SlideShare a Scribd company logo
ใบงานที่ 2
นาฏศิลป์ไทย
เป็ นศิลปะการแสดงประกอบดนตรีของไทย เช่น ฟ้ อน รา ระบา โขน แต่ละ
ท้องถิ่นจะมีชื่อเรียกและมีลีลาท่าการแสดงที่แตกต่างกันไป สาเหตุหลักมาจากภูมิประเทศ
ภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่น ความเชื่อ ศาสนา ภาษา นิสัยใจคอของผู้คน ชีวิตความ
เป็ นอยู่ของแต่ละภาค
ประวัติ
นาฏศิลป์ ไทยเป็ นศิลปะการละครฟ้ อนราและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะ
หรือนาฏยะกาหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ 3 ประการ คือ การฟ้ อนรา การดนตรี
และการขับร้อง รวมเข้าด้วยกัน ซึ่งทั้ง 3 สิ่งนี้ เป็ นอุปนิสัยของคนมาแต่ดึกดาบรรพ์
นาฏศิลป์ ไทยมีที่มาและเกิดจากสาเหตุแนวคิดต่าง ๆ เช่น เกิดจากความรู้สึก
กระทบกระเทือนทางอารมณ์ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งสุข หรือความทุกข ์และสะท้อนออกมาเป็ น
ท่าทางแบบธรรมชาติและประดิษฐ์ขึ้นมาเป็ นท่าทางลีลาการฟ้ อนรา หรือเกิดจากลัทธิ
ความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ เทพเจ้า โดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการเต้นรา
ขับร้องฟ้ อนราให้เกิดความพึงพอใจ เป็ นต้น นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตาม
แนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น วัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวรรณกรรมที่
เป็ นเรื่องของเทพเจ้าและตานานการฟ้ อนราโดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทั้งทางตรงและ
ทางอ้อมคือผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะนามาปรับปรุงให้เป็ นรูปแบบตาม
เอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราชที่สร้างเป็ นท่าการร่ายราของ
พระอิศวร ซึ่งมีทั้งหมด 108 ท่า หรือ 108 กรณะ โดยทรงฟ้ อนราครั้งแรกในโลก ฌ
ตาบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้ ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดูนับเป็ นคัมภีร์สาหรับ
การฟ้ อนรา แต่งโดยพระภรตมุนีเรียกว่าคัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ ถือเป็ นอิทธิพลสาคัญ
ต่อแบบแผนการสืบสานและถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็ นเอกลักษณ์ของตนเอง
ที่มีรูปแบบ แบบแผนการเรียน การฝึ กหัด จารีต ขนบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน
บรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ ไทยได้สันนิษฐานว่า อารยธรรมทางศิลปะ
ด้านนาฏศิลป์ ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมันกรุงศรีอยุธยาตารม
ประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฏราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1800 ซึ่งเป็ นระยะที่ไทยเริ่มก่อตั้ง
กรุงสุโขทัย ดังนั้นท่าราไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็ นความคิดของ
นักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีการแก้ไขปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในกรุง
รัตนโกสินทร์ จนนามาสู่การประดิษฐ์ท่าร่ายราและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน
นาฏศิลป์ไทย แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท
1. รา คือการแสดงที่มุ่งเน้นถึงศิลปะท่วงท่า ดนตรี ไม่มีการแสดงเป็ นเรื่องราว ราบางชุด
เป็ นการชมความงาม บางชุดตัดตอนมาจากวรรณคดี หรือบางที่ก็ไม่จาเป็ นที่จะต้องมีเนื้อ
เพลงเช่นการราหน้าพาทย์เป็ นต้น ราจะแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทดังนี้
1.1 ราเดี่ยว เป็ นการแสดงที่มุ่งอวดศิลปะทางนาฏศิลป์อย่างแท้จริงซึ่งผู้ราจะต้องมีผี
มือดีเยี่ยม เพราะเป็ นการแสดงที่แสดงแต่เพียงผู้เดียว ราเดี่ยวโดยส่วนมากก็จะเป็ นการรา
ฉุยฉายต่างๆ เช่น ฉุยฉายเบญจกาย ฉุยฉายวันทอง ฯลฯ เป็ นต้น
1.2 ราคู่ การแสดงชุดนี้ไม่จาเป็ นจะต้องพร้อมเพียงกันแต่อาจมีท่าที่เหมือนก็ได้
เพราะการราคู่นี้เป็ นการใช ้ลีลาที่แตกต่างกันระหว่างผู้แสดงสองคน เช่น ตัวพระ กับตัวนาง
หรือบทบาทของตัวแสดงนั้น ราคู่นี้ก็จะแบ่งออกเป็ นสองประเภท คือ
1.2.1 ราคู่สวยงามจากวรรณคดี เช่น หนุมานจับนาสุพรรณมัจฉา เป็ นต้น
1.2.2 รามุ่งอวดการใช ้อุปกรณ์ เช่าการราอาวุธ รากระบี่กระบอง
1.3 ราหมู่ ราชุดนี้เป็ นการราที่เน้นความพร้อมเพรียง เช่นราอวยพรชุดต่างๆ
1.4 ราละคร คือการราที่ใช ้ในการแสดงละครหรือโขน เป็ นการแสดงท่าทางสื่อ
ความหมายไปกับบทร้อง หรือบทละคร และเพลงหน้าพาทย์ต่างๆในการแสดงละคร
2. ระบา คือการแสดงที่มีความหมายในตัวใช ้ผู้แสดงสองคนขึ้นไป คือผู้คิดได้มีวิสัยทัศน์
และต้องการสื่อการแสดงชุดนั้นผ่านทางบทร้อง เพลง หรือการแต่งกายแบบ ที่มาจากแรง
บัลดาลใจ จากเรื่องต่างๆเช่นวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และเป็ นการแสดงที่จบในชุดๆ
เดียว เป็ นต้น ระบา จะแบ่งออกเป็ นสองประเภทคือ
2.1 ระบามาตรฐาน เป็ นระบาที่บรมครูทางนาฏศิลป์ได้คิดค้นไว้ ทั้งเรื่องเพลง บท
ร้อง การแต่งกาย ท่ารา ซึ่งไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้ ระบามาตรฐานจะมีอยู่ทั้งหมด
6ชุด คือ ระบาสี่บท ระบาย่องหงิดหรือยู่หงิด ระบาพรมมาตร ระบาดาวดึงส์ ระบากฤษ
ดา ระบาเทพบันเทิง
2.2 ระบาที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เป็ นระบาที่บรมครูหรือผู้รู้ทางนาฏศิลป์ ได้คิดค้นและ
ปรับปรุงชึ้นมาใหม่ ชึ่งสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามโอกาส อาจเป็ นระบาที่ได้แรงบัล
ดาลใจที่ผู้ประดิษฐ์ต้องการสื่ออาจเป็ นเรื่องของการแต่งกาย วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี
ระบาปรับปรุงมีอยู่หลากหลายเช่น ระบาชุมนุมเผ่าไทย ระบาไกรราศสาเริง ระบาไก่
ระบาสุโขทัย ฯลฯ เป็ นต้น
ฟ้ อน และ เซิ้ง ก็จัดว่าเป็ นระบาที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เพราะผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญทาง
นาฏศิลป์ได้คิดค้นขึ้นมา มีการแต่งการตามท้องถิ่นเพราะการแสดงแต่ละชุดได้เกิดขึ้นมา
จากแรงบัลดาลใจของผู้คิดที่จะถ่ายทอดไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของวิถีชีวิต การแต่งกาย ดนตรี
เพลง และการเรียกชื่อการแสดงนั้น จะเรียกตาม ภาษาท้องถิ่น และการแต่งกายก็แต่ง
กายตามท้องถิ่น เช่นภาคเหนือก็จะเรียกว่าฟ้ อน เช่นป้ อนเล็บ ฟ้ อนเทียน ภาคอิสานก็
จะเรียกและแต่งกายตามท้องถิ่น ทางภาคอิสานเช่น เซิ้งกะติ๊บข้าว เซิ้งสวิง เป็ นต้น การ
แสดงต่างๆล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นมาจากท้องถิ่นและแต่งกายตามท้องถิ่นไม่ได้มีหลักหรือ
เกณฑ์ที่ใช ้กันโดยทั่วไปในวงการนาฏศิลป์ไทยทั่วประเทศสามารถปรับปรุงหรื่อเปลี่ยนแปลง
ได้ตามโอกาสที่แสดง จึงถือว่า การฟ้ อนและการเซิ้งเป็ นระบาที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
3. ละคร คือการแสดงเรื่องราวโดยมีตัวละครต่างดาเนินเรื่องมีผูกเหตุหรือการผูกปมของ
เรื่อง ละครอาจประกอบไปด้วยศิลปะหลายแขนงเช่น การรา ร้อง หรือดนตรี ละครจะแบ่ง
ออกเป็ นสองประเภทได้แก่
3.1 ละครแบบดั้งเดิม มีอยู่สามประเภท คือ โนห์ราชาตรี ละครนอก ละครใน
3.2 ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ มีอยู่หกประเภท ละครดึกดาบรรพ์ ละครพันทาง
ละครเสภา ละครพูด ละครร้อง ละครสังคีต
4. มหรสพ' คือการแสดงรื่นเริง หรือการแสดงที่ใช ้ในงานพิธีต่างๆ มีรูปแบบและวิธีการ
แสดงที่เป็ นแบบแผน เช่น การแสดงโขน หนังใหญ่เป็ นต้น
อ้างอิง : http://th.wikipedia.org/wiki/นาฏศิลป์ ไทย

More Related Content

What's hot

วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
pitak srikhot
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
นาฏยภิรมย์ พูลเจริญฯ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
Panomporn Chinchana
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
Panomporn Chinchana
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
Panomporn Chinchana
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2Kruanchalee
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
ดวงฤทัย ช่วงชัย
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
Decha Sirigulwiriya
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
Kruthai Kidsdee
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
Wuttipong Tubkrathok
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
Boonlert Aroonpiboon
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองพัน พัน
 

What's hot (20)

วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
 

Similar to ใบงานท 2

ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
peter dontoom
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์
leemeanxun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
kalayatookta
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
manasakpoto
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
นาฏศิลป
นาฏศิลปนาฏศิลป
นาฏศิลปpeter dontoom
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
Niran Dankasai
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
peter dontoom
 

Similar to ใบงานท 2 (20)

ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
นาฏศิลป
นาฏศิลปนาฏศิลป
นาฏศิลป
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
เอกสารแจกนักเรียน ม.5
เอกสารแจกนักเรียน ม.5เอกสารแจกนักเรียน ม.5
เอกสารแจกนักเรียน ม.5
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
 

More from bmbeam

สองถ งแปด
สองถ งแปดสองถ งแปด
สองถ งแปดbmbeam
 
ใบงานท 9-16คอม เสร_จจร_งๆ
ใบงานท  9-16คอม เสร_จจร_งๆใบงานท  9-16คอม เสร_จจร_งๆ
ใบงานท 9-16คอม เสร_จจร_งๆbmbeam
 
ใบงานท 2-8 คอม나
ใบงานท   2-8 คอม나ใบงานท   2-8 คอม나
ใบงานท 2-8 คอม나bmbeam
 
งาน 9 16 จ าอ-ง เสร_จแล_วจร_งนะ
งาน 9 16 จ าอ-ง เสร_จแล_วจร_งนะงาน 9 16 จ าอ-ง เสร_จแล_วจร_งนะ
งาน 9 16 จ าอ-ง เสร_จแล_วจร_งนะbmbeam
 
Storyboard55 (1)
Storyboard55 (1)Storyboard55 (1)
Storyboard55 (1)bmbeam
 
ใบงานท 1
ใบงานท   1ใบงานท   1
ใบงานท 1bmbeam
 

More from bmbeam (7)

สองถ งแปด
สองถ งแปดสองถ งแปด
สองถ งแปด
 
ใบงานท 9-16คอม เสร_จจร_งๆ
ใบงานท  9-16คอม เสร_จจร_งๆใบงานท  9-16คอม เสร_จจร_งๆ
ใบงานท 9-16คอม เสร_จจร_งๆ
 
ใบงานท 2-8 คอม나
ใบงานท   2-8 คอม나ใบงานท   2-8 คอม나
ใบงานท 2-8 คอม나
 
งาน 9 16 จ าอ-ง เสร_จแล_วจร_งนะ
งาน 9 16 จ าอ-ง เสร_จแล_วจร_งนะงาน 9 16 จ าอ-ง เสร_จแล_วจร_งนะ
งาน 9 16 จ าอ-ง เสร_จแล_วจร_งนะ
 
Storyboard55 (1)
Storyboard55 (1)Storyboard55 (1)
Storyboard55 (1)
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ใบงานท 1
ใบงานท   1ใบงานท   1
ใบงานท 1
 

ใบงานท 2

  • 1. ใบงานที่ 2 นาฏศิลป์ไทย เป็ นศิลปะการแสดงประกอบดนตรีของไทย เช่น ฟ้ อน รา ระบา โขน แต่ละ ท้องถิ่นจะมีชื่อเรียกและมีลีลาท่าการแสดงที่แตกต่างกันไป สาเหตุหลักมาจากภูมิประเทศ ภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่น ความเชื่อ ศาสนา ภาษา นิสัยใจคอของผู้คน ชีวิตความ เป็ นอยู่ของแต่ละภาค ประวัติ นาฏศิลป์ ไทยเป็ นศิลปะการละครฟ้ อนราและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะ หรือนาฏยะกาหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ 3 ประการ คือ การฟ้ อนรา การดนตรี และการขับร้อง รวมเข้าด้วยกัน ซึ่งทั้ง 3 สิ่งนี้ เป็ นอุปนิสัยของคนมาแต่ดึกดาบรรพ์ นาฏศิลป์ ไทยมีที่มาและเกิดจากสาเหตุแนวคิดต่าง ๆ เช่น เกิดจากความรู้สึก กระทบกระเทือนทางอารมณ์ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งสุข หรือความทุกข ์และสะท้อนออกมาเป็ น ท่าทางแบบธรรมชาติและประดิษฐ์ขึ้นมาเป็ นท่าทางลีลาการฟ้ อนรา หรือเกิดจากลัทธิ ความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ เทพเจ้า โดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการเต้นรา ขับร้องฟ้ อนราให้เกิดความพึงพอใจ เป็ นต้น นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตาม แนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น วัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวรรณกรรมที่ เป็ นเรื่องของเทพเจ้าและตานานการฟ้ อนราโดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทั้งทางตรงและ ทางอ้อมคือผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะนามาปรับปรุงให้เป็ นรูปแบบตาม
  • 2. เอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราชที่สร้างเป็ นท่าการร่ายราของ พระอิศวร ซึ่งมีทั้งหมด 108 ท่า หรือ 108 กรณะ โดยทรงฟ้ อนราครั้งแรกในโลก ฌ ตาบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้ ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดูนับเป็ นคัมภีร์สาหรับ การฟ้ อนรา แต่งโดยพระภรตมุนีเรียกว่าคัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ ถือเป็ นอิทธิพลสาคัญ ต่อแบบแผนการสืบสานและถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็ นเอกลักษณ์ของตนเอง ที่มีรูปแบบ แบบแผนการเรียน การฝึ กหัด จารีต ขนบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน บรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ ไทยได้สันนิษฐานว่า อารยธรรมทางศิลปะ ด้านนาฏศิลป์ ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมันกรุงศรีอยุธยาตารม ประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฏราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1800 ซึ่งเป็ นระยะที่ไทยเริ่มก่อตั้ง กรุงสุโขทัย ดังนั้นท่าราไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็ นความคิดของ นักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีการแก้ไขปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในกรุง รัตนโกสินทร์ จนนามาสู่การประดิษฐ์ท่าร่ายราและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน นาฏศิลป์ไทย แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท 1. รา คือการแสดงที่มุ่งเน้นถึงศิลปะท่วงท่า ดนตรี ไม่มีการแสดงเป็ นเรื่องราว ราบางชุด เป็ นการชมความงาม บางชุดตัดตอนมาจากวรรณคดี หรือบางที่ก็ไม่จาเป็ นที่จะต้องมีเนื้อ เพลงเช่นการราหน้าพาทย์เป็ นต้น ราจะแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทดังนี้ 1.1 ราเดี่ยว เป็ นการแสดงที่มุ่งอวดศิลปะทางนาฏศิลป์อย่างแท้จริงซึ่งผู้ราจะต้องมีผี มือดีเยี่ยม เพราะเป็ นการแสดงที่แสดงแต่เพียงผู้เดียว ราเดี่ยวโดยส่วนมากก็จะเป็ นการรา ฉุยฉายต่างๆ เช่น ฉุยฉายเบญจกาย ฉุยฉายวันทอง ฯลฯ เป็ นต้น
  • 3. 1.2 ราคู่ การแสดงชุดนี้ไม่จาเป็ นจะต้องพร้อมเพียงกันแต่อาจมีท่าที่เหมือนก็ได้ เพราะการราคู่นี้เป็ นการใช ้ลีลาที่แตกต่างกันระหว่างผู้แสดงสองคน เช่น ตัวพระ กับตัวนาง หรือบทบาทของตัวแสดงนั้น ราคู่นี้ก็จะแบ่งออกเป็ นสองประเภท คือ 1.2.1 ราคู่สวยงามจากวรรณคดี เช่น หนุมานจับนาสุพรรณมัจฉา เป็ นต้น 1.2.2 รามุ่งอวดการใช ้อุปกรณ์ เช่าการราอาวุธ รากระบี่กระบอง 1.3 ราหมู่ ราชุดนี้เป็ นการราที่เน้นความพร้อมเพรียง เช่นราอวยพรชุดต่างๆ
  • 4. 1.4 ราละคร คือการราที่ใช ้ในการแสดงละครหรือโขน เป็ นการแสดงท่าทางสื่อ ความหมายไปกับบทร้อง หรือบทละคร และเพลงหน้าพาทย์ต่างๆในการแสดงละคร 2. ระบา คือการแสดงที่มีความหมายในตัวใช ้ผู้แสดงสองคนขึ้นไป คือผู้คิดได้มีวิสัยทัศน์ และต้องการสื่อการแสดงชุดนั้นผ่านทางบทร้อง เพลง หรือการแต่งกายแบบ ที่มาจากแรง บัลดาลใจ จากเรื่องต่างๆเช่นวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และเป็ นการแสดงที่จบในชุดๆ เดียว เป็ นต้น ระบา จะแบ่งออกเป็ นสองประเภทคือ 2.1 ระบามาตรฐาน เป็ นระบาที่บรมครูทางนาฏศิลป์ได้คิดค้นไว้ ทั้งเรื่องเพลง บท ร้อง การแต่งกาย ท่ารา ซึ่งไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้ ระบามาตรฐานจะมีอยู่ทั้งหมด 6ชุด คือ ระบาสี่บท ระบาย่องหงิดหรือยู่หงิด ระบาพรมมาตร ระบาดาวดึงส์ ระบากฤษ ดา ระบาเทพบันเทิง
  • 5. 2.2 ระบาที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เป็ นระบาที่บรมครูหรือผู้รู้ทางนาฏศิลป์ ได้คิดค้นและ ปรับปรุงชึ้นมาใหม่ ชึ่งสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามโอกาส อาจเป็ นระบาที่ได้แรงบัล ดาลใจที่ผู้ประดิษฐ์ต้องการสื่ออาจเป็ นเรื่องของการแต่งกาย วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ระบาปรับปรุงมีอยู่หลากหลายเช่น ระบาชุมนุมเผ่าไทย ระบาไกรราศสาเริง ระบาไก่ ระบาสุโขทัย ฯลฯ เป็ นต้น ฟ้ อน และ เซิ้ง ก็จัดว่าเป็ นระบาที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เพราะผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญทาง นาฏศิลป์ได้คิดค้นขึ้นมา มีการแต่งการตามท้องถิ่นเพราะการแสดงแต่ละชุดได้เกิดขึ้นมา จากแรงบัลดาลใจของผู้คิดที่จะถ่ายทอดไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของวิถีชีวิต การแต่งกาย ดนตรี เพลง และการเรียกชื่อการแสดงนั้น จะเรียกตาม ภาษาท้องถิ่น และการแต่งกายก็แต่ง กายตามท้องถิ่น เช่นภาคเหนือก็จะเรียกว่าฟ้ อน เช่นป้ อนเล็บ ฟ้ อนเทียน ภาคอิสานก็ จะเรียกและแต่งกายตามท้องถิ่น ทางภาคอิสานเช่น เซิ้งกะติ๊บข้าว เซิ้งสวิง เป็ นต้น การ แสดงต่างๆล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นมาจากท้องถิ่นและแต่งกายตามท้องถิ่นไม่ได้มีหลักหรือ เกณฑ์ที่ใช ้กันโดยทั่วไปในวงการนาฏศิลป์ไทยทั่วประเทศสามารถปรับปรุงหรื่อเปลี่ยนแปลง ได้ตามโอกาสที่แสดง จึงถือว่า การฟ้ อนและการเซิ้งเป็ นระบาที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
  • 6. 3. ละคร คือการแสดงเรื่องราวโดยมีตัวละครต่างดาเนินเรื่องมีผูกเหตุหรือการผูกปมของ เรื่อง ละครอาจประกอบไปด้วยศิลปะหลายแขนงเช่น การรา ร้อง หรือดนตรี ละครจะแบ่ง ออกเป็ นสองประเภทได้แก่ 3.1 ละครแบบดั้งเดิม มีอยู่สามประเภท คือ โนห์ราชาตรี ละครนอก ละครใน 3.2 ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ มีอยู่หกประเภท ละครดึกดาบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา ละครพูด ละครร้อง ละครสังคีต
  • 7. 4. มหรสพ' คือการแสดงรื่นเริง หรือการแสดงที่ใช ้ในงานพิธีต่างๆ มีรูปแบบและวิธีการ แสดงที่เป็ นแบบแผน เช่น การแสดงโขน หนังใหญ่เป็ นต้น อ้างอิง : http://th.wikipedia.org/wiki/นาฏศิลป์ ไทย