหนึ่งร้องนำำเป็นทำำนองข่ม
สำำทับฝ่ำยตรงกันข้ำม เช่น เรื่องบุคคลิกลักษณะ ประวัติชีวิต ควำมรู้
ควำมสำมำรถ กำรกล่ำวข่มสำำทับจะใช้วิธีอุปมำหรือไม่ก็ยกอุทำหรณ์
ประกอบ ซึ่งทั้งสองฝ่ำยจะต้องรู้ทันกัน กำรโต้จะดำำเนินไปจนอีกฝ่ำย
เริ่มจนปัญญำจะยอมแพ้ หรือยุติกันไปเอง หรือไม่ก็ฟังเอำจำกเสียงโห่
ของคนฟัง ถ้ำฝ่ำยใดคนฟังให้เสียงโห่จนสิ้นเสียง ฝ่ำยนั้นชนะ
4. ร้องชำ เป็นกำรร้องเพลงบอกเพื่อกำรบวงสรวง บูชำ หรือยกย่อง
ชมเชย เช่น ชำขวัญข้ำว ชำพระบรมธำตุ ชำปูชนียบุคคลและบุคคล
สำำคัญ
กำรร้องเพลงชำสิ่งเร้นลับเพื่อกำรบวงสรวง เช่น ชำขวัญข้ำว จะต้อง
จัดเครื่องเซ่นบวงสรวงด้วย ลำำดับขั้นตอนกำรในกำรร้องชำต้องถูก
ต้องตำมธรรมเนียมที่เคยปฏิบัติกันมำ
ดนตรี ใช้ฉิ่ง 1 คู่ สำำหรับตีให้จังหวะ
เพลงร้อง จะใช้เพลงร้องเป็นกลอนเพลงบอกบทหนึ่งมี 2 บำท
แต่ละบำทมี 4 วรรค คำำสุดท้ำยของบำทแรก ส่งสัมผัสไปยังคำำสุดท้ำย
ของบำทแรกของบทต่อไป
ตัวอย่ำงตอนหนึ่งจำกกำรประชันเพลงบอก ระหว่ำงเพลงบอกรุ่ง
อำำเภอปำกพนัง กับเพลงบอกปำน
อำำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมรำช
(รุ่ง) ปำนนี้เปรียบเหมือนกับชูชก
มันแสนสกปรกเหลือ
ประมำณ
อ้ำยเรื่องหัวไม้ขอทำน แล้วใครจะปำนกับมัน
เปิดคนที่ขี้ขอ ยิ่งคนเขำยอว่ำสำำคัญ
แล้วตัวมันยิ่งกินยอ เห็นว่ำคนพอใจ
พัทลุงหรือสงขลำ ตลอดมำถึงนคร
ถ้ำปล่อยให้ปำนขอก่อน แล้วคนอื่นไม่พักไขว่
(ปำน) จริงแหละรุ่งปำนเหมือนชูชก
แต่ปำนจะยกรุ่งเป็นพระ
เวสสันดร
ครั้งชูชกเข้ำไปวอน แล้วรุ่งให้ไม่เหลือไหร่
ถึงลูกเมียยังไม่แน่ ครั่งพอปำนแวะเข้ำไป
บำงทีสิ่งไรที่รัก ใคร่ก็รุ่งต้องให้มำ
(รุ่ง) เรำไม่เป็นพระเวสสันดร
เพรำะจะเดือนร้อนใน
ที่สุด
เรำจะเป็นนำยเจตบุตร ที่มันเลิศเป็นนักหนำ
ได้รับคำำสั่งท้ำวเจตรำษฏร์ เหมือนหมำยมำดที่เป็น
มำ
คอยรักษำอยู่ประตูป่ำ ถ้ำมึงมำเวลำใด
เรำจะคอยยิงด้วยธนูหน้ำไม้ ให้ชูชกมันวำยชีวิต
น้ำรุ่งยกกลอนขึ้นประดิษฐ์ เห็นว่ำไม่ผิดไหร่
(ปำน) จริงแหละรุ่งตนเป็นเจตบุตร
เป็นคนประเสริฐสุดงำม
วิไล
ถ้ำเมื่อชูชกเข้ำไป ต้องม้วยซึ่งชีวำ
แต่คนอื่นอื่นเขำเลี้ยงวัว บำงคนก็เลี้ยงควำย
แต่เจตบุตรรุ่งนำย ทำำไมถึงเลี้ยงหมำ
กำรละเล่นพื้นเมืองภำคกลำง
ภำคกลำงมีภูมิประเทศเป็นที่รำบลุ่ม มีแม่นำ้ำหลำยสำย เหมำะแก่
กำรกสิกรรม ทำำนำ ทำำสวน ประชำชนอยู่อย่ำงอุดมสมบูรณ์ จึงมีกำร
เล่นรื่นเริงในโอกำสต่ำง ๆ มำกมำย ทั้งตำมฤดูกำล ตำมเทศกำล และ
ตำมโอกำสที่มีงำนรื่นเริง
ภำคกลำงเป็นที่รวมของศิลปวัฒนธรรม กำรแสดงจึงมีกำรถ่ำยทอดสืบ
ต่อกัน และพัฒนำดัดแปลงขึ้นเรื่อยๆ จนบำงอย่ำงกลำยเป็นกำรแสดง
นำฏศิลป์แบบฉบับไปก็มี เช่น รำำวง และเนื่องจำกเป็นที่รวมของศิลปะ
นี้เอง ทำำให้คนภำคกลำงรับกำรแสดงของท้องถิ่นใกล้เคียงเข้ำไว้หมด
แล้วปรุงแต่งตำมเอกลักษณ์ของภำคกลำง คือกำรร่ำยรำำที่ใช้มือ แขน
และลำำตัว เช่นกำรจีบมือ ม้วนมือ ตั้งวง กำรอ่อนเอียง และยักตัว
กำรละเล่นภำคกลำงและภำคตะวันออก ได้แก่ กำรเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับกำรทำำนำ กำรเล่น ใน
เทศกำลงำนบุญ ตรุษ สงกรำนต์ และกำรเล่นในฤดูนำ้ำหลำก มักเรียกกำรละเล่นพื้นเมือง
ประเภทนี้ว่ำ เป็น "กำรเล่นเพลง" กำรเล่นเพลง ที่เกี่ยวเนื่องกับกำรทำำนำก็จะเป็นกำรเล่นตำม
ขั้นตอนกำรเก็บเกี่ยวได้แก่ เพลงเกี่ยวข้ำว เพลงนำ เพลงสงฟำงหรือพำนฟำง เพลงสงคอ
ลำำพวน เพลงเต้นกำำรำำเคียว เพลงรำำเคียว เพลงชักกระดำน เพลงพำดควำย เมื่อหมดฤดู ทำำ
นาก็มักจะเล่นเพลงปฏิพากย์ ได้แก่ เพลงฉ่อย เพลงเรือ เพลงปรบไก่ เพลงชาวไร่ หรือระบำา
ชาวไร่ เพลงพวงมาลัย เพลงอีแซว เพลงลำาตัด เพลงเหย่อย เพลงยั่ว เพลงหน้าใย เพลงจาก
เพลงทรงเครื่อง เพลงเทพทอง เพลงไก่ป่า
ยังมีเพลงเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ที่ไม่ระบุว่าเล่นเวลาใด ได้แก่ เพลงพิษฐาน เพลงคล้องช้าง เพลงร่อย
พรรษา เพลงขอทาน เพลงโม่งเจ้ากรรม ซึ่งแตกออกเป็นเพลงย่อยอีกหลายเพลงคือ เพลงรำา
เพลงนกยูง เพลงนกแก้ว เพลงนก อีแซว เพลงจ่อนโบด เพลงแม่นางเอ๋ย เพลงอึ่งใส่เกลือ
เพลงมะม่วงวัดเขา เพลงที่กล่าวมานี้ ปัจจุบันจะล้าสมัยและสูญหายไปแล้วเป็นส่วนใหญ่
การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง ได้แก่ รำาวง รำาเหย่ย เต้นกำารำาเคียว เพลงเกี่ยวข้าว รำา
ชาวนา เพลงเรือ เถิดเทิง เพลงฉ่อย รำาต้นวรเชษฐ์ เพลงพวงมาลัย
เพลงอีแซว เพลงปรบไก่ รำาแม่ศรี
กระบี่กระบอง
เป็นการละเล่นที่นำาเอาอาวุธที่ใช้ในการต่อสู้ของนักรบไทยสมัยโบราณมาใช้ มีมาตั้งแต่สมัย
อยุธยา จากประวัติศาสตร์ชาติไทยนั้น ชาวบ้านต้องเผชิญกับภัยสงครามอย่างโชกโชนถึงกับ
เสียบ้านเมือง ซึ่งอาวุธที่ใช้ในการต่อสู้ประหัตประหารกัน ได้แก่ ดาบ หอก ทวน แหลน หลาว
และเครื่องป้องกัน ๒ อย่าง คือ กระบี่ กระบอง ในยามสงบทหารจะฝึกซ้อมเพื่อเตรียมรับข้าศึก
ในยามสงคราม ปัจจุบัน กระบี่กระบองไม่ได้เป็นอาวุธที่ใช้ในการต่อสู้แล้ว แต่ยังฝึกซ้อมไว้
สำาหรับแสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติด้านศิลปะป้องกันตัว นิยมฝึกหัดและเล่นกันในสถานศึกษา
ชมรม และค่ายป้องกันตัว เพื่อแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตตามประวัติศาสตร์ชาติไทย การเล่นจะมี
เครื่องดนตรีประกอบจังหวะได้แก่ กลองแขก ฉิ่ง ฉาบ เพื่อให้เกิดความเร้าใจและความฮึกเหิม
ในบทบาทของการต่อสู้
ระบำา
การฟ้อนรำาของไทยมีวิวัฒนาการมาจากท่าทางที่แสดงออก ด้วยความรื่นเริงบันเทิงใจ และได้
ปรับปรุงจัดระเบียบท่าทางการเต้นให้งดงามประณีตยิ่งขึ้น เพื่อให้การเล่น และการดู เป็นไป
ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน การเคลื่อนไหวอิริยาบถต่างๆ เช่น มือ แขน ขา ใบหน้า ลำา
ตัว ต้องให้อยู่ในท่าอ่อนช้อยงดงาม เรียกว่า "รำา" มีทั้ง รำาเดี่ยว รำาคู่ และรำาหมู่ เฉพาะการรำา
หมู่เรียกว่า "ระบำา"
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายคำา "ระบำา" ว่า การฟ้อนรำาเป็นชุดเดียวกัน
หรืออีกนัยหนึ่ง ระบำา คือ การฟ้อนรำาที่มุ่งหมาย เพื่อความงดงามของศิลปะการรำา และความ
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง

More Related Content

What's hot

บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
niralai
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครู
niralai
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
ดวงฤทัย ช่วงชัย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
niralai
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติTongsamut vorasan
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
เพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้านเพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้าน
SAM RANGSAM
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
พจีกานต์ หว่านพืช
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 
โขน
โขนโขน
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
Surapong Klamboot
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 

What's hot (20)

บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครู
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติ
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
เพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้านเพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้าน
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 

Similar to การละเล่นพื้นเมือง

เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองเครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
leemeanshun minzstar
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
leemeanxun
 
Act11
Act11Act11

Similar to การละเล่นพื้นเมือง (7)

เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองเครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
Act11
Act11Act11
Act11
 

More from leemeanxun

Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
leemeanxun
 
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
leemeanxun
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
leemeanxun
 
สำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธสำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธ
leemeanxun
 
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทยกรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
leemeanxun
 
หอเกียรติยศ
หอเกียรติยศหอเกียรติยศ
หอเกียรติยศ
leemeanxun
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
leemeanxun
 
Thai music14
Thai music14Thai music14
Thai music14
leemeanxun
 
Thai music13
Thai music13Thai music13
Thai music13
leemeanxun
 

More from leemeanxun (20)

Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
 
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
 
สำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธสำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธ
 
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทยกรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
 
หอเกียรติยศ
หอเกียรติยศหอเกียรติยศ
หอเกียรติยศ
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
Thai music14
Thai music14Thai music14
Thai music14
 
Thai music13
Thai music13Thai music13
Thai music13
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

การละเล่นพื้นเมือง

  • 1. การละเล่นพื้นเมือง บทนำา การละเล่นพื้นเมืองเป็นการละเล่นประจำาท้องถิ่น มีทั้งของเด็ก และของผู้ใหญ่ ในทุกภาคของ ประเทศไทย ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาค อีสาน ล้วนมีการละเล่นที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองทั้งสิ้น ความแตกต่างของการละเล่นแต่ละภาค ปรากฏจากท่าทางการร่ายรำา คำาร้อง ดนตรี และการแต่งกาย การละเล่นเกิดขึ้นพร้อมกับสังคมเกษตรกรรม อันเป็นอาชีพดั้งเดิมของชาวไทย ชาวบ้านมีความรัก ใคร่กลมเกลียวเอื้อเฟื้อเกื้อกูลร่วมช่วยเหลือกันในการทำางาน เช่น ช่วยกันดำานา เกี่ยวข้าว หรือนวด ข้าว และจะผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อย ด้วยการสอดแทรกความสนุกสนานระหว่างทำางาน ด้วยการ ร้องรำาทำาเพลงโต้ตอบประคารมกัน เมื่อถึงเวลาตรุษสงกรานต์ ชาวบ้านออกมาทำาบุญที่วัด มีการ ชุมนุมที่เป็นหมู่คณะ จะมีการละเล่นต่างๆ เกิดขึ้น เช่น เล่นช่วง เล่นตีคลี เล่นแม่ศรี ลิงลม เล่นกลอง ยาว รำากระทบไม้ และฟันดาบ เป็นต้น ประเพณีเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทยผูกพันกับการทำาบุญ เมื่อมีเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น ในครอบครัว ทั้งการเกิด การตาย การบวช การขึ้นบ้านใหม่ หรืองานพิธีทางศาสนาตามเทศกาล ชาวไทยมักนิยม ให้มีการละเล่นเป็นการฉลอง และเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ความครึกครื้น ทั้งการประโคมดนตรี ปี่ พาทย์ การแสดงมหรสพ สร้างความสามัคคีภายในหมู่บ้าน หรือบ้านใกล้เรือนเคียง ทำาให้มีความรัก ใคร่กัน มีความเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกันอย่างเหนียวแน่น การละเล่นพื้นเมืองของไทยจึงมีความหลากหลาย มากมาย การละเล่นหลายอย่างได้สูญหายไปบ้างตามสิ่งแวดล้อมและกาลเวลา บางอย่างได้ปรับแต่ง ให้มีวิธีการเล่นที่เข้ากับความเจริญในเทคโนโลยีสมัยปัจจุบันด้วย
  • 2. การละเล่นพื้นเมือง การละเล่น หมายถึง การเล่นดนตรี การเล่นเพลง การเล่นรำา การ เล่นที่ต้องร่วมกันตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป เรียกว่า มหรสพหรือศิลปะการ แสดงพื้นเมือง หมายถึง สิ่งที่อยู่ในท้องถิ่นนั้น การละเล่นพื้นเมือง คือ การละเล่นที่แสดงเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ทั้งภาคกลาง ภาค เหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ตามลักษณะพื้นที่ ของประเทศ เป็นกิจกรรมบันเทิง ที่ประกอบด้วยการแสดง มหรสพ กีฬา และนันทนาการ การละเล่นพื้นเมือง คือ การละเล่นที่แสดงเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ที่มี อยู่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย เป็นกิจกรรมบันเทิงที่แฝงไว้ด้วย สัญลักษณ์ อันเนื่องด้วยวัฒนธรรม และประเพณี สะท้อนวิถีชีวิต และ ความเชื่อของสังคม ที่สืบทอดมาแต่โบราณ การละเล่นพื้นเมือง หมายถึง การแสดงใด ๆ อันเป็นประเพณีนิยมใน ท้องถิ่นและเล่นกันใน ระหว่างประชาชน เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง ตามฤดูกาล การแสดงต้องเป็นไปอย่างมีวัฒนธรรม มีความเรียบร้อย ใช้ถ้อยคำาสุภาพ แต่งกายสุภาพถูกต้องตามความนิยมและวัฒนธรรม เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น สถานที่ก็ต้องจัดให้เหมาะสมกับโอกาสที่จะ แสดง ซึ่งการละเล่นพื้นเมือง จะไม่เป็นอาชีพหรือเพื่อหารายได้ จะมี ดนตรีหรือการขับร้อง หรือการฟ้อนรำาประกอบก็ได้ ประวัติศาสตร์ไทยได้บันทึกไว้ว่า คนไทยมีการละเล่นมาตั้งแต่สมัย สุโขทัย จากความในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ จารึกพ่อขุน รามคำาแหงมหาราช กล่าวว่า "...ใครใคร่จักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน..." และในสมัยอยุธยา ก็ได้กล่าวถึงการ แสดงเรื่องมโนห์ราไว้ในบทละครครั้งกรุงเก่า ซึ่งกล่าวถึงการละเล่นใน บทละครนั้น ได้แก่ ลิงชิงหลัก และปลาลงอวน ประเพณีและวัฒนธรรมไทยสมัยก่อน มักสอดแทรกความสนุกสนาน
  • 3. บันเทิง ควบคู่ไปกับการทำางาน ทั้งในชีวิตประจำาวัน ในเทศกาลงาน บุญ และตามระยะเวลาแห่งฤดูกาล เรียกกิจกรรมบันเทิงว่า เป็นการละ เล่น ครอบคลุมการเล่นลักษณะต่างๆ ทุกโอกาส ไว้ในความหมาย เดียวกันว่าคือ การแสดง การมหรสพ กีฬา และนันทนาการ การแสดง คือ การละเล่น ทั้งที่เป็นแบบแผน และเป็นการแสดงทั่วไปของชาวบ้านในรูปของ การร้อง การขับ การบรรเลง การฟ้อนรำา ประกอบด้วยเพลง ดนตรี และนาฏศิลป์ การแสดง หมายถึง การละเล่นที่รวมทั้งที่เป็นแบบแผน และการแสดงทั่วไปของชาวบ้าน ใน รูปแบบของการร้อง การขับ การบรรเลง การฟ้อนรำา ซึ่งประกอบด้วยดนตรี เพลง และ นาฏศิลป์ มหรสพ คือ การแสดงที่จะต้องขออนุญาตจากฝ่ายบ้านเมืองก่อนจัดแสดง ซึ่งกำาหนดเป็นพระ ราชบัญญัติไว้หลายอย่างคือ ละครไทย ละครชาตรี ละครแขก งิ้ว หุ่นไทย หุ่นจีน หุ่นต่างๆ หนังไทย หนังตะลุง หนังแขก หนังจีน หนังต่างๆ เพลงสักวา เสภา ลิเก กลองยาว ลาวแพน มอญรำา ทวายรำา พิณพาทย์ มโหรี กลองแขก คฤหัสถ์สวดศพ และจำาอวด มหรสพ หมายถึง การแสดงที่ฝ่ายบ้านเมืองจะเรียกเก็บค่าแสดงเป็นเงินภาษีบำารุงแผ่นดิน ตามพระราชบัญญัติที่กำาหนดไว้ ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๐๔ เป็นต้นมา ประกาศมหรสพ ว่าด้วย การละเล่นหลายประเภท ดังนี้ ละครไทย ละครชาตรี ละครแขก งิ้ว หุ่นไทย หุ่นจีน หุ่นต่างๆ หนังไทย หนังตะลุง หนังแขก หนังจีน หนังต่างๆ เพลง สักวา เสภา ลิเก กลองยาว ลาวแพน มอญและทวายรำา พิณพาทย์ มโหรี กลองแขก คฤหัสถ์สวดศพ และจำาอวด ส่วนกีฬาและนันทนาการ คือ การละเล่นเพื่อความสนุกสนาน เล่นตามฤดูกาล อาจเป็นการ แข่งขัน หรือกิจกรรม ที่ทำาตามความสมัครใจ การละเล่นสามารถจำาแนกออกได้ ๓ ลักษณะคือ การเล่นเพลงและระบำารำาฟ้อน ๑ การเล่นเข้าผี ๑ กีฬาและนันทนาการ ๑ คือ กีฬาและนันทนาการ คือ การเล่น เพื่อความสนุกสนานตามเทศกาล และเล่นตามฤดูกาล และ การละเล่น เพื่อการแข่งขัน หรือกิจกรรมที่ทำาตามความสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้เกิดความ สนุกสนาน เพลิดเพลิน และผ่อนคลายความตึงเครียด การละเล่นมีทั้งของเด็ก และของผู้ใหญ่ การละเล่นของเด็กจะเริ่มตั้งแต่เป็นทารกแบเบาะ จน กระทั่งเจริญวัย มีการเล่นง่ายๆ อยู่ภายในบ้าน การเล่นสนุกนอกบ้าน และการเล่น ที่นำา อุปกรณ์การเล่นมาจากวัสดุธรรมชาติเป็นการเล่นที่มุ่ง เพื่อการพัฒนาร่างกาย สมอง และ จิตใจตามวัย
  • 4. ส่วนการละเล่นของผู้ใหญ่ มีความซับซ้อนในวิธีการเล่นตามประเภทของการแสดง มีทั้งมุ่ง แสดงเพื่อบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์อันเป็นพิธีกรรม การเฉลิมฉลอง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระมหา กษัตริย์ การสมโภชในงานของพระศาสนา และการสังสรรค์สนุกสนานบันเทิงของชาวบ้าน เพื่อความรื่นเริงในการชุมนุมกันเป็นหมู่คณะ เมื่อร่วมกันทำางาน โดยเฉพาะการทำานา และเล่น เพื่อความครึกครื้นตามประเพณีเทศกาลตรุษสารท และยามว่างในฤดูกาล การละเล่นพื้นเมืองเป็นวัฒนธรรมประจำา ชาติ ทุกภาคของประเทศจะมีการละเล่นที่เป็น เอกลักษณ์เฉพาะภาคหลายอย่างต่างๆ กัน นับ ตั้งแต่ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก- เฉียงเหนือหรือภาคอีสาน ภาคตะวันออก และ ภาคใต้ การละเล่นเกือบทุกชนิดมักจะมีอุปกรณ์ ที่เกื้อกูลกัน ๓ อย่าง คือ ดนตรี เพลง และการฟ้อนรำา ซึ่งล้วนแต่มีพื้นฐานมาจาก การละเล่น พื้นบ้าน ผสมผสานกับอิทธิพล ของหลวงหรือส่วนกลาง การละเล่นหลายอย่าง เล่นแพร่หลาย กันอยู่ทั่วทุกภาค อาจผิดแปลกกัน ไปบ้างในส่วนปลีกย่อยของลีลาการร่ายรำา สำาเนียง ของ บทร้อง ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมเป็นเครื่องบังคับ การแสดงอาจไม่เหมือนกันทีเดียว แต่ในโครง สร้างหลักอันเป็นองค์ประกอบของการละเล่น จะ แสดงลักษณะของความเป็นพื้นบ้านพื้นเมือง และ มีวิวัฒนาการต่อเนื่องกันตามยุคสมัย สามารถ จำาแนกลักษณะของการละเล่นพื้นเมืองได้ เป็น ประเภท ดังนี้ การละเล่นพื้นเมือง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ การแสดงพื้นเมือง และ เพลงพื้นเมือง การแสดงพื้นเมือง หมายถึง การละเล่นที่มีการแสดง การร่ายรำา มี เพลงดนตรีประกอบ ที่ได้วางเป็นแบบแผน และนิยมเล่นหรือถ่ายทอด สืบต่อกันมาจนแพร่หลาย การแสดงพื้นเมือง อาจเกิดจากการบูชาบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น ขอ ให้สิ่งที่ตนนับถือประทานสิ่งที่ตนปรารถนา หรือขจัดปัดเป่าสิ่งที่ไม่ ปรารถนา นอกจากนี้ ก็เป็นการแสดงเพื่อความบันเทิงรื่นเริง เพลงพื้นเมือง หมายถึง เพลงที่ชาวบ้านในท้องถิ่นนั้น ๆ ประดิษฐ์ แบบแผนการร้องเพลง ไปตามความนิยม และสำาเนียงภาษาพูดในท้อง ถิ่นของตน นิยมร้องเล่นกันในเทศกาลหรืองานที่มีการชุมนุมรื่นเริง เช่น ตรุษ สงกรานต์ ขึ้นปีใหม่ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า และในการ ลงแขกเกี่ยวข้าว นวดข้าว เป็นการเล่นที่สืบต่อกันมา
  • 5. เนื้อความของเพลงพื้นเมืองที่นิยมร้องกัน มักจะเป็นการเกี้ยว พาราสีระหว่างชายหญิง ปะทะคารมกัน ในด้านสำานวนโวหาร สิ่ง สำาคัญของการร้องคือ การด้นกลอนสด ร้องแก้กันด้วยปฏิภาณไหว พริบ ทำาให้เกิดความสนุกสนานทั้งสองฝ่าย การเล่นเพลงและการระบำารำาฟ้อน กิดขึ้นพร้อมกับสังคมเกษตรกรรม เนื่องจากเกษตรกรรม เป็นอาชีพดั้งเดิมของชาวไทย สังคมไทยภาคกลาง มักจะช่วยเหลือเกื้อกูล ในการทำางานด้วย กัน เช่น การดำานา การเกี่ยวข้าว การนวดข้าวระหว่างช่วยกันทำางาน จะผ่อนคลายความ เหน็ดเหนื่อยด้วยการละเล่นต่างๆ ทั้งการร่ายรำา การเกี้ยวพาราสี และการโต้ตอบคารมในเชิง กลอน ทำาให้เกิดการละเล่น เช่น การเล่นเพลง ได้แก่ เพลงนา เพลงสงฟาง เพลงเต้นกำารำา เคียว เพลงชักกระดาน เพลงพาดควาย เพลงพวงมาลัย เพลงอีแซว เพลงลำาตัด เพลงเหย่อย ฯลฯ การละเล่นในภาคเหนือจะเป็นเรื่องของการฟ้อน มักจะเล่นในงานบุญ ได้แก่ ฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง หรือการเล่นกลองสะบัดชัย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเป็นการฟ้อนและการรำา เช่น รำาแคน ฟ้อนภูไท รำาโทน ส่วนในภาคใต้ จะประกอบด้วยการละเล่น เช่น หนังตะลุง เพลงเรือ เพลงบอก เป็นต้น การเล่นเพลงและระบำารำาฟ้อน เพลง คู่กับ ระบำารำาฟ้อน การละเล่นแต่โบราณที่กล่าวไว้ในเอกสารเก่า หลายอย่าง ได้สูญหายไป ที่ไม่ทราบวิธีการเล่นก็มีจำานวนไม่น้อย เนื่องจากในสมัยก่อน บ้านเมืองมีประชากรน้อย ความต้องการทาง เศรษฐกิจไม่เร่งรัดขวนขวาย เช่นในปัจจุบัน ราษฎรมีเวลาประกอบ กิจกรรม ทั้งการบุญ และการพบปะสังสรรค์ ช่วยเหลือเกื้อกูลในการ งานของกันและกันภายในท้องถิ่นได้อย่างเต็มที่ ประเพณีและ วัฒนธรรมในสังคม ได้สร้างมรดกทางการแสดงไว้หลายรูปแบบ ทั้ง การร้อง การรำา การเล่นเพลง เมื่อบ้านเมืองมี ความเจริญขึ้นตามยุค สมัย ประชากรเพิ่มมากขึ้น ความจำาเป็นด้านการครองชีพมีส่วนทำาให้ สังคม ชนบทต้องว่างเว้นการสร้างงานด้านวัฒนธรรม การละเล่นพื้น เมืองหลายอย่างจึงสูญหายไปโดย ไม่มีการสืบต่อ การเล่นเพลงส่วน ใหญ่จะมีลักษณะ เป็นเพลงปฏิพากย์ คือ ร้องเกี้ยวพาราสีโต้ตอบ ด้วย
  • 6. วาทะโวหารระหว่างหญิงชาย ส่วนระบำา รำาฟ้อน จะเป็นการร่ายรำา ตามศิลปะของแต่ละ ท้องถิ่น ถือว่าเป็นนาฏศิลป์พื้นเมือง จึงนิยม เล่น หรือแสดงกันในท้องถิ่น ในภาษาไทยมีคำาว่า "รำาบำา" หรือ "ระบำา" มัก จะเป็นการร่ายรำา ทั่วไป ส่วน "ฟ้อน" จะใช้เฉพาะในภาคเหนือ ฟ้อน ฟ้อนเป็นนาฏศิลป์พื้นเมืองของชาวเมืองเหนือ จำาแนกการฟ้อนตามลักษณะกิจกรรม คือ ฟ้อน ผี ฟ้อนเมือง ฟ้อนแบบไทยใหญ่ และฟ้อนม่าน การละเล่นภาคเหนือ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ การฟ้อนต่างๆ ศิลปะการฟ้อนในภาคเหนือ จะมีดนตรี พื้นบ้านประกอบ ซึ่งอาจมีท่วงทำานองเป็น เพลงบรรเลงล้วน หรือเป็นเพลงที่มีการขับร้อง ประกอบร่วมด้วย การฟ้อนของภาคเหนือ แต่ก่อนมิได้มุ่งถึงการบันเทิง แต่เกิดจากพิธีกรรม ทางศาสนา และความเชื่อทางประเพณี ในการบูชา ผีปู่ย่าตายาย ผีบรรพบุรุษ เป็นหลัก การ ฟ้อน ได้วิวัฒนาการไปตามยุค มาเป็นการฟ้อนอีกหลายอย่าง นอกจากนั้น ยังมีการเล่นกลอง สะบัดชัย การร่ายรำา ตบมะผาบ ฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง หรือเชิง ซึ่งมักจะมีดนตรี และมีกลองเป็น หลัก เข้าประกอบจังหวะ การละเล่นพื้นเมืองภาคเหนือ ในภาคเหนือ ภูมิประเทศเป็นป่าเขา ต้นนำ้าลำาธาร อุดมด้วย ทรัพยากรธรรมชาติ การทำามาหากินสะดวกสบาย ชาวเหนือจึงมีนิสัย อ่อนโยน ยิ้มแย้มแจ่มใส มีนำ้าใจไมตรี การแสดงพื้นเมืองจึงมีลีลาอ่อน ช้อย งดงามและอ่อนหวาน การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ เรียกกันว่า ฟ้อน มีผู้แสดงเป็นชุดเป็นหมู่ ร่ายรำาท่าเหมือนกัน แต่งกายเหมือนกัน มีการแปรแถวแปรขบวนต่าง ๆ การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ ได้แก่ ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บหรือฟ้อน เมือง ฟ้อนลาวแพน ฟ้อนรัก ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนดวงเดือน ฟ้อนดวง ดอกไม้ ฟ้อนดวงเดือน ฟ้อนมาลัย ฟ้อนไต ฟ้อนดาบ ฟ้อนโยคี ถวายไฟ ระบำาชาวเขา รำากลองสะบัดไช
  • 7. ๑. ฟ้อนผี ฟ้อนที่สืบเนื่องจากการนับถือ ผี ได้แก่ ฟ้อนผีมด, ฟ้อนผีเมือง เพื่อเซ่น สังเวยผีบรรพบุรุษ ผีปู่ย่า ผีประจำาตระกูล จะ ทำาทุกๆ ๓ ปี โดยสร้าง ปะรำา ตั้งเครื่องเซ่นสังเวย ที่ลานบ้าน ผู้ฟ้อนเป็นผู้หญิงในตระกูล นุ่ง โสร่ง ทับผ้าที่คล้องคอ และโพกศีรษะ ฟ้อนตามจังหวะของดนตรี ซึ่ง เป็นดนตรีวงสะล้อซอซึง ฟ้อนผีเจ้านาย มีลักษณะเหมือนฟ้อน ผีมด ฟ้อนผีนายด้ง เป็นการละเล่นที่เล่น กันในงานสงกรานต์ เหมือนเล่นแม่ ศรีของ ภาคกลาง แต่เล่นในเวลากลางคืน โดยให้ ผู้หญิง ๔-๕ คน จับ กระด้งที่ใช้ฝัดข้าว แล้วขับลำานำาเพลง เพื่อให้ผีนางด้งมาเข้าฟ้อนรำา จนเป็นที่พอใจ ๒. ฟ้อนเมือง เป็นลีลาการฟ้อนของ คนเมือง ได้แก่ ฟ้อนเล็บ เป็นเอกลักษณ์ของภาคเหนือ นิยมฟ้อนนำาขบวนแห่ครัวทาน เรียกกันว่า"ฟ้อนเมือง" "ฟ้อนแห่ครัวทาน" ใช้ผู้ฟ้อนเป็นชุด ตั้งแต่ ๖ คน ๘ คน ๑๒ คน (จนถึง ๑๐๐-๒๐๐ คน ก็ได้ เช่น ในงานต้อนรับพระ ราชอาคันตุกะ) การแต่งกาย จะสวมเสื้อแขนกระบอกผ่าอกติดกระดุม ห่มผ้าสไบทับเสื้อ นุ่งผ้าซิ่นลายขวาง ป้ายข้างยาวกรอมเท้า ไม่สวม รองเท้า สวมเล็บทำาด้วยโลหะทองเหลืองลักษณะ ปลายเรียวแหลมยาว ประมาณ ๓ นิ้ว ผมทรง เกล้ามวยใช้ดอกเอื้องประดับมวย เครื่องดนตรี ที่ ใช้บรรเลงประกอบคือ วงกลองตึ่งนง ซึ่ง ประกอบด้วยเพลงตึ่งนง (กลองแอว) กลอง ตะโล้ดโป๊ด แนหลวง แนน้อย ฆ้องโหม่ง ฆ้องหุ่ย และสว่า (ฉาบ) ฟ้อนเทียน มีท่วงท่าลีลาการฟ้อน การแต่งกาย และเครื่องดนตรี เหมือนกับฟ้อนเล็บทุกประการ เพียงแต่เปลี่ยนจากการสวมเล็บ มาถือ
  • 8. เทียนแทน เป็นการฟ้อนจัดร่วมนำาขบวน แห่ขันโตก เรียกชื่ออีกอย่าง หนึ่งว่า "ฟ้อน เชิญโตก" ความงดงามของศิลปะการฟ้อนเล็บ และฟ้อน เทียนจะอยู่ที่ลีลาการบิดข้อมือ และการเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ นุ่มนวล สอดคล้องกับทำานองเพลง ฟ้อนอย่างมีระเบียบ และพร้อมเพรียงกัน ฟ้อนเจิงเซิง เป็นการฟ้อนของช่างฟ้อนผู้ชาย ฟ้อนเป็นชุดต่อเนื่องกัน เริ่มด้วย ฟ้อนเจิง คำาว่า "เจิง" หมายถึง "ชั้นเชิง" เป็นการแสดงชั้นเชิง ของลีลาท่าทางร่ายรำาต่างๆ ซึ่งแสดงออกในท่วงท่าของนักรบ เป็นการฟ้อนด้วยมือเปล่า โดยเคลื่อนไหวร่างกาย และแยกแขน ยกขา ทำาท่วงท่าทีต่างๆ ซึ่งช่างฟ้อนจะแสดงชั้นเชิงแตกต่างกันไป ตามการ คิดประดิษฐ์ท่าทางของแต่ละคน ตบมะผาบ เป็นการละเล่นของภาคเหนือ คือ การใช้มือเปล่าตบไปตาม ส่วนต่างๆ ของร่างกาย พร้อมกับกล่าวคาถาอาคม ลูบตามแขนขา ทั่ว ร่างกาย ตามความเชื่อทางไสยศาสตร์ เพื่อให้เกิดความคงกระพัน ชาตรี มีการยกเท้า งอเข่า งอศอก บิดตัวไปมา หลอกล่อคู่ต่อสู้ไป ด้วย โดยลีลาของฟ้อนเจิงและตบมะผาบจะ ต่อเนื่อง และสัมพันธ์กันตาม จังหวะของดนตรี ทั้งจังหวะช้าๆ และรวดเร็ว มีการกระโดดด้วย ท่าทางผาดโผนต่างๆ อย่างน่าดูยิ่ง ฟ้อนดาบ เป็นการแสดงที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับชั้นเชิงต่อสู้ป้องกันตัว ผสมผสานกับลีลาท่าฟ้อน ที่สง่างาม การฟ้อนดาบของล้านนา หรือ ภาคเหนือมี ๒ แบบ คือ เชิงดาบแสนหวี เป็นเชิงการฟ้อน ดาบของไทยใหญ่ เชิงดาบเชียงแสน เป็นเชิงการ ฟ้อนดาบของคนเมือง ฟ้อนสาวไหม ท่าฟ้อนสาวไหมแต่ดั้งเดิมเป็นท่าแม่บทท่าหนึ่ง ในการ ฟ้อนเจิง ช่างฟ้อนเป็นหญิงแต่งกายพื้นเมืองแบบเดียวกับฟ้อนเล็บ ท่า
  • 9. ฟ้อนมีลีลาอ่อนช้อยมาก เป็นท่าฟ้อนที่เลียนแบบกิริยาอาการสาวไหม เครื่องดนตรีที่ใช้ ประกอบคือ วงสะล้อ-ซึง บรรเลงทำานองเพลง แบบ "ซอปั่นฝ้าย" ๓. ฟ้อนแบบไทยใหญ่ มีศิลปะการฟ้อนของชาวไทยในภาคเหนือ ปรากฏอยู่เป็นเอกลักษณ์ ฟ้อนกิ่งกระหร่า กำาเบ้อดง และเล่นโต "กิ่งกระหร่า" หมายถึง กินนรา กำาเบ้อดง"กำาเบ้อ" หมายถึง ผีเสื้อ "ดง" หมายถึง ชื่อแม่นำ้าสาละ วิน "โต" เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะเป็นสัตว์สี่ เท้า นิยมแสดงในงานเทศกาลออกพรรษา ตามตำานานที่เล่า สัตว์เหล่า นี้มาแสดงความรื่นเริง ต้อนรับพระพุทธองค์ เมื่อครั้งเสด็จลงมาจาก สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากโปรดพระพุทธมารดา ผู้แสดงเป็นกิ่งกระหร่า แต่งกายด้วยเสื้อผ้า สีดำา หรือสีอื่นๆ ก็ได้ สวม กางเกง มีปีกหางทำาด้วยโครงไม้ไผ่ที่บุด้วยผ้าแพร หรือผ้ามีสี ปักดิ้น เงินดิ้นทอง ตกแต่งเป็นลวดลายสวยงาม มีเชือกผูกติดปีกหาง โยง มายังมือผู้ฟ้อน เพื่อให้เคลื่อนไหวได้ สวมมงกุฎ สังวาล และเครื่อง ประดับต่างๆ ให้ดูงดงาม สวมหน้ากากรูปหน้า คนทาสีขาว ผู้แสดงมี ทั้งหญิงและชาย ท่าการ ฟ้อนเลียนแบบธรรมชาติของนก ซึ่งบางแห่ง เรียกว่า "ฟ้อนนางนก" สำาหรับกำาเบ้อดงจะประดิษฐ์ปีกเป็นแบบผีเสื้อ ลักษณะคล้ายคลึงกับกิ่งกระหร่า ฟ้อนมองเชิง คำาว่า "มองเชิง" ใน ภาษาไทยใหญ่แปลว่า "ฆ้องชุด" วง มองเชิงคือ วงดนตรี นิยมใช้ในกระบวนแห่ และบรรเลงในงานทั่วไป ของชาวไทยใหญ่ และมีอิทธิพลให้คนเมืองบางท้องถิ่น รับอิทธิพล ลักษณะการเล่นประสมวงมาด้วย บางทีก็เรียกว่า "ฟ้อนไต" ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนเงี้ยวเป็นที่รู้จักกันในภาคเหนือปัจจุบัน เป็นการ
  • 10. ประดิษฐ์ท่ารำา โดยช่างฟ้อนในวังของพระราชายาเจ้าดารารัศมี ซึ่ง เลียนแบบท่วงท่าของการฟ้อนแบบชาวไทยใหญ่ ผสมกับลีลานาฎ ศิลป์ภาคกลาง จึงเกิดเป็นการฟ้อนชนิดนี้ขึ้น ๔. ฟ้อนแบบม่าน คำาว่า "ม่าน" ใน ภาษาล้านนาหมายถึง พม่า ด้วยเหตุที่บริเวณภาค เหนืออยู่ติดกับประเทศพม่า จึงมีการรับอิทธิพลทางด้านศิลปกรรม ต่างๆ ของพม่าหลายด้าน สำาหรับด้านนาฏศิลป์ ฟ้อนม่านมุยเชียงตา เป็นฟ้อนที่พระราชชายา เจ้าดารารัศมี ทรงริเริ่ม ขึ้น โดยมีช่างฟ้อน ในคุ้มและในวังร่วมกับครูช่าง ฟ้อนของพม่า ช่างฟ้อนเป็นหญิง ๘-๑๖ คน แต่งกายแบบพม่า สวมเสื้อเอวลอยรัดรูป นุ่ง ซิ่น มีผ้าสไบคล้องคอ เกล้าผมสูงปล่อยชายผม ลงด้านหนึ่ง ท่วงท่าฟ้อนรำามีทั้งช้าและเร็ว ใช้ วงปี่พาทย์บรรเลงประกอบทำานองเพลง ปัจจุบันการฟ้อนได้วิวัฒนาการไปสู่ภาคอื่นๆ โดยเฉพาะภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือตอนล่าง ได้มีการคิดท่าฟ้อนประกอบ สัญลักษณ์ของการทำางาน หรือจัดเป็นชุดรำาในนิทานพื้นบ้าน เช่น ฟ้อนเก็บขิด ฟ้อนมโนห์ราเล่นนำ้า ของวิทยาลัยนาฏศิลป์ จังหวัด ร้อยเอ็ด ฟ้อนลื้อล่องน่านของจังหวัดน่าน เป็นต้น ลักษณะของการแสดงพื้นเมือง ได้แก่ ลีลาการเคลื่อนไหว เป็นไปตามเอกลักษณ์ของแต่ละภาค เครื่องแต่งกาย เป็นลักษณะพื้นเมืองของภาคนั้น ๆ เครื่องดนตรี เป็นของท้องถิ่น ได้แก่ ปี่แน กลองตะโล้ดโป๊ด ฉาบ ใหญ่ ฆ้องโหม่ง ฆ้องหุ่ย เพลงบรรเลงและเพลงร้อง เป็นทำานองและสำาเนียงท้องถิ่น เพลงพื้นเมืองภาคเหนือ เช่น เพลงซอ เพลงชาวเหนือ เพลงดวง
  • 11. ดอกไม้ ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคเหนือ เพลงซอ ทำานองซอละม้ายหญิง น้อยมานพอ้ายจะมาเป็นกู่ พี่มานพ ที่จุมาเป็นกู่ อ้ายช่างมีความฮู้ ติดตั๋วท่องหา พี่มีความรู้บ้างไหม จะมาเป็นผัวมันต้องมีปัญญา ที่จะมาเป็นสามีต้องมี ความรู้ปัญญา ถ้าบ่หมีวิชาเอากั๋นตึงบ่ได้ ถ้าไม่มีวิชา แต่งงาน กันไม่ได้ หากมานพจะมาเป็นผัว หากมานพจะมาเป็น สามี ตั๋วจะต้องมีความฮู้เอาไว้ พี่ต้องมีความรู้เอาไว หน้าต๋ากะหลวก ถ้าใจ่ก๋านบ่ได้ หน้าตาก็ฉลาด ถ้าใช้ ทำางานไม่ได้ แล้วไผจะเอาอ้ายมานอนโตย แล้วใครจะเอาพี่มา นอนด้วย น้อยมานพจะมาเป็นกู่ พี่มานพจะมาเป็นคู่ ถ้าบ่หมีความฮู้ ข้าเจ้าตึงบ่เอา เป็นผัว ถ้าไม่มีความรู้น้องก็ไม่ เอา มาเป็นสามี สมัยเดี๋ยวอี่บัวตองตึงกั๋ว สมัยปัจจุบันนี้น้องบัว ตองกลัว บ่มีความฮู้ติดตั๋วเอากั๋นตึงบ่ได้ ไม่มีความรู้ติดตัว แต่งงานกันไม่ได้ ป่อแม่ข้าเจ้าตึงบ่เปิงใจ๋ พ่อแม่ของน้องจึงไม่
  • 12. พอใจ กั๋วเอาของไปชุบบ่ตาย กั๋วอับ กั๋ วอาย กลัวว่าจะเอากันไปใช้ เปล่าๆ ไปแผวปี่ แผวน้อง จิ่มแหล่นอ กลัวจะอายไปถึงพี่น้อง การละเล่นพื้นเมืองภาคอีสาน ภูมิประเทศภาคอีสานเป็นที่ราบสูง ค่อนข้างแห้งแล้งเพราะพื้นดิน ไม่เก็บนำ้า ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝนนำ้าจะท่วม แต่ชาวอีสานก็มีอาชีพ ทำาไร่ทำานา และเป็นคนรักสนุก จีงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาส การแสดงของภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจำาวัน หรือประจำา ฤดูกาล เช่น แห่นางแมว เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบ รำาลาวกระทบ ไม้ ฯลฯ การละเล่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ภาคอีสานประกอบด้วย ๑๖ จังหวัด นอกจากชาวไทยแล้ว ยังมีชาวพื้นเมืองที่มีเชื้อสายเขมร เชื้อสายภูไท หรือผู้ไทย ลาว กุย แสก โซ่ง ฯลฯ การละเล่นพื้นเมืองจึงมีหลายประเภท เช่น แสกเต้นสาก ฟ้อนภูไท กันตรึม รำา แคน หมอลำา รำาโทน ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะของอีสาน คือ ลีลาและจังหวะใน การก้าวเท้า มีลักษณะคล้ายเต้น แต่นุ่มนวล มักเดินด้วยปลายเท้าและ สบัดเท้าไปข้างหลังสูง เป็นลักษณะของ เซิ้ง ดนตรีพื้นเมืองอีสาน ได้แก่ กลองยาว กรับ ฉาบ โหม่ง แคน โปงลาง การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ได้แก่ ฟ้อนภูไท เซิ้งสวิง เซิ้งโปงลาง เซิ้งตังหวาย ภูไทสามเผ่า ไท ภูเขา เซิ้งกระติบข้าว กันตรึม เป็นการละเล่นพื้นเมืองของชาวไทย เชื้อสายเขมร ในเขต อีสานใต้ ซึ่งเป็นชุมชน ที่ใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาถิ่น เช่น จังหวัด สุรินทร์ บุรีรัมย์ และศรีสะเกษ ตามประวัติแต่โบราณ ใช้สำาหรับขับร้อง
  • 13. ประกอบการร่ายรำาบวงสรวง รำาคู่ และรำาหมู่ ต่อมามีวิวัฒนาการของ การเล่นคล้ายกับการเล่นเพลงปฏิพากย์ ในภาคกลาง มีกลองที่เรียก ว่า "กลองกันตรึม" เป็นหลัก เมื่อตีเสียงจะออกเป็นเสียง กันตรึม โจ๊ะ ตรึม ตรึม การเล่นจะเริ่มด้วยบทไหว้ครู เพื่อระลึกถึงคุณของ พระพุทธเจ้า พระวิศวกรรม ครูบาอาจารย์ และเริ่มทักทายกัน เล่นได้ ทุกโอกาส ไม่กำาหนดว่าเป็นงานมงคล หรืออวมงคล วงดนตรีประกอบ ด้วย กลอง ซอ ปี่อ้อ ขลุ่ย ฉิ่ง กรับ ฉาบ กล่าวกันว่า ท่วงทำานองของ เพลงกันตรึมมีกว่า ๑๐๐ ทำานอง บทเพลงจะเกี่ยวกับเรื่องเบ็ดเตล็ด ตั้งแต่เกี้ยวพาราสี โอ้โลม ชมธรรมชาติ แข่งขันปฏิภาณ สู่ขวัญ เล่า เรื่อง ฯลฯ การแต่งกาย แต่งตามประเพณีของท้องถิ่น ผู้หญิงนุ่งซิ่น เสื้อแขนกระบอก ผ้าสไบเฉียงห่มทับ ผู้ชายนุ่งโจงกระเบน เสื้อคอกลม แขนสั้น ผ้าไหมคาดเอวและพาดไหล่ ครกมอง เป็นการละเล่นพื้นเมืองของชาวอีสาน ที่แสดงวิธีการตำาข้าวที่ มีมาแต่โบราณ เป็นการรำาหมู่ ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ไห โหวด โปงลาง แคน ฉาบ พิณ จังหวะที่ใช้เป็นทำานองอีสาน เช่น ใช้ "ลาย เพลงเกี้ยวสาว" หรือ "ลายสุดสะแนนออกลายน้อย" เซิ้ง การละเล่นพื้นเมืองของชาวไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นการร่ายรำาหมู่ ทั้งหมู่หญิงล้วน ชายล้วน และผสมทั้งหญิงชาย เซิ้ง เป็นคู่ ตั้งแต่ ๓-๕ คู่ เครื่องดนตรีประกอบการเล่น ได้แก่ แกร๊ป โหม่ง กลองแตะ และกลองยาว ลีลาของการเซิ้งต้องกระฉับกระเฉง แคล่วคล่อง ว่องไว ทั้งนี้เพื่อมุ่งความสนุกสนานเพลิดเพลิน และผ่อน คลายความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าจาก การตรากตรำาทำางาน กระบวนการเล่นเซิ้งจะนำา สภาพการดำารงชีวิตมาดัดแปลง "เซิ้ง สวิง" เป็นลีลาท่ารำา เช่น นำาลักษณะการจับปลา โดยใช้สวิงมา
  • 14. ประดิษฐ์เป็นลีลาการเล่น นำาเอาอากัปกิริยาของหญิงสาวชาวบ้าน ที่ นำาอาหารใส่กระติบข้าวไปส่งสามีและญาติ ที่กลางไร่กลางนามา ประดิษฐ์เป็น ลีลาท่า "เซิ้งกระติบข้าว" หรือนำาการออกไปตีรังมดบน ต้นไม้ เพื่อนำามาประกอบอาหาร มาประดิษฐ์เป็น "เซิ้งแหย่ไข่มดแดง" ปัจจุบันเซิ้งได้วิวัฒนาการตามยุคสมัย มีการคิดท่าเซิ้งใหม่ๆ ขึ้นอีก มาก เรียกชื่อแตกต่างกัน ตามลักษณะของการเลียนแบบสภาพ วัฒนธรรม ที่มีอยู่ในพื้นเมืองนั้นเป็นหลัก เช่น เซิ้งโปง เซิ้งกระหยัง เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสุ่ม ฯลฯ และไม่ว่าจะคิดท่าเซิ้งใดๆ ขึ้น ลักษณะของเซิ้ง ก็จะบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ไว้ในลีลาการเต้น ท่าเดิมไม่แตกต่างไปเลย โปงลางเป็นเครื่องดนตรีของชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ วิวัฒนาการมาจาก เกราะหรือขอลอ ตีเพื่อให้เกิดเสียงดัง โปง หมายถึง เสียงของโปง ลาง หมายถึง สัญญาณบอกลางดี หรือลางแห่งความรื่นเริง โปงลาง จึง หมายถึง เครื่องดนตรีที่ มีเสียงแห่งลางดี ทำาด้วยไม้เนื้อแข็ง เรียงร้อย กัน ๑๒ ท่อน ใช้แขวนเวลาตี การบรรเลงใช้ คน ๒ คน ตีเข้าจังหวะ เร็ว รุกเร้าด้วยความ สนุกสนาน มักจะเล่นเข้าวงกัน ลำาเต้ย, ลำาเต้ยเกี้ยว ลำาเต้ย หรือลำาเต้ยเกี้ยว เป็นการรำา (ร้อง) เต้ยเป็นท่ารำาเกี่ยวกับการ เกี้ยวพาราสี ผู้รำาจะฟ้อนและออกลีลาประกอบการรำาตามจังหวะเพลง เล่นกันอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดชัยภูมิ ดนตรีที่ใช้ ประกอบ ได้แก่ พิณ แคน โปงลาง โหวด กลอง เพลงที่ร้องเป็นเพลง พื้นเมือง การรำามีทั้งรำาคู่และรำาหมู่ เดินไม้สูงการละเล่นของภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก ว่า เดินขาโกกเกก มักใช้ไม้ไผ่เป็นไม้คำ้า มีง่ามสองอัน สำาหรับยืน เหยียบ เพื่อใช้เดินต่างเท้า เวลาเดินมีเสียงดัง ก้าวจะยาว มักใช้แข่ง
  • 15. เรื่องความเร็ว รำาลาวกระทบไม้ การรำาลาวกระทบไม้ เป็นการละเล่นพื้นเมืองของหนุ่มสาวชาวไทย ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งฝั่งซ้าย และฝั่งขวาของแม่นำ้าโขง โดยผู้ เล่นทุกคน ร่วมกันร้อง ร่วมกันรำา และจับกระบอกไม้ ให้กระทบกัน ตามจังหวะ เป็นที่รื่นเริงบันเทิงใจ ทำานองเพลงร้อง ได้รับความนิยม แพร่หลายเข้ามาในภาคกลาง ทำาให้เกิดบทร้องต่างๆ ขึ้น พร้อมทั้งได้ ปรับปรุงทำานอง และวิวัฒนาการตามสมัย แต่อาศัยสำาเนียงจังหวะเดิม เป็นหลัก ระบำาตรีลีลา ระบำาตรีลีลา เป็นระบำาอีกชุดหนึ่งที่กรม ศิลปากรได้ปรับปรุงขึ้น โดย จัดเพลงและท่าฟ้อน รำาของไทยทั้ง ๓ แบบ มาประสานให้ติดต่อเป็น ชุดเดียวกัน คือ ฟ้อนเทียน ใช้เครื่องดนตรีพื้นเมืองของท้องถิ่นพายัพ มีกลองยาวและ ปี่ ฟ้อนแพน ใช้เครื่องดนตรีพื้นเมืองของท้องถิ่นพายัพ และภาคอีสาน นิยมใช้กับเดี่ยวจะเข้ ฟ้อนเงี้ยว ดัดแปลงมาจากไทยใหญ่หรือเงี้ยว ที่ อยู่ชายเขตแดนไทย กลองเส็ง, กลองสองหน้า การละเล่นพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือบาง จังหวัด ได้แก่ บุรีรัมย์ หนองคาย เลย และเพชรบูรณ์ บางแห่งเรียก ว่า "แข่งกลอง" ซึ่งเป็นการแข่งขันตีกลองคู่ด้วยไม้ค้อนสองมือ กลอง ลูกหนึ่งๆ จะหนักมาก ใช้คนหาม ๒ คน สนามแข่งขันส่วนใหญ่อยู่ ภายในวัด ตัดสินโดยฟังเสียงกังวานที่ดังก้องสลับกัน ประกอบกับท่าตี
  • 16. ที่สวยงาม เจ้าของกลองมักจะเป็นวัดในแต่ละหมู่บ้านที่สร้างกลองชนิด นี้ไว้ นิยมเล่นในเทศกาลเดือนหกจนถึงเข้าพรรษา กระโดดสาก การละเล่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ใช้สากไม้แก่น ยาวประมาณ ๔-๖ ศอก ศูนย์กลาง ๓ นิ้ว ๒ คู่ วางไขว้กัน ผู้เล่นจับ ปลายสากหัวท้ายข้างละอัน ตีให้กระทบกันตามจังหวะเพลง มีตะโพน และปี่บรรเลง ประกอบจังหวะ หนุ่มสาวรำาเข้าจังหวะที่สากกระทบ และ กระโดดข้ามกลับไปกลับมาตามลีลาเพลงและท่ารำา เป็นที่ครึกครื้น สนุกสนาน มักเล่นในเทศกาลตรุษสารท เพลงพื้นเมืองภาคอีสาน เช่น หมอลำา เพลงโคราช เจรียง กันตรึม เพลงล่องโขง เพลงแอ่วแคน ตัวอย่างเพลงพื้นเมืองภาคอีสาน หมอลำาเพลิน จังวางเปิดม่านกั้งแจ้งสว่างอยู่ ในตา ตาส่องหาพี่ชายผู้เสื้อ ลายบ่มา บ้อ แฟนพี่ชาย อยู่เทิงฮ่าน โอ้ โอย เด้ ชาย ฟังเด้ ออ้าย เด้ออ้าย ผู้ชายงามบ้านเพิ่น น่องมาคิดอยากได้โตเจ้า ไว้กล่อมนอน น่องผู้ฮ่าย ผู้ฮ่าย อ้ายสิบ่สนใจ เฮ็ดจั๋งได๋นอชาย น่องคนจนพร้อม จนใจแล่ว ใจแล่ว แนวมันพาทุกข์ หาความสุขกายใจอยู่ที่ ไฮ่นา เชิญเถิดค้า เถิดค่ามาจากัน อย่าซิฟ่าวใจฮ่อน จ่มว่า
  • 17. ก่อน รำำคำญ ขันไปบ้ำน ไปบ้ำนขอนแก่น ทำงอีสำน ขอเชิญวงศ์วำนเยี่ยม ยำมกันบ้ำง จำทอนี่ ทอนี่ พอเป็นแบบอย่ำง ฮู่แนงทำงตำำนำนครู ข้ำ ได้สอนมำ ว่ำจังได๋คนดี สนนำงบอน้ออ้ำย น้ออ้ำย น้ออ้ำย กำรละเล่นพื้นเมืองภำคใต้ ภำคใต้ เป็นดินแดนที่ติดทะเลทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออก ทำง ด้ำนใต้ติดกับมลำยู ทำำให้รับวัฒนธรรมของมลำยูมำบ้ำง และมี ขนบประเพณีวัฒนธรรมและบุคคลิกบำงอย่ำงคล้ำยคลีงกัน คือ พูดเร็ว อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจรวดเร็วเด็ดขำด กำรแต่งกำย เพลง และดนตรี คล้ำยคลึงกันมำก กำรละเล่นภำคใต้ ได้แก่ เพลงเรือ เพลงลำ เพลงคำำตัก คำำบอก แปดบท กำรสวดมำลัย เล่น มหำชำติทรงเครื่อง หนังตะลุง โนรำชำตรี ลิเกป่ำ รองเง็ง กำรแสดงพื้นเมืองภำคใต้ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. มหรสพ คือ กำรแสดงเป็นเรื่อง เช่น หนังตะลุง มีตัวหนัง มีคน เชิด มีกำรร้องและเจรจำ นอกจำกนั้นมี ลิเกป่ำ หรือลิเกรำำมะนำ หรือ ลิเกแขกแดง หรือลิเกแขกเทศ หรือลิเกบก ซึ่งผู้แสดงโต้ตอบกันเป็น เรื่องรำว อีกกำรแสดงคือ โนรำ ถ้ำเล่นเป็นเรื่องก็ถือเป็นมหรสพ แต่ ถ้ำร่ำยรำำเป็นชุด ก็ถือเป็นกำรแสดงเบ็ดเตล็ด ๒. กำรแสดงเบ็ดเตล็ด คือ ร่ำยรำำเป็นชุด เช่น โนรำ ร็องเง็ง ซัม เปง ตำรีกีปัส ระบำำร่อนแร่ กรีดยำง ปำเต๊ะ รำำซัดชำตรี กำหลอ กำหลอเป็นกำรละเล่นของภำคใต้ คือ กำรประโคมดนตรี สมัยโบรำณ
  • 18. จะเล่นในงำนบวชนำค งำนขึ้นเบญจำฉลองพระ งำนสงกรำนต์ และ งำนศพ ปัจจุบันใช้เล่นเฉพำะงำนศพเป็นส่วนใหญ่ วงกำหลอใช้เครื่อง ดนตรี ๓ ชนิด คือ ปี่ห้อ หรือปี่กำหลอ กลองโทน ๒ ลูก (กลอง ๒ หน้ำ) และฆ้อง ๒ ใบ ปี่ทำำหน้ำที่ประดุจคนขับร้อง อธิบำยภำษำ และ ควำมหมำยของเรื่อง ด้วยสัญลักษณ์ของเพลง ตั้งแต่เริ่มงำนจน สิ้นสุด งำน งำนหนึ่งๆ จะใช้เพลงระหว่ำง ๗ เพลง ถึง ๒๒ เพลง ตัวอย่ำง เพลงที่นำำมำใช้ เช่น เหยี่ยวเล่นลม ทอมท่อม ยั่วยวน สุริยน ทองศรี พลำยแก้วพลำยทอง พระพำย นกเปล้ำ กำรจัดแสดงแต่ละครั้งจะ เคร่งครัดใน พิธีกรรมไหว้ครูมำก คำำบอก หรือเพลงบอก คำำบอกเป็นกำรละเล่นของปักษ์ใต้ สมัยก่อนนิยมเล่นในเทศกำลตรุษ สงกรำนต์ เป็นกำรป่ำวร้องให้ชำวบ้ำนทุกคนในละแวกได้ทรำบว่ำ ถึง วันขึ้นปีใหม่แล้ว ปัจจุบันเล่นประชันกันในงำนบุญ งำนวัด งำนนักขัต ฤกษ์ หรืองำนมงคลของชำวบ้ำนทั่วไป ตั้งเป็นคณะ เพลงบอกคณะ หนึ่งประกอบด้วยแม่เพลงและลูกคู่ ๓-๔ คน คุณสมบัติของแม่เพลง ต้องเฉียบแหลม เก่งใน ทำงกลอน ชนวัวเป็นกีฬำพื้นเมืองของภำคใต้ แข่งเพื่อควำม สนุกสนำน จะทำำ เป็นสนำมชนวัว โดยใช้ลำนดินกว้ำง ล้อมคอกไว้ เมื่อเจ้ำของปล่อยวัว พ้นคอก วัวทั้งสองจะตรงรี่เข้ำปะทะ และใช้เขำเสยเกยเขำ ขำทั้งสี่ยืน หยัดสู้อย่ำงไม่ยอมถอย ส่วนคนดูรำยล้อมกันแน่นขนัด วัวจะเป็นวัว กระทิง รูปร่ำงบึกบึนกำำยำำ เขำ หัว ตัว และขำหน้ำ ต้องแข็งแรง เมื่อ วิ่งเข้ำปะทะหัวชนหัว เสียง สนั่น ต่ำงไม่ยอมถอย ชนกันจนกว่ำฝ่ำย ใด ฝ่ำยหนึ่งจะหมดแรง ปัจจุบันมักจะเล่นเป็น กำรพนัน แปดบท เป็นกำรละเล่นของภำคใต้ เป็นชื่อฉันทลักษณ์ร้อยกรองของ
  • 19. คำำกลอน สมัยก่อนนิยมเล่น เพื่อแสดงควำมสำมำรถโต้ตอบกันในเชิง กลอน ระหว่ำงชำยและชำยด้วยกัน หรือชำยกับหญิง ประฝีปำก หรือ ปฏิภำณโวหำร เพื่อควำมเป็นเลิศ นักเลงที่เล่นแปดบท จะโต้ตอบกัน ทันที เมื่อได้พบปะกัน โดยไม่เลือกสถำนที่ ผู้ขับแปดบทที่ จะให้คติ เตือนใจในงำนต่ำงๆ มักจะเขียนติดไว้ตำม ศำลำ ต้นไม้ บ่อนชนไก่ ฯลฯ เป็นเครื่อง เตือนสติได้ เพลงนำ เพลงพื้นเมืองภำคใต้ เพลงนำเป็นกำรเล่นกลอนโต้ตอบกัน ระหว่ำงชำยหญิง มักเล่นในเวลำทำำนำ เช่นเดียวกับเพลงปฏิพำกย์ใน ภำคกลำง และในเทศกำลงำนมงคลทั่วไป เป็นบทที่สื่อควำมรัก เกี้ยว พำรำสี ต้นเสียงเรียกว่ำ "แม่เพลง" จะเป็นผู้ร้องนำำ ซึ่งต้องมีปฏิภำณ ไหวพริบ และคำรมคมคำย กลุ่มเสริมเรียกว่ำ "ท้ำยไฟ" ทำำหน้ำที่ คล้ำยลูกคู่ ร้องไปพร้อมๆ กับแม่เพลง เพื่อให้ท่วงทำำนองน่ำฟังยิ่งขึ้น แบบแผนกำรเล่น เริ่มด้วยบทบูชำสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เรียกว่ำ เกริ่นหน้ำบท แล้วเข้ำเรื่อง คือ ชมโฉม ขอผูกรัก เป็นต้น เพลงเรือเพลงพื้นเมืองภำคใต้ ทำำนองเป็นกลอน เพลงสำำหรับให้ จังหวะในกำรพำยเรือ นิยมเล่นกันในฤดูนำ้ำหลำกอย่ำงเรือภำคกลำง เช่น ใน พิธีชักพระ ปัจจุบันห่ำงหำย และหำดูได้ยำก มหำชำติทรงเครื่อง เป็นกำรละเล่นของภำคใต้ ลักษณะกำรแสดง คล้ำยลิเกพื้นเมือง เล่นสลับกับกำรสวดเทศน์มหำชำติ เมื่อจบแต่ละ กัณฑ์ เหมือนกำรเล่นแหล่เครื่องเล่นมหำชำติ ในภำคกลำง เป็นกำร เปลี่ยนบรรยำกำศผู้ฟัง ให้มีควำมบันเทิงครึกครื้น ควบคู่กับกำรฟัง เทศน์มหำชำติ กำรเล่นจะด้นกลอนสด กำรดำำเนินเรื่องจะแทรกบท ตลก รองเง็ง
  • 20. รองเง็งเป็นกำรละเล่นพื้นเมืองของชำวไทย มุสลิมใน ๔ จังหวัดภำค ใต้ คือ ยะลำ ปัตตำนี นรำธิวำส และสตูล เป็นกำรละเล่นที่วิวัฒนำกำร มำจำกกำรเล่นมะโย่ง รองเง็งจะเป็นกำรเต้นเข้ำ จังหวะ ที่มีกลองเป็น เครื่องให้จังหวะที่รุกเร้ำ รวดเร็ว และสนุกสนำน ลิเกป่ำ ลิเกป่ำเป็นกำรละเล่นพื้นเมืองภำคใต้ ที่หำดูได้ยำกแล้ว มีลักษณะกำร แสดงคล้ำยกับโนรำ แต่บทร้องคล้ำยลำำตัด มีกำรออกแขกเป็นแขก ขำว และแขกแดง ออกมำเต้นและร้อง แล้วจึงเริ่มแสดง เรื่องที่แสดงจะ นำำมำจำกวรรณกรรมเรื่องเก่ำ หรือนิทำนพื้นเมือง ไม่กำำหนดกำร แต่ง กำยอย่ำงเช่นโนรำ เน้นเฉพำะพระเอกเท่ำนั้น ที่จะต้องแต่งกำยอย่ำง สวยงำม เนื่องจำกเป็น กำรเล่นที่มิได้เป็นแบบแผนนัก จึงหมดควำม นิยมในเวลำต่อมำ ดนตรีของภำคใต้ ได้แก่ กลองแขก รำำมะนำ ปี่ ทับ โหม่ง ฉิ่ง ซอ เพลงพื้นเมืองภำคใต้ เช่น เพลงร้องเรือ(เพลงกล่อมเด็ก) เพลงบอก เพลงกำำพรัด(หรือคำำพลัด) ตัวอย่ำงเพลงพื้นเมืองภำคใต้ เพลงบอก เพลงบอก เป็นเพลงพื้นบ้ำนที่ได้รับควำมนิยมสูงสุด และมีกำรแพร่ กระจำยทั่วทั้ง 14 จังหวัดภำคใต้ ตลอดไปถึงคนไทยในประเทศ มำเลเซีย ศิลปินที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมรำช และจังหวัดสงขลำ คำำว่ำเพลงบอก มำจำกภำระหน้ำที่ของเพลงชนิดนี้ กล่ำวคือ สมัยก่อน เมื่อถึงเทศกำลสงกรำนต์จะมีนักเลงกลอนชำวบ้ำน เที่ยวตระเวนไป
  • 21. แทบทุกครัวเรือน เพื่อขับร้องกลอนบอกสงกรำนต์ตำมคำำทำำนำยของ โหรหลวง เพลงชนิดนี้จึงได้ชื่อว่ำ "เพลงบอก" กลอนเพลงบอกพัฒนำมำจำก "แปดบท" ขุนประดิษฐ์เป็นผู้คิด ดัดแปลง จึงเรียกกันในครั้งนั้นว่ำ "เพลงบอกขุนประดิษฐ์" ต่อมำพระ รัตนธัชมุนี (ม่วง รัตนธัชเถร) ได้ปรับรูปแบบกลอนอีกครั้งหนึ่ง และได้ ใช้แต่งเรื่อง "ศำลำโกหกหรือสัจจศำลำ" มอบให้ลูกเสือมณฑล นครศรีธรรมรำชนำำไปร้องในครำวชุมนุมลูกเสือแห่งชำติที่กรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2470 ผู้แสดง ใช้ทั้งผู้ชำยและผู้หญิงอย่ำงน้อย 6-7 คนหรือมำกกว่ำนี้ ก็ได้ ประกอบด้วยแม่เพลงและลูกคู่ กำรแต่งกำย แต่งกำยแบบพื้นเมืองชำวภำคใต้ตำมลักษณะชำว บ้ำนที่มีควำมเป็นอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆ กำรแสดง จะแตกต่ำงกันไปตำมโอกำส ซึ่งถือว่ำมีขนบนิยมใน กำรเล่น ดังนี้ 1. เล่นบอกสงกรำนต์ เล่นได้ในช่วงตั้งแต่ขึ้น 3 คำ่ำ เดือน 5 จนถึงวัน เถลิงศก โดยคณะเพลงบอกและผู้นำำทำงซึ่งเป็นคนในหมู่บ้ำน ออกว่ำ เพลงบอกไปตำมบ้ำนต่ำงๆ ตั้งแต่พลบคำ่ำจนสว่ำง วิธีเล่นเพลง เมื่อคณะเพลงบอกถึงเขตรั้วบ้ำน แม่เพลงจะขึ้นบทไหว้ครู ไหว้นนทรี ซึ่งเป็นเทวดำรักษำประตูบ้ำน ไหว้พระภูมิและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหลำย เมื่อก้ำวเข้ำสู่ลำนบ้ำนจะชมบ้ำนเรือน ทรัพย์สินต่ำงๆ ฝ่ำย เจ้ำบ้ำนจะเปิดประตูปูเสื่อต้อนรับนอกตัวเรือน หลังจำกคณะเพลงบอก สนทนำกับเจ้ำบ้ำนชั่วครู่ ก็ร้องกลอนบอกเรื่องรำวของสงกรำนต์ที่โหร ทำำนำยให้ทรำบ เจ้ำบ้ำนอำจให้คณะเพลงบอกร้องกลอนเล่ำตำำนำน สงกรำนต์ หรืออำจยกถำดข้ำวขวัญจำกยุ้งข้ำวมำให้คณะเพลงบอก
  • 22. ร้องบูชำแม่โพสพ เมื่อเจ้ำบ้ำนพอใจก็จะตกรำงวัลให้ตำมธรรมเนียม คณะเพลงบอกจะร้องเพลงอวยพร แล้วไปร้องบอกสงกรำนต์บ้ำนอื่นๆ ต่อไป 2. เล่นบอกข่ำวครำวและโฆษณำ เช่น งำนบุญต่ำงๆ เพลงบอกจะร้อง เชิญชวนทำำบุญ โดยจุดที่เพลงบอกอยู่จะมีกำรรับบริจำค เมื่อถึงช่วง เลือกตั้ง ทำงรำชกำรอำจจะหำเพลงบอกมำร้องกลอนเชิญชวนชำว บ้ำน ให้ไปใช้สิทธิ์ลงคะแนนเลือกตั้ง ชี้แนะให้เลือกบุคคลที่มี คุณสมบัติเหมำะสม เป็นต้น ทำงด้ำนกำรโฆษณำเพื่อผลทำงธุรกิจ ได้มีบริษัทห้ำงร้ำนหลำยแห่ง ใช้เพลงบอกโฆษณำสินค้ำทำงวิทยุ และในงำนสวนสนุก 3. เล่นประชัน คือ จัดเพลงบอก 2 คณะ ให้ร้องโต้กลอนสด กำรเล่น จะจัดให้เพลงบอกคู่ประชันนั่งห่ำงกันประมำณ 1 วำ โดยมีประธำนนั่ง กลำง แต่ละฝ่ำยจะมีแม่เพลง 1 คน และลูกคู่ 2-3 คน ไม่มีกรรมกำร เริ่มโต้โดยผลัดกันไหว้ครู จำกนั้นฝ่ำยหนึ่งร้องนำำเป็นทำำนองข่ม สำำทับฝ่ำยตรงกันข้ำม เช่น เรื่องบุคคลิกลักษณะ ประวัติชีวิต ควำมรู้ ควำมสำมำรถ กำรกล่ำวข่มสำำทับจะใช้วิธีอุปมำหรือไม่ก็ยกอุทำหรณ์ ประกอบ ซึ่งทั้งสองฝ่ำยจะต้องรู้ทันกัน กำรโต้จะดำำเนินไปจนอีกฝ่ำย เริ่มจนปัญญำจะยอมแพ้ หรือยุติกันไปเอง หรือไม่ก็ฟังเอำจำกเสียงโห่ ของคนฟัง ถ้ำฝ่ำยใดคนฟังให้เสียงโห่จนสิ้นเสียง ฝ่ำยนั้นชนะ 4. ร้องชำ เป็นกำรร้องเพลงบอกเพื่อกำรบวงสรวง บูชำ หรือยกย่อง ชมเชย เช่น ชำขวัญข้ำว ชำพระบรมธำตุ ชำปูชนียบุคคลและบุคคล สำำคัญ กำรร้องเพลงชำสิ่งเร้นลับเพื่อกำรบวงสรวง เช่น ชำขวัญข้ำว จะต้อง จัดเครื่องเซ่นบวงสรวงด้วย ลำำดับขั้นตอนกำรในกำรร้องชำต้องถูก
  • 23. ต้องตำมธรรมเนียมที่เคยปฏิบัติกันมำ ดนตรี ใช้ฉิ่ง 1 คู่ สำำหรับตีให้จังหวะ เพลงร้อง จะใช้เพลงร้องเป็นกลอนเพลงบอกบทหนึ่งมี 2 บำท แต่ละบำทมี 4 วรรค คำำสุดท้ำยของบำทแรก ส่งสัมผัสไปยังคำำสุดท้ำย ของบำทแรกของบทต่อไป ตัวอย่ำงตอนหนึ่งจำกกำรประชันเพลงบอก ระหว่ำงเพลงบอกรุ่ง อำำเภอปำกพนัง กับเพลงบอกปำน อำำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมรำช (รุ่ง) ปำนนี้เปรียบเหมือนกับชูชก มันแสนสกปรกเหลือ ประมำณ อ้ำยเรื่องหัวไม้ขอทำน แล้วใครจะปำนกับมัน เปิดคนที่ขี้ขอ ยิ่งคนเขำยอว่ำสำำคัญ แล้วตัวมันยิ่งกินยอ เห็นว่ำคนพอใจ พัทลุงหรือสงขลำ ตลอดมำถึงนคร ถ้ำปล่อยให้ปำนขอก่อน แล้วคนอื่นไม่พักไขว่ (ปำน) จริงแหละรุ่งปำนเหมือนชูชก แต่ปำนจะยกรุ่งเป็นพระ เวสสันดร ครั้งชูชกเข้ำไปวอน แล้วรุ่งให้ไม่เหลือไหร่ ถึงลูกเมียยังไม่แน่ ครั่งพอปำนแวะเข้ำไป บำงทีสิ่งไรที่รัก ใคร่ก็รุ่งต้องให้มำ (รุ่ง) เรำไม่เป็นพระเวสสันดร เพรำะจะเดือนร้อนใน ที่สุด เรำจะเป็นนำยเจตบุตร ที่มันเลิศเป็นนักหนำ ได้รับคำำสั่งท้ำวเจตรำษฏร์ เหมือนหมำยมำดที่เป็น
  • 24. มำ คอยรักษำอยู่ประตูป่ำ ถ้ำมึงมำเวลำใด เรำจะคอยยิงด้วยธนูหน้ำไม้ ให้ชูชกมันวำยชีวิต น้ำรุ่งยกกลอนขึ้นประดิษฐ์ เห็นว่ำไม่ผิดไหร่ (ปำน) จริงแหละรุ่งตนเป็นเจตบุตร เป็นคนประเสริฐสุดงำม วิไล ถ้ำเมื่อชูชกเข้ำไป ต้องม้วยซึ่งชีวำ แต่คนอื่นอื่นเขำเลี้ยงวัว บำงคนก็เลี้ยงควำย แต่เจตบุตรรุ่งนำย ทำำไมถึงเลี้ยงหมำ กำรละเล่นพื้นเมืองภำคกลำง ภำคกลำงมีภูมิประเทศเป็นที่รำบลุ่ม มีแม่นำ้ำหลำยสำย เหมำะแก่ กำรกสิกรรม ทำำนำ ทำำสวน ประชำชนอยู่อย่ำงอุดมสมบูรณ์ จึงมีกำร เล่นรื่นเริงในโอกำสต่ำง ๆ มำกมำย ทั้งตำมฤดูกำล ตำมเทศกำล และ ตำมโอกำสที่มีงำนรื่นเริง ภำคกลำงเป็นที่รวมของศิลปวัฒนธรรม กำรแสดงจึงมีกำรถ่ำยทอดสืบ ต่อกัน และพัฒนำดัดแปลงขึ้นเรื่อยๆ จนบำงอย่ำงกลำยเป็นกำรแสดง นำฏศิลป์แบบฉบับไปก็มี เช่น รำำวง และเนื่องจำกเป็นที่รวมของศิลปะ นี้เอง ทำำให้คนภำคกลำงรับกำรแสดงของท้องถิ่นใกล้เคียงเข้ำไว้หมด แล้วปรุงแต่งตำมเอกลักษณ์ของภำคกลำง คือกำรร่ำยรำำที่ใช้มือ แขน และลำำตัว เช่นกำรจีบมือ ม้วนมือ ตั้งวง กำรอ่อนเอียง และยักตัว กำรละเล่นภำคกลำงและภำคตะวันออก ได้แก่ กำรเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับกำรทำำนำ กำรเล่น ใน เทศกำลงำนบุญ ตรุษ สงกรำนต์ และกำรเล่นในฤดูนำ้ำหลำก มักเรียกกำรละเล่นพื้นเมือง ประเภทนี้ว่ำ เป็น "กำรเล่นเพลง" กำรเล่นเพลง ที่เกี่ยวเนื่องกับกำรทำำนำก็จะเป็นกำรเล่นตำม ขั้นตอนกำรเก็บเกี่ยวได้แก่ เพลงเกี่ยวข้ำว เพลงนำ เพลงสงฟำงหรือพำนฟำง เพลงสงคอ ลำำพวน เพลงเต้นกำำรำำเคียว เพลงรำำเคียว เพลงชักกระดำน เพลงพำดควำย เมื่อหมดฤดู ทำำ
  • 25. นาก็มักจะเล่นเพลงปฏิพากย์ ได้แก่ เพลงฉ่อย เพลงเรือ เพลงปรบไก่ เพลงชาวไร่ หรือระบำา ชาวไร่ เพลงพวงมาลัย เพลงอีแซว เพลงลำาตัด เพลงเหย่อย เพลงยั่ว เพลงหน้าใย เพลงจาก เพลงทรงเครื่อง เพลงเทพทอง เพลงไก่ป่า ยังมีเพลงเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ที่ไม่ระบุว่าเล่นเวลาใด ได้แก่ เพลงพิษฐาน เพลงคล้องช้าง เพลงร่อย พรรษา เพลงขอทาน เพลงโม่งเจ้ากรรม ซึ่งแตกออกเป็นเพลงย่อยอีกหลายเพลงคือ เพลงรำา เพลงนกยูง เพลงนกแก้ว เพลงนก อีแซว เพลงจ่อนโบด เพลงแม่นางเอ๋ย เพลงอึ่งใส่เกลือ เพลงมะม่วงวัดเขา เพลงที่กล่าวมานี้ ปัจจุบันจะล้าสมัยและสูญหายไปแล้วเป็นส่วนใหญ่ การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง ได้แก่ รำาวง รำาเหย่ย เต้นกำารำาเคียว เพลงเกี่ยวข้าว รำา ชาวนา เพลงเรือ เถิดเทิง เพลงฉ่อย รำาต้นวรเชษฐ์ เพลงพวงมาลัย เพลงอีแซว เพลงปรบไก่ รำาแม่ศรี กระบี่กระบอง เป็นการละเล่นที่นำาเอาอาวุธที่ใช้ในการต่อสู้ของนักรบไทยสมัยโบราณมาใช้ มีมาตั้งแต่สมัย อยุธยา จากประวัติศาสตร์ชาติไทยนั้น ชาวบ้านต้องเผชิญกับภัยสงครามอย่างโชกโชนถึงกับ เสียบ้านเมือง ซึ่งอาวุธที่ใช้ในการต่อสู้ประหัตประหารกัน ได้แก่ ดาบ หอก ทวน แหลน หลาว และเครื่องป้องกัน ๒ อย่าง คือ กระบี่ กระบอง ในยามสงบทหารจะฝึกซ้อมเพื่อเตรียมรับข้าศึก ในยามสงคราม ปัจจุบัน กระบี่กระบองไม่ได้เป็นอาวุธที่ใช้ในการต่อสู้แล้ว แต่ยังฝึกซ้อมไว้ สำาหรับแสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติด้านศิลปะป้องกันตัว นิยมฝึกหัดและเล่นกันในสถานศึกษา ชมรม และค่ายป้องกันตัว เพื่อแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตตามประวัติศาสตร์ชาติไทย การเล่นจะมี เครื่องดนตรีประกอบจังหวะได้แก่ กลองแขก ฉิ่ง ฉาบ เพื่อให้เกิดความเร้าใจและความฮึกเหิม ในบทบาทของการต่อสู้ ระบำา การฟ้อนรำาของไทยมีวิวัฒนาการมาจากท่าทางที่แสดงออก ด้วยความรื่นเริงบันเทิงใจ และได้ ปรับปรุงจัดระเบียบท่าทางการเต้นให้งดงามประณีตยิ่งขึ้น เพื่อให้การเล่น และการดู เป็นไป ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน การเคลื่อนไหวอิริยาบถต่างๆ เช่น มือ แขน ขา ใบหน้า ลำา ตัว ต้องให้อยู่ในท่าอ่อนช้อยงดงาม เรียกว่า "รำา" มีทั้ง รำาเดี่ยว รำาคู่ และรำาหมู่ เฉพาะการรำา หมู่เรียกว่า "ระบำา" พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายคำา "ระบำา" ว่า การฟ้อนรำาเป็นชุดเดียวกัน หรืออีกนัยหนึ่ง ระบำา คือ การฟ้อนรำาที่มุ่งหมาย เพื่อความงดงามของศิลปะการรำา และความ