SlideShare a Scribd company logo
โดย... 
นางสาวทัศนียา ชื่นเจริญ
•เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) 
•อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของพืช 
•การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้าของพืช 
•การลาเลียงน้าของพืช 
•การลาเลียงสารอาหารของพืช 
•การลาเลียงอาหารของพืช
•ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะต่างกัน 
•มีลักษณะร่วมกันคือมีผนังเซลล์ (cellwall) 
•แบ่งได้ออกเป็น 2ประเภทคือ 
1.เนื้อเยื่อเจริญ2.เนื้อเยื่อถาวร
•เป็นกรอบอยู่รอบนอกให้ความแข็งแรงต่อโครงสร้างเซลล์พืช 
•ผนังเซลล์แบ่งออกเป็น 2แบบคือ 
•ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary cell wallหรือ primary wall) 
•ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell หรือ secondary wall)
ผนังเซลล์ปฐมภูมิ 
(primary cell wallหรือprimary wall) 
•เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์เริ่มเจริญเติบโต 
•ประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลส (cellulose) เป็นส่วนใหญ่ 
•ผนังเซลล์ยึดติดกันด้วยมิดเดิลลาเมลลา(middlelamella) ซึ่งเป็นชั้นที่อยู่ตรงกลางระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกัน 
•(middlelamella) ประกอบด้วยเพกทิน(pectin)
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ 
(secondary cell wall หรือ secondary wall) 
•มีการสะสมแบบแทรกอยู่ในผนังเซลล์ปฐมภูมิ และสะสมซ้อนทับเป็นแนวอยู่ระหว่างเซลล์ ปฐมภูมิและเยื่อหุ้มเซลล์ 
•องค์ประกอบทางเคมีที่สาคัญคือลิกนิน(lignin) 
•ทาให้ผนังเซลล์มีความหนาและแข็งแรงมากขึ้น
ภาพผนังเซลล์
(Meristematictissues) 
•ประกอบด้วยเซลล์เจริญ (meristematiccell) 
•มีลักษณะผนังเซลล์บางสม่าเสมอกัน มีขนาดเล็กและอยู่กันอย่าง หนาแน่น 
•มีนิวเคลียสขนาดใหญ่เมื่อเทียบขนาดของเซลล์ 
•แบ่งเซลล์แบบmitosisได้ตลอดชีวิต จาแนกตามกลุ่มได้ 3 ชนิด
•apical root meristem“เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย ราก” เมื่อเจริญจะทาให้รากยาวขึ้น 
•apical shoot meristem“เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย ยอด” เมื่อเจริญจะทาให้ลาต้นยืดยาว สร้างใบ และกิ่งก้าน 
•เนื้อเยื่อเจริญส่วนนี้จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นต้น (primary growth) 
(apical meristem)
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem) 
•เนื้อเยื่อเจริญที่บริเวณเหนือข้อล่างหรือโคนของปล้องบนของ ลาต้น 
•พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และก้านของช่อดอกบางชนิด เช่นหญ้า ข้าว ข้าวโพด อ้อย ไผ่ 
•มีหน้าที่แบ่งเซลล์เพื่อให้ส่วนปล้องหรือก้านช่อดอกยืดยาวขึ้น 
•จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นต้น (primary growth)
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem) 
•เนื้อเยื่อเจริญด้านข้างหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “แคมเบียม” (cambium) พบในรากและลาต้น 
•เซลล์รูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้า ผนังเซลล์บาง เรียงตัวเป็นระเบียบอยู่ใน แนวขนานกับเส้นรอบวง 
•มีการแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนออกทางด้านข้าง ทาให้รากและลาต้นขยาย ใหญ่ขึ้น เนื้อเยื่อเจริญส่วนนี้จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นที่2(secondary growth) 
•พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทุกชนิด และใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หมากผู้ หมากเมีย จันทน์ผา
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem) 
•แบ่งเป็น 2 ชนิด 1) วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular cambium) : แทรกอยู่ ระหว่าง xylemและpholemเมื่อแบ่งเซลล์ทาให้เกิดเนื้อเยื่อท่อ ลาเลียง (vascular tissue) เพิ่มขึ้น 2) คอร์กแคมเบียม (cork cambium)หรือ Phellogen : อยู่ ในเนื้อชั้นผิว (epidermis) หรืออยู่ถัดเข้าไป พบในชั้น cortex เมื่อ แบ่งเซลล์จะทาให้เกิดเนื้อเยื่อcorkหรือ phellem(ด้านนอก) และ เนื้อเยื่ออื่นๆ phelloderm (ด้านใน)
(Permanent tissue) 
•ประกอบด้วยเซลล์ที่แบ่งตัวไม่ได้ เปลี่ยนแปลงและพัฒนามาจาก Meristematictissues 
•มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง กล่าวคือ จะคงรูปร่างลักษณะเดิมไว้ตลอด แต่จะเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อไปทาหน้าที่จาเพาะ 
•จาแนกตามลักษณะของเซลล์ที่มาประกอบกันจาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ
(Simple Permanent tissue) 
-เป็นเนื้อเยื่อถาวรที่ประกอบด้วย เซลล์ชนิดเดียวกันล้วน ๆ 
(มีต้นกาเนิดจากเนื้อเยื่อเดียวกัน) 
-จาแนกออกเป็นหลายชนิด คือ 
-Epidermis 
-Parenchyma 
-Collenchyma 
-Sclerenchyma 
-Cork
Epidermis 
-เป็น simple tissue ที่อยู่ผิวนอกสุดของส่วนต่าง ๆ ของพืช (ถ้าเปรียบกับตัวเรา ก็คือ หนังกาพร้านั่นเอง) 
-ส่วนใหญ่ในลาต้นและใบจะมีความหนาเพียงหนึ่งชั้นเซลล์ 
-ประกอบด้วยเซลล์ที่มีชีวิต คือ epidermal cell และ guard cell แต่ในรากจะพบ root hair cell 
-ผนังเซลล์ด้านนอกหนากว่าด้านใน 
และมีสารพวก cutin มาเคลือบ 
เพื่อลดการคายน้า
Epidermis 
-ช่วยป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อที่อยู่ข้างใน และช่วย เสริมสร้างความแข็งแรงด้วย 
-ช่วยป้องกันการระเหย (คาย) น้า (เพราะถ้าพืชเสียน้า ไปมากจะเหี่ยว) และช่วยป้องกันน้าไม่ ให้ซึมเข้าไปข้างในด้วย (เพราะถ้าได้รับน้ามากเกินไป จะเน่าได้ ) -ช่วยในการแลกเปลี่ยนแก๊สทั้งไอน้า 
คาร์บอนไดออกไซด์ และออกซิเจน โดยทางปากใบ -ช่วยดูดน้าและเกลือแร่
Parenchyma 
-เป็น Simple tissue ที่ประกอบด้วย Parenchyma Cell 
-ซึ่งเป็นเซลล์พื้นทั่ว ๆ ไป และพบมากที่สุดในพืชโดยเฉพาะ ส่วนที่อ่อนนุ่มและอมน้าได้มาก 
-เช่น ในชั้น Cortex และ Pith ของรากและลาต้น 
-เป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่ 
-มีรูปร่างหลายแบบ แต่ส่วนใหญ่ทรงกระบอกกลม หรือ ทรงกระบอกเหลี่ยมด้านเท่า อาจกลมรี มี cell wall บาง ๆ 
-การเรียงตัวของเซลล์ทาให้เกิด intercellular space
Parenchyma 
-ช่วยสังเคราะห์แสง -สะสมอาหาร (พวกแป้ง โปรตีน และไขมัน ) น้า -สร้างน้ามันที่มีกลิ่นหอมหรืออื่นๆ 
ตามแต่ชนิดของพืชนั้น ๆ -บางส่วนช่วยทาหน้าที่หายใจ
Collenchyma 
-เป็น Simple tissue ที่ประกอบด้วย Collenchyma cell 
-พบมากในบริเวณ Cortex ใต้ epidermis ลงมา ในก้านใบ เส้นกลางใบ 
-เป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่ 
-เซลล์อัดแน่น ขนาดของเซลล์ส่วนมากเล็ก หน้าตัดมักเป็นรูป สี่เหลี่ยมแต่ยาวมาตามความยาวของต้น และปลายทั้งสองเสี้ยม หรือตัดตรง 
-ช่วยทาให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยู่ได้ -ช่วยป้องกันแรงเสียดทานด้วย
Collenchyma
Sclerenchyma 
-เป็น Simple tissue ที่ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ซึ่งมีลักษณะทั่วๆ 
-เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว (ตอนเกิดใหม่ ๆ ยังมีชีวิต) 
-Cell wall หนามากประกอบขึ้นด้วย cellulose และ lignin(ติด 
สีได้ดี) 
-เนื้อเยื่อชนิดนี้แข็งแรงมากจัดเป็นโครงกระดูกของพืช 
-จาแนกออกได้เป็น 2ชนิดตามรูปร่างของเซลล์ คือ
Sclerenchyma
Fiber 
Sclerenchyma 
-เรามักเรียกว่าเส้นใย 
-ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว 
-มีลักษณะเรียวและยาวมากปลายทั้งสองเสี้ยม 
หรือค่อนข้างแหลม 
-มีความเหนียวและยึดหยุ่นได้มาก 
จะเห็นได้จากเชือกที่ทาจากลาต้น 
หรือใบของพืชต่าง ๆ
Stone cell 
-ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว 
-มีลักษณะคล้ายกับไฟเบอร์ แต่เซลล์ไม่ยาวเหมือนไฟเบอร์ เซลล์อาจจะสั้นกว่าและป้อม ๆ อาจกลมหรือเหลี่ยมหรือเป็น ท่อนสั้น ๆ รูปร่างไม่แน่นอน 
-พบอยู่มากตามส่วนแข็ง ๆ ของพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่งตาม เปลือกของเมล็ดหรือผลไม้ เช่น กะลามะพร้าว เมล็ดพุทรา เมล็ดแตงโม หรือ ในเนื้อของผลไม้ที่เนื้อสาก ๆ เช่น เสี้ยนใน เนื้อของลูกสาลี่ เนื้อน้อยหน่า ฝรั่ง 
เนื้อเยื่อเจริญ 
เชิงเดี่ยว
Cork 
-เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอกสุด ของลาต้นและรากใหญ่ ๆ ที่แก่แล้วของไม้ยืนต้น 
-ได้จากการแบ่งเซลล์ของ cork cambium 
เมื่อมีการเจริญเติบโตขั้นที่ 2ทางด้านนอก 
-เกิดในชั้นของ bark
เพิ่มเติม: Endodermis 
-พบเฉพาะในรากนั้น 
-มีลักษณะเหมือนกับ epidermis ยกเว้นตาแหน่งที่พบ 
-อยู่ด้านในสุดของชั้น cortex ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวเป็นแถวเดียว 
-มีสารพวก wax (suberinlignin pectin)มาเคลือบ 
-จะเห็นแถบสีเข้มเรียกว่า casparianstrip 
-casparianstrip ไม่สามารถลาเลียงน้าและแร่ธาตุได้ 
-แต่บริเวณที่ไม่มี waxมาเคลือบ จะมีสีจางสามารถลาเลียงน้าและ 
แร่ธาตุได้เรียกว่า passage cell
SUMMARY 
1.Epidermis + Cork = Protective tissue (เนื้อเยื่อถาวรป้องกัน) 
2.Cork, Cork cambium + Phelloderm = Periderm 
(Epidermis Cork(phellem) Cork cambium(phellogen) phelloderm) 
3.Parenchyma + Collenchyma + Sclerenchyma + Endodermis (root) = Ground tissue (เนื้อเยื่อพื้น) อยู่รวมกันเรียกว่า Cortex
(ComplexPermanent tissue) 
-เป็นเนื้อเยื่อถาวรที่ประกอบขึ้นด้วย เซลล์หลายชนิดอยู่ รวมกันเป็นกลุ่มก้อน เพื่อทางานร่วมกัน 
-เนื้อเยื่อลาเลียงประเภทนี้คือ Vascular tissue (เนื้อเยื่อลาเลียง) 
-อยู่รวมกันเป็นมัดๆ เรียกว่า Vascular bundle 
-ประกอบขึ้นด้วย 
-Xylem 
-Phloem
เนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ 
(Xylem) 
-ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ทาหน้าที่หลักในการลาเลียงน้า และแร่ธาตุ (สารอนินทรีย์) คือ 
1. เทรคีด (Tracheid) 
-เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีรูปร่างยาวปลายค่อนข้างแหลม 
-ผนังเซลล์มีสารพวก lignin 
-ไม่พบในพืชมีดอก (พบในพืชชั้นต่า-เมล็ดเปลือย) 
-เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะตาย
2. เวสเซล เมมเบอร์ (Vesel member) 
-เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีผนังหนา มีสารพวกลิกนิน 
-เซลล์มีรูปร่างยาวหรือสั้นปลาย ลักษณะเป็นทรงกระบอก 
-เซลล์อาจเฉียงหรือตรงและมีช่องทะลุถึงกัน (ปลายสุดมี 
ลักษณะเป็นรู) 
-เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะตาย เรียกเวสเซลเมมเบอร์ 
-หลายเซลล์มาเลียงต่อกันและมีช่องทะลุถึงกันว่าเวสเซล 
(Vesel) มีลักษณะคล้ายกับท่อน้า 
-สามารถลาเลียงน้าได้สะดวกกว่า Trachied มาก 
เนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ 
(Xylem)
3. ไซเล็มพาเรงคิมา (Xylem parenchyma) 
-เป็นเซลล์parenchyma ที่พบในเนื้อเยื่อลาเลียงน้า และแร่ธาตุ ซึ่งยังมีชีวิตอยู่ 
-ช่วยลาเลียงออกทางด้านข้างเรียกว่า Xylem ray4. ไซเล็มไฟเบอร์ (Xylem fiber) 
-เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่พบในในเนื้อเยื่อลาเลียงน้าและ แร่ธาตุ ซึ่งไม่มีชีวิต มีหน้าที่เสริมความแข็งแรง 
เนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ 
(Xylem)
ทาหน้าที่ในการลาเลียงอาหารโดยลาเลียงในรูปของ น้าตาลซูโครส ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่มีชีวิตเป็นส่วนใหญ่ 1. ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (Sieve tube member) 
-เป็นเซลล์หลักในการลาเลียงอาหาร 
-รูปร่างทรงกระบอกยาวที่ปลายผนัง 2 ด้านจะมีรูพรุนคล้าย 
ตะแกรงเรียกซีฟเพลต (Seive plate) 
-ซีฟทิวบ์เมมเบอร์หลายเซลล์มาเรียงต่อกันเรียกว่าซีฟทิวป์ 
(Sieve tube) -เมื่อโตเต็มที่นิวเคลียสจะสลายไป (ไม่มีนิวเคลียส)เพื่อให้การ 
ลาเลียงอาหาร มีประสิทธิภาพมากขึ้น 
เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร 
(Phloem)
2.คอมพาเนียนเซลล์(Companioncell) 
-เป็นเซลล์ที่อยู่ติดกับSieve tube member (ด้านข้าง) 
-มีต้นกาเนิดมาจากที่เดียวกับ Sieve tube member 
-เซลล์มีชีวิตโดยทาหน้าที่สร้างสารที่จาเป็นส่งให้กับ 
Sieve tube memberซึ่งไม่มีนิวเคลียส 
-ควบคุมกระบวนการ metabolism ต่างๆของ Sieve 
element 
-เป็นเซลล์ที่ช่วยในการลาเลียงอาหาร และสามารถเจริญ 
เป็น Sieve tube ได้ 
เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร 
(Phloem)
3. โฟลเอ็มพาเรงคิมา (Phloem parenchyma) 
-เป็นเซลล์parenchyma 
-พบอยู่ในเนื้อเยื่อphloem 
-ช่วยในการลาเลียงออกด้านข้าง 
-เซลล์มีชีวิต 4. โฟลเอ็มไฟเบอร์(Phloem fiber) 
-เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่พบในเนื้อเยื่อPhloem 
-เซลล์ไม่มีชีวิต 
เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร 
(Phloem)
โครงสร้างและหน้าที่ของราก 
โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของพืช
Structure and function of root 
-ดูดน้าและแร่ธาตุ (absorption) 
-ลาเลียงสารต่างๆ (น้า/เกลือแร่) (transportation) 
-สะสมอาหารบางชนิด 
-ยึดพยุงลาต้น(anchorage) 
-สามารถสังเคราะห์แสงได้
The root of Structure 
1.Monocot root (ในการทดลองใช้ต้นข้าวโพด) 
-มีการงอกของรากจากจุดเดียวกันหลายราก (seminal root) 
-seminal root จะพัฒนาไปเป็น fibrous root (รากฝอย) 
2. Dicotroot (ในการทดลองใช้ต้นถั่วเขียว) 
-มีรากเดียวงอกออกมา จะพัฒนาไปเป็น tap root 
-มีรากอื่นๆงอกออกมาจากรากเดิม
The root of Structure 
•การงอกของรากทั้งสองชนิดมีความแตกต่างกัน แต่เรียกส่วนที่งอก ออกมาเหนือเมล็ดเหมือนกันว่า redicle 
•redicle จะงอกออกมาจากรอยแผลเป็นที่เรียกว่า hilum (ขั้วเมล็ด)
Structure and function of root
1. บริเวณหมวกราก (Root cap) 
2.บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว(Region of cell division) 
3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 
4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) 
โครงสร้างตามยาวของราก 
แบ่งได้ 4บริเวณ คือ
บริเวณหมวกราก 
(Root cap) 
•เป็นบริเวณที่อยู่ปลายสุดของราก 
•ประกอบด้วยเซลล์Parenchyma เรียงตัวกันอย่างหลวมๆ ผนังค่อนข้างบาง มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ 
•สามารถผลิตเมือกได้ ทาให้หมวกรากชุ่มชื้น และอ่อนตัว สะดวกต่อการชอนไช 
•สามารถป้องกันอันตรายให้กับบริเวณที่อยู่เหนือขึ้นไปได้
1. บริเวณหมวกราก (Root cap) 
2.บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว(Region of cell division) 
3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 
4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) 
โครงสร้างตามยาวของราก 
แบ่งได้ 4บริเวณ คือ
Structure and function of root
บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว (Region of cell division) 
•อยู่ถัดจากรากขึ้นมาประมาณ 1-2 mm 
•เป็นบริเวณของเนื้อเยื่อ Apical meristem 
•มีการแบ่งเซลล์แบบmitosis เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ (อัดแน่น) และมีขนาดเล็กกว่าบริเวณที่อยู่สูงขึ้นไป 
•โดยส่วนหนึ่งเจริญเป็น root cap อีกส่วนเจริญเป็น เนื้อเยื่อที่อยู่สูงถัดขึ้นไป (กลุ่มเซลล์ที่มีความยาวมากขึ้น)
1. บริเวณหมวกราก (Root cap) 
2.บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว(Region of cell division) 
3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 
4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) 
โครงสร้างตามยาวของราก 
แบ่งได้ 4บริเวณ คือ
Structure and function of root
บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 
•อยู่ถัดจากบริเวณเซลล์มีการแบ่งตัว 
•เป็นบริเวณที่เซลล์มีการยืดยาวขึ้น 
•จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นต้น (primary growth)
1. บริเวณหมวกราก (Root cap) 
2.บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว(Region of cell division) 
3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 
4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) 
โครงสร้างตามยาวของราก 
แบ่งได้ 4บริเวณ คือ
Structure and function of root
บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ 
(Region of cell differentiation and maturation) 
•ประกอบด้วยเซลล์ถาวรต่างๆ ซึ่งที่มีการ เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ 
•มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อไปทาหน้าที่เฉพาะตามรูปร่าง โครงสร้าง และตาแหน่งที่พบ 
•มีการพัฒนาบางเซลล์เป็นขนราก (Root hair cell) 
•จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นที่ 2 (secondary growth)
โครงสร้างของราก 
ตามภาคตัดขวาง 
•Epidermisเจริญมาจาก Protoderm 
•Cortex เป็นเนื้อเยื่อพื้นที่เจริญมาจาก Ground meristem 
•Steleประกอบด้วย Pericycle(ระหว่าง endodermis กับ 
vascular tissue)และ Vascular bundle 
น่ารู้ : 
รากต้องมี xylem and phloem ถ้าไม่มีจะ เรียกว่า Rhizoid (รากเทียม)
•Vascular bundle : 
•Xylemจะมีลักษณะเป็นแฉกอยู่ตรงกลาง 
•Phloemจะอยู่ระหว่างแฉกของ Xylem 
•การจัดเรียงมัดท่อลาเลียงใน monocot and dicot 
•Dicotจะมีแฉก 2-5 แฉก ตรงกลางเป็น Xylem 
•Monocotจะมีแฉกหลายแฉก ตรงกลางเป็น pith 
(เนื้อเยื่อพวก perenchyma) 
การจัดเรียงของ 
มัดท่อลาเลียงในรากของพืช
Monocot root cross section
Monocot root cross section 
pith 
xylem 
phloem 
cortex 
Pericycleand seconderyroot
Dicotroot cross section
•Apical meristem 
•Protodermเจริญเป็น Epidermis 
•Ground meristemเจริญเป็น Ground tissue 
ในชั้น cortex and Endodermis 
•Procambiumเจริญเป็น Primary vascular (Primary xylem and Primary Phloem) 
Primary growth of root 
Secondary growth of root 
•มีการเจริญเติบโตของ cambium
•ระบบรากแก้ว (Tap root system) 
•พบใน dicot 
•ระบบรากฝอย (Fibrous root system) 
•พบใน monocot 
Root system
เปรียบเทียบระหว่างรากของ momocotand dicot 
Dicotroot 
Monocot root 
Xylem 
จะเป็นแฉก 2-5 แฉก 
มีมากกว่า 5 แฉก 
vascular cambium 
มี 
ไม่มี 
Endodermis 
ไม่ชัดเจน 
ชัดเจน 
ตรงกลางราก 
Xylem ทั้งหมด 
pith 
ระบบราก 
tap root 
fibrous root 
การงอกของราก 
มีรากเดียวแล้วมีราก อื่นงอกออกมา 
รากงอกออกมาหลาย รากจากจุดเดียวกัน
SUMMARY : การเกิดเนื้อเยื่อ ที่เกิดจาก vascular cambium 
Inner 
Outer 
Vascular cambium 
Secondary xylem 
Primary xylem 
Secondary phloem 
Primary phloem
Epidermiscortexendodermispericycle 
Vascular cambium Secondary phloemPrimary phloem 
Secondary xylemPrimary xylem 
SUMMARY : เนื้อเยื่อของรากเมื่อเรียงลาดับจาดด้านนอกเข้าไปด้านใน 
เมื่อเกิด secondary growth
•Radicle เป็นส่วนที่เจริญออกมาจากเมล็ดเป็นอันดับแรก 
•รากพิเศษ (adventitious root) 
•เป็นรากที่ไม่ได้เกิดจาก tap root แต่เกิดจากส่วน อื่นๆของพืช 
•เช่น fibrous root ที่พบใน monocot 
•มีลักษณะที่ขนาดเท่าๆกัน 
•พบในกิ่งตอน 
หน้าที่และชนิดของรากพิเศษ
หน้าที่รากพิเศษ 
•1. รากค้าจุน (Prop root:support root) 
•เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อของลาต้น ที่อยู่ใต้ดิน และเหนือดินขึ้นมาเล็กน้อย 
•พุ่งแทงลงไปในดิน เพื่อพยุงลาต้นเอาไว้ไม่ให้ล้มง่าย 
•เช่นรากค้าจุนของต้นข้าวโพด ต้นลาเจียก 
ต้นโกงกาง
ตัวอย่าง
หน้าที่รากพิเศษ 
•2. รากเกาะ (Climbing root) 
•เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อของลาต้นแล้วมา เกาะตามหลักหรือเสา 
•เพื่อพยุงลาต้นให้ติดแน่นและชูลาต้นขึ้นที่สูง 
•เช่นรากของพลู พลูด่าง กล้วยไม้
ตัวอย่าง
หน้าที่รากพิเศษ 
•3. รากสังเคราะห์แสง (photosynthtic root) 
•เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อของลาต้น แล้วห้อยลง มาในอากาศ มีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ 
•เป็นรากที่ทาหน้าที่สังเคราะห์แสง 
•เช่น รากกล้วยไม้ที่มีสีเขียวเฉพาะรากอ่อน หรือปลาย รากที่แก่เท่านั้น รากของไทร โกงกาง มีสีเขียวเฉพาะ ตรงที่ห้อยอยู่ในอากาศ ส่วนที่ไซลงไปในดินแล้วไม่ มีสีเขียวเลย
ตัวอย่าง
หน้าที่รากพิเศษ 
•4. รากหายใจ (Respiratory root) 
•รากพวกนี้เป็นแขนงงอกออกจากรากใหญ่ที่แทง ลงไปในดินอีกทีหนึ่ง 
•แต่แทนที่จะงอกลงไปในดิน กับชูปลายขึ้นมา เหนือดินหรือผิวน้า บางทีก็ลอยตามผิวน้า 
•เช่นรากของแพงพวย ลาพู
ตัวอย่าง
หน้าที่รากพิเศษ 
•5. รากกาฝาก (Parasitic root) 
•เป็นรากของพืชบางชนิดที่เป็นปรสิต 
•เช่นรากของต้นกาฝาก และต้นฝอยทอง
หน้าที่รากพิเศษ 
•6. รากสะสมอาหาร (storage root) 
•เป็นรากที่ทาหน้าที่ในการสะสมอาหารประเภท แป้ง น้าตาลหรือ โปรตีนเอาไว้ 
•ทาให้มีลักษณะอวบอ้วนเรามักเรียกว่า หัว 
•เช่น หัวแครอท หัวผักกาด หัวมันเทศ หัวมันแกว มันสาปะหลัง กระชาย
ตัวอย่าง
หน้าที่รากพิเศษ 
•7.รากที่เปลี่ยนแปลงไปเป็น(modified root) 
•เปลี่ยนแปลงไปเป็นทุ่น (floating root) 
•เช่น ผักกะเฉด
Root modification 
หน้าที่ 
พบใน 
Storage root 
สะสมอาหาร 
มันเทศ แครอทไชเท้า มันแกว มันสาปะหลัง 
Photosynthetic 
สังเคราะห์ด้วยแสง 
รากกล้วยไม้ 
Aerial Root (Prop/Stilt root) 
รากที่เจริญมาจาก ด้านบนลงด้านล่าง หรือ ที่เรียกว่า รากอากาศ 
โกงกาง แสม ลาพู ข้าวโพด ไทร เตย กล้วยไม้ 
Buttress root 
รากโคนต้น แผ่นเป็นสัน บริเวณโคนต้น 
งิ้ว ตะแบก กระบาก 
Pnematophore 
รากหายใจ 
โกงกาง แสม ลาพู 
Parasitic root (Haustoria) 
รากชอนไช เข้าทะลุถึง เนื้อเยื่อพืชอื่นๆ 
กาฝาก ฝอยทอง
โครงสร้างและหน้าที่ของราก 
โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของพืช
•นักเรียนคิดว่าระหว่างข้อและปล้องของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่ พวกใดที่เห็นข้อปล้องชัดเจนว่ากันเพราะเหตุใด 
โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 
•เพราะพืชใบเลี้ยงคู่มีการเจริญเติบโตขั้นที่สอง ซึ่งเป็นการเจริญออกทางด้านข้างทาให้ปิดทับบริเวณข้อ 
•แต่นักเรียนสามารถสังเกตบริเวณที่เป็นข้อของพืชใบเลี้ยงคู่ บริเวณที่แตกกิ่งและใบ
Structure and function ofstem
•เจริญมาจากต้นอ่อน(Embryo) ส่วนเอพิคอลทิล (Epicotyle) และส่วนไฮโพคอลทิล(Hypocotyl) 
•ลาต้นจะแตกต่างจากรากตรงที่มีข้อ(node) ปล้อง (Internode) ตา (bud) และยอด(Apical bud) 
•การเจริญเติบโตจะเป็นแบบ negative geotropism or negative gravitropism และ positive 
phototropism จะเกิดขึ้นตรงข้ามกับราก 
Structure and function ofstem
โครงสร้างของลาต้นจากปลายยอดแบ่งเป็น4 ส่วน 
1. เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด 
(Apical meristem) 2. ใบเริ่มเกิด 
(Leaf primordium) 
3. ใบอ่อน(Young leaf) 
4. ลาต้นอ่อน 
(Young stem) 
โครงสร้างของลาต้น
•มีการแบ่งเซลล์แบบ mitosis ได้ตลอดเวลา 
•บริเวณนี้มีการยืดยาวมากที่สุด 
•จัดเป็นการเจริญเติบโตแบบ 
primary growth 
(Apical meristem)
•อาศัยทางด้านข้างของเนื้อเยื่อส่วนปลายยอด 
•จะเจริญเติบโตไปเป็นใบอ่อน 
•มีการขยายตัวตามยาวทางด้านข้าง 
(Leaf primordium)
•อยู่รอบนอกของใบเริ่มเกิด 
•บริเวณซอกใบจะมีตาแรกเกิด 
•ใบอ่อนสามารถแบ่งเซลล์ได้ 
•ใบบริเวณนี้ยังไม่เหมาะกับการสร้างอาหาร 
(Young leaf)
•เป็นบริเวณที่อยู่ต่ากว่าใบเริ่มเกิด 
•บางบริเวณมีการเพิ่มจานวนและขยายตามยาวได้ 
•บริเวณที่เจริญเติบโตเต็มที่จะมีการขยายขนาดทางด้านข้าง 
secondary growth 
(Young stem)
โครงสร้างภาคตัดขวางของลาต้นมี3 ชั้นคล้ายกันกับราก คือ 1. ชั้นเอพิเดอร์มิส(Epidermis) 2. ชั้นคอร์เท็กซ์(Cortex) 3. ชั้นสตีล(Stele) 
โครงสร้างภายในของลาต้น
โครงสร้างภายในของลาต้น
•เหมือนกับใน root 
•เนื้อเยื่อบางเซลล์เจริญไปเป็นหนามหรือขน 
•พืชที่มีอายุมากชั้นนี้จะสลายหายไป 
(Epidermis) 
•อยู่ถัดจากชั้น epidermis เข้ามาด้านใน 
•ชั้นนี้จะแคบมากจนไม่สามารถแยกชั้นจากชั้น stele ได้ 
•ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ parenchyma และ collenchyma 
(Cortex)
•กว้างกว่าชั้น cortex 
•ประกอบด้วย -Vascular bundle ได้แก่Xylem Phloem 
•การจัดเรียงตัวจะแตกต่างกันคือ 
1.Monocot stem : เรียงไม่เป็นระเบียบ กระจัดกระจาย รอบๆลาต้น 
2.Dicot stem : เรียงเป็นระเบียบตามแนวรัศมีของลาต้น 
-Vascular ray 
เป็นเนื้อเยื่อ parenchyma เห็นเป็นแนวขนานกับรัศมี 
อยู่ระหว่าง cortex กับpith 
(Stele)
-Pith 
เป็นไส้อยู่ในสุด (เมื่ออายุยังน้อย) 
เมื่ออายุมากขึ้นจะพัฒนาไปดังนี้ 
monocot stem เปลี่ยนแปลงเป็น pith cavity 
dicot stem เปลี่ยนแปลงเป็น primary xylem 
(Stele) ต่อ
เปรียบเทียบระหว่างลาต้นของ monocot and dicot 
ข้อเปรียบเทียบ 
monocotstem 
Dicotstem 
Vascular bundle 
กระจัดกระจาย 
เรียงเป็นระเบียบ 
ใจกลางลาต้น 
pith cavity 
xylem 
Vascular cambium 
ไม่มี 
มี 
Secondary growth 
ไม่เกิด 
เกิด 
การรวมตัวของ เนื้อเยื่อชั้น cortex 
Cortex กับ phloem เป็นเปลือกไม้ 
Cortex กับ phloem เป็นเปลือกไม้
•การสร้าง xylem ในรอบปี จะสร้างได้ดีไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับฤดูกาลและน้า ที่ได้รับ 
–Spring wood xylem จะมีแถบกว้างสีจาง 
–Summer wood xylem จะมีแถบแคบสีเข้ม 
•แถบสีเข้มจางสลับกันรียกว่า วงปี (annual ring) 
หรือวงเจริญเติบโต (growth ring) ในแต่ละปี 
จะได้ 1 วง 
สาระน่ารู้
•ลาต้นพืช (โดยเฉพาะ dicot) เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่บริเวณที่เป็นไส้ จะมี สารอินทรีย์ และ ขี้ผึ้ง (wax) ทาให้ท่อลาเลียงอุดตันไม่สามารถลาเลียงได้ เรียกว่า แก่นไม้ (heart wood) 
•ส่วนท่อลาเลียงที่อยู่รอบๆ ลาแลเยงได้เรียกว่า กระพี้ไม้(sap wood) 
สาระน่ารู้ 
heart wood 
sap wood 
wood 
= 
+ 
Wood คือชั้นของเนื้อไม้ เป็น xylem ทั้งหมด
•หน้าที่หลัก 
1. produce new living คือ เป็นแหล่งสร้างเนื้อเยื่อใหม่ เช่น กิ่ง ใบ ดอก ผล 
2. support คือเป็นแกนสาหรับพยุงลาต้น และค้าจุนให้กิ่ง ก้าน ใบ แผ่ออกเพื่อรับแสง 
3. transport คือ เป็นตัวกลางในการลาเลียงน้า แร่ธาตุ และ สารอาหารอื่นๆที่พืชสร้างขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช 
หน้าที่ของลาต้น
stem modification
หน้าที่ 
พบใน 
Stolon 
ลาต้นที่เจริญในแนวราบ ไหลไป ขยายพันธุ์ ได้ 
สตรอเบอรี่ หญ้า บัวบก ผักแว่น ผักตบชวา 
Thorny stem 
ลาต้นที่เจริญเป็นหนาม 
ส้ม เฟื่องฟ้า กุหลาบ 
Cladode 
ลาต้นคล้ายใบ 
กระบอกเพชร แก้วมังกร สลัดได 
Stem tendril 
ลาต้นมือเกาะ 
ตาลึง องุ่น แตงกวา พวงชมพู 
Subteraneanstem 
ลาต้นใต้ดิน แบ่งได้หลายชนิด 
1.Tuber กลมรี มีตาโดยรอบ สะสมแป้ง จานวนมาก 
2.Corm กลมสั้น อวบ มีขอปล้องชัดเจน มีตาตามข้อ 
3.Rhizome เหง้า มีข้อปล้อง ใบ ข้อตา 
1.Bulb โผล่พ้นดินบ้าง ปล้องสั้น มีราก ฝอยมาก 
มันฝรั่ง มันมือเสือ 
เผือก แห้ว ซ่อนกลิ่นฝรั่ง(ลินลี่) 
ขิง ข่า พุทธรักษา ขมิ้น ไพล 
หญ้าคา 
หอม กระเทียม พลับพลึง
•แบ่งตามลักษณะของลาต้นได้ 3 ชนิด คือ 
1.Tree : ไม้ยืนต้น มีเนื้อไม้ 
2.Shrub : ไม้พุ่ม 
3.Herb : ไม้ล้มลุก 
•แบ่งโดยใช้พื้นดินเป็นเกณฑ์ 2 ชนิด คือ 
1.ลาต้นเหนือดิน บางส่วนไม่ใช้ลาต้นแต่เป็นใบ (sheath) เช่น กาบกล้วย 
2.ลาต้นใต้ดิน เช่น แง่ง เหง้า root stook (หน่อกล้วย) tuber (มันมือเสือ) 
ชนิดของลาต้น
เปรียบเทียบระหว่างroot กับstem
ข้อเปรียบเทียบ 
root 
stem 
การตอบสนอง 
positive phototropism 
negative geotropism 
Pericycle 
มี 
ไม่มี 
Epidermis 
เปลี่ยนเป็น root hair 
เปลี่ยนเป็นขนหรือหนาม 
ข้อ ปล้อง ตา 
ไม่มี 
มี 
การเกิดของ xylem 
เกิดครั้งแรกอยู่ใจกลาง ราก 
ไม่ได้อยู่ใจกลางเพราะเกิด pith ก่อน 
Apical meristem 
Root cap หุ้ม 
bud scale leaf 
หุ้มตาแรกเกิด 
Endodermis 
เห็นชัดเจน 
เห็นไม่ชัดเจน 
ชั้น Cortex 
กว้างมาก 
แคบกว่า 
ชั้น stele 
แคบ 
กว้าง
โครงสร้างและหน้าที่ของราก 
โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
•เป็นอวัยวะที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้างโดยมีตาเหน่งอยู่ที่ข้อ ปล้องของต้นและกิ่งใบ 
•ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ 
•รูปร่างและขนาดของใบแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช 
•หน้าที่หลักของใบคือใช้ในการสังเคราะห์แสง การหายใจและ การคายน้า 
Structure and function ofleaf
ส่วนประกอบของใบมี 3ส่วนคือ 
1. แผ่นใบ ( blade หรือ lamina ) 
2. ก้านใบ ( petiole ) 
3. หูใบ ( stipule ) 
ลักษณะโครงสร้างภายนอกของใบ
แผ่นใบ 
ก้านใบ 
หูใบ 
เส้นใบ 
เส้นใบแบบร่างแห 
เส้นกลางใบ
แผ่นใบ 
ก้านใบ 
หูใบ 
เส้นใบ 
เส้นใบแบบร่างแห 
เส้นกลางใบ
•ส่วนที่แผ่แบนออกเป็นแผ่นซึ่งอาจมีรูปร่างแตกต่าง กันไปหลายแบบ 
•จะแผ่แบนเพื่อรับแสง 
•บางชนิดม้วนงอ (ลดการคายน้าเพราะอยู่บริเวณ ป่าชายเลน : ใบแสม) 
แผ่นใบ ( blade หรือ lamina )
•ติดกับแผ่นใบตรงฐานใบ 
•ยกเว้นบางชนิดก้านใบติดตรงกลางหรือตรงด้านใน ของแผ่นใบ 
•ก้านใบสั้น ยาวไม่เท่ากัน หรือไม่มีก้านใบเลย เรียก sessile leaf 
•ก้านใบโดยมากมีลักษณะกลม 
•ใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด ก้านใบแผ่หุ้มลาต้นเรียก กาบใบ ( leaf sheath ) 
ก้านใบ ( petiole )
•ส่วนที่เจริญออกจากฐานใบ อยู่ตรงโคนก้านใบ 
•ถ้าเป็นหูใบของในย่อย ( leaflet ) เรียกหูใบย่อย ( stiple ) 
•หูใบมีลักษณะเป็นริ้ว หนามหรือต่อมเล็ก ๆ ส่วนใหญ่มีสีเขียว 
•หูใบมีรูปร่างขนาดและสีต่างกัน 
•ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้กับตาอ่อน 
•พบมีทั่วไปในพืชใบเลี้ยงคู่ แต่ไม่ค่อยพบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ถ้า มีหูใบเรียกว่า สติพูเลท (stipulate leaf) ถ้าไม่มีหูใบเรียก เอกสติพูเลท (exstipulate leaf) 
หูใบ ( stipule )
•เรียงตัวแบบขนาน (parallel venation)ไป จนสุดความยาวของใบ 
•ใบบางชนิดเส้นใบเรียงขนานแล้วยังมีใบ ย่อยตั้งฉากกับเส้นใบด้วย เช่น ใบตอง 
•บางชนิดก้านใบมีลักษณะเป็นกาบ หุ้ม ต้นอ่อนไว้ เช่น ข้าวโพด อ้อย 
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ (venation) : monocot
•เรียงตัวแบบตาข่ายหรือสานเป็นร่างแห (netted venation) 
•แตกออกจากเส้นกลางใบ ไปยังเส้นใบ ย่อยทั่วทั้งบริเวณเพื่อให้ได้รับน้าและแร่ ธาตุอย่างทั่วถึง 
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ (venation) : dicot
•1. ใบเดี่ยว (simple leaf) -ใบที่มีตัวใบแผ่นเดียว เช่น ใบน้อยหน่า มะม่วง ชมพู่ 
-พืชบางชนิดตัวใบเว้าโค้งไปมาจึงทาให้ดูคล้ายมีตัวใบหลาย แผ่นแต่บางส่วนของตัวใบยังเชื่อมกันอยู่ถือว่าเป็นใบเดี่ยว เช่น ใบมะละกอ ใบฟักทอง 
-ตัวใบมักติดกับก้านใบ ถ้าใบที่ไม่มีก้านใบเรียกsessile leaves เช่น บานชื่น 
ชนิดของใบ
•2. ใบประกอบ (compound leaf) 
-ใบที่มีตัวใบหลายแผ่นติดอยู่กับก้านใบเดียว เช่น ขี้เหล็ก ใบ จามจุรี ใบย่อย เรียกว่า leaflets 
-แต่ละใบย่อยมีก้านใบย่อย (petiolue) แล้วรวมเป็นก้านใบ ใหญ่อีกทีหนึ่ง 
ชนิดของใบ
ชนิดของใบ
โครงสร้างภายในของใบ 
(internal structure of leaf)
1. เอพิเดอร์มิส:epidermis 
2. มีโซฟิลล์:mesophyll 
3. มัดท่อลาเลียง:vascular bundle 
โครงสร้างภายในของใบ 
(internal structure of leaf)
•ประกอบด้วย epidermal cell อยู่ด้านนอกทั้งสองข้างของแผ่น ใบ 
•มี cuticle เคลือบเพื่อลดการาคายน้า 
•มี blade 2ด้านคือ 
–ด้านหลังใบ dorsal side จะมี upper epidermis มองเห็น เป็นสีเขียวเข้ม เกิดกระบวนการ photosynthesis 
–ด้านท้องใบ ventral side จะมี lower epidermis มี guard cell 2 เซลล์ เกิดช่องตรงกลางเรียกว่า stoma (ปากใบ) (มี chloroplast) 
epidermis
•เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่าง upper and lower epidermis 
•ประกอบด้วย parenchyma ที่มี chloroplast เรียกว่า chlorenchyma จะมีรูปร่างแตกต่างกันจึงแบ่งชั้น mesophyll เป็น 2ชั้น 
•Palisade mesophyll 
•Spongy mesophyll 
mesophyll
•เซลล์มีรูปร่างรียาว หรือรูปตัวยูตั้งฉากกับอิพิเดอร์มิส 
•อยู่ติดกับ upper epidermis 
•ประกอบไปด้วย parenchyma 
•เซลล์อัดตัวกันแน่น มีประมาณ 1-3ชั้น 
•ภายในเซลล์มีเม็ดคลอโรพลาสต์จานวนมาก palisade 
•ทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้มาก พืชในต้นเดียวกัน ใบ ที่ได้รับแสงแดด (sun leave) มักจะมีพาลิเสดหลายชั้นกว่า ใบร่ม (shade leave) 
Palisade mesophyll
Palisade mesophyll
•เซลล์มีรูปร่างรี กลม อยู่ติดกับ lower epidermis 
•เซลล์เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ และไม่เป็นระเบียบ มี intercellular space มาก 
•ประกอบไปด้วย parenchyma 
•ภายในเซลล์มีเม็ดคลอโรพลาสต์ มักจะสังเคราะห์แสง ได้น้อยกว่าชั้นพาลิเสด 
•เป็นส่วนที่แก๊ส (CO2) แพร่เข้าไปภายในใบพืช 
•พบ vascular bundle ทาให้มองเห็นลักษณะเส้นนูน 
Spongy mesophyll
Spongy mesophyllmesophyll
•ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว mesophyll ไม่สามารถแยกเป็น palisade หรือ spongy mesophyll ได้ เรียกโดยรวมว่า mesophyll 
•ท่อลาเลียงน้าและอาหารในใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมี bundle sheath ซึ่งเป็น parenchymacellล้อมรอบอยู่ 1ชั้น 
•อยู่ถัดจาก bundle sheath ภายในเซลล์บรรจุด้วยเม็ด คลอโรพลาสต์และทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง เช่นเดียวกับพืชใบเลี้ยงคู่ 
mesophyll
•ท่อลาเลียงน้าและอาหาร คือส่วนที่เป็นเส้นกลางใบ (midrib หรือ midvein ) และเส้นใบย่อย (vein) 
•พืชใบเลี้ยงคู่เส้นใบซึ่งเป็นส่วนของท่อลาเลียงจะเรียงตัวกัน เป็นร่างแห หรือขนนก 
•พืชใบเลี้ยงเดี่ยวท่อลาเลียงน้าและอาหารจะขนานกันตาม ความยาวของใบ ลักษณะคล้ายหัวกะโหลก ประกอบด้วย xylem และ phloemกระจายอยู่ในชั้น spongy mesophyll 
vascular bundle
•ในพืชทุกชนิดจะมี vascular bundle จะมี bundle sheath มา ล้อมรอบ (ยกเว้นพืช C3bundle sheath จะไม่มี chloroplast) 
•แต่พืชในที่แห้งแล้งหรือพืช C4จะมี chloroplastทาให้ สามารถตรึง CO2ได้ดี 
vascular bundle
Corn -A Monocot
Sugarcane-A Monocot
A Typical Dicotleaf
Monocot
Dicotleaf
D 
i 
c 
o 
t
•สร้างอาหารของใบ โดยกระบวนการ photosynthesis 
•Respiration: การหายใจ 
•Transporation: การคายน้า 
–ทางปากใบ เป็นการคายน้าส่วนใหญ่ของพืชที่รากดูดขึ้นมา 
–ทางผิวใบ 
–ทางรอยแตกรอยแยกที่ผิวของลาต้น 
หน้าที่ของใบ
leaf modification 
ลักษณะ 
พบใน 
Storage leaf 
สะสมอาหาร 
ว่านหางจระเข้ หอม กระเทียม 
Leaf spine 
เปลี่ยนเป็นหนาม 
กระบองเพชร 
Byoyancyleaf 
เปลี่ยนเป็นทุ่นลอยน้า 
ผักตบชวา 
Leaf tendril 
เปลี่ยนเป็นมือเกาะ 
ถั่วลันเตา 
Bract 
เปลี่ยนคล้ายกลีบดอกไม้ 
หน้าวัว เฟื่องฟ้า 
Carnivorous leaf 
เปลี่ยนเป็นกับดักเจ็บแมลง 
หม้อข้าวหม้อแกงลิง หยาดน้าค้าง 
สาหร่ายข้าวเหนียว กาบหอยแครง Butterwort 
Reproductive leaf 
ใช้ขยายพันธุ์ 
ต้นคว่าตายใบเป็น

More Related Content

What's hot

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Popeye Kotchakorn
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
Thanyamon Chat.
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
Thanyamon Chat.
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
Kittiya GenEnjoy
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
Thitaree Samphao
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
Thanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
TinnakritWarisson
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

Viewers also liked

เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Natty Natchanok
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
เข็มชาติ วรนุช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
มัทนา อานามนารถ
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (6)

เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 

Similar to โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
Oui Nuchanart
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
Wichai Likitponrak
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
มัทนา อานามนารถ
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
Pinutchaya Nakchumroon
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
Wichai Likitponrak
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
sukanya petin
 
B06
B06B06
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
kookoon11
 
พืช
พืชพืช
พืช
Chamaiporn
 

Similar to โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก (20)

Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
Tissue1
Tissue1Tissue1
Tissue1
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Body
BodyBody
Body
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
พืช
พืชพืช
พืช
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

  • 2. •เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) •อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของพืช •การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้าของพืช •การลาเลียงน้าของพืช •การลาเลียงสารอาหารของพืช •การลาเลียงอาหารของพืช
  • 3. •ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะต่างกัน •มีลักษณะร่วมกันคือมีผนังเซลล์ (cellwall) •แบ่งได้ออกเป็น 2ประเภทคือ 1.เนื้อเยื่อเจริญ2.เนื้อเยื่อถาวร
  • 4. •เป็นกรอบอยู่รอบนอกให้ความแข็งแรงต่อโครงสร้างเซลล์พืช •ผนังเซลล์แบ่งออกเป็น 2แบบคือ •ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary cell wallหรือ primary wall) •ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell หรือ secondary wall)
  • 5. ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary cell wallหรือprimary wall) •เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์เริ่มเจริญเติบโต •ประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลส (cellulose) เป็นส่วนใหญ่ •ผนังเซลล์ยึดติดกันด้วยมิดเดิลลาเมลลา(middlelamella) ซึ่งเป็นชั้นที่อยู่ตรงกลางระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกัน •(middlelamella) ประกอบด้วยเพกทิน(pectin)
  • 6. ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell wall หรือ secondary wall) •มีการสะสมแบบแทรกอยู่ในผนังเซลล์ปฐมภูมิ และสะสมซ้อนทับเป็นแนวอยู่ระหว่างเซลล์ ปฐมภูมิและเยื่อหุ้มเซลล์ •องค์ประกอบทางเคมีที่สาคัญคือลิกนิน(lignin) •ทาให้ผนังเซลล์มีความหนาและแข็งแรงมากขึ้น
  • 8. (Meristematictissues) •ประกอบด้วยเซลล์เจริญ (meristematiccell) •มีลักษณะผนังเซลล์บางสม่าเสมอกัน มีขนาดเล็กและอยู่กันอย่าง หนาแน่น •มีนิวเคลียสขนาดใหญ่เมื่อเทียบขนาดของเซลล์ •แบ่งเซลล์แบบmitosisได้ตลอดชีวิต จาแนกตามกลุ่มได้ 3 ชนิด
  • 9. •apical root meristem“เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย ราก” เมื่อเจริญจะทาให้รากยาวขึ้น •apical shoot meristem“เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย ยอด” เมื่อเจริญจะทาให้ลาต้นยืดยาว สร้างใบ และกิ่งก้าน •เนื้อเยื่อเจริญส่วนนี้จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นต้น (primary growth) (apical meristem)
  • 10.
  • 11.
  • 12. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem) •เนื้อเยื่อเจริญที่บริเวณเหนือข้อล่างหรือโคนของปล้องบนของ ลาต้น •พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และก้านของช่อดอกบางชนิด เช่นหญ้า ข้าว ข้าวโพด อ้อย ไผ่ •มีหน้าที่แบ่งเซลล์เพื่อให้ส่วนปล้องหรือก้านช่อดอกยืดยาวขึ้น •จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นต้น (primary growth)
  • 13.
  • 14.
  • 15. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem) •เนื้อเยื่อเจริญด้านข้างหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “แคมเบียม” (cambium) พบในรากและลาต้น •เซลล์รูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้า ผนังเซลล์บาง เรียงตัวเป็นระเบียบอยู่ใน แนวขนานกับเส้นรอบวง •มีการแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนออกทางด้านข้าง ทาให้รากและลาต้นขยาย ใหญ่ขึ้น เนื้อเยื่อเจริญส่วนนี้จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นที่2(secondary growth) •พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทุกชนิด และใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หมากผู้ หมากเมีย จันทน์ผา
  • 16. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem) •แบ่งเป็น 2 ชนิด 1) วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular cambium) : แทรกอยู่ ระหว่าง xylemและpholemเมื่อแบ่งเซลล์ทาให้เกิดเนื้อเยื่อท่อ ลาเลียง (vascular tissue) เพิ่มขึ้น 2) คอร์กแคมเบียม (cork cambium)หรือ Phellogen : อยู่ ในเนื้อชั้นผิว (epidermis) หรืออยู่ถัดเข้าไป พบในชั้น cortex เมื่อ แบ่งเซลล์จะทาให้เกิดเนื้อเยื่อcorkหรือ phellem(ด้านนอก) และ เนื้อเยื่ออื่นๆ phelloderm (ด้านใน)
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22. (Permanent tissue) •ประกอบด้วยเซลล์ที่แบ่งตัวไม่ได้ เปลี่ยนแปลงและพัฒนามาจาก Meristematictissues •มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง กล่าวคือ จะคงรูปร่างลักษณะเดิมไว้ตลอด แต่จะเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อไปทาหน้าที่จาเพาะ •จาแนกตามลักษณะของเซลล์ที่มาประกอบกันจาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ
  • 23. (Simple Permanent tissue) -เป็นเนื้อเยื่อถาวรที่ประกอบด้วย เซลล์ชนิดเดียวกันล้วน ๆ (มีต้นกาเนิดจากเนื้อเยื่อเดียวกัน) -จาแนกออกเป็นหลายชนิด คือ -Epidermis -Parenchyma -Collenchyma -Sclerenchyma -Cork
  • 24. Epidermis -เป็น simple tissue ที่อยู่ผิวนอกสุดของส่วนต่าง ๆ ของพืช (ถ้าเปรียบกับตัวเรา ก็คือ หนังกาพร้านั่นเอง) -ส่วนใหญ่ในลาต้นและใบจะมีความหนาเพียงหนึ่งชั้นเซลล์ -ประกอบด้วยเซลล์ที่มีชีวิต คือ epidermal cell และ guard cell แต่ในรากจะพบ root hair cell -ผนังเซลล์ด้านนอกหนากว่าด้านใน และมีสารพวก cutin มาเคลือบ เพื่อลดการคายน้า
  • 25. Epidermis -ช่วยป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อที่อยู่ข้างใน และช่วย เสริมสร้างความแข็งแรงด้วย -ช่วยป้องกันการระเหย (คาย) น้า (เพราะถ้าพืชเสียน้า ไปมากจะเหี่ยว) และช่วยป้องกันน้าไม่ ให้ซึมเข้าไปข้างในด้วย (เพราะถ้าได้รับน้ามากเกินไป จะเน่าได้ ) -ช่วยในการแลกเปลี่ยนแก๊สทั้งไอน้า คาร์บอนไดออกไซด์ และออกซิเจน โดยทางปากใบ -ช่วยดูดน้าและเกลือแร่
  • 26.
  • 27.
  • 28. Parenchyma -เป็น Simple tissue ที่ประกอบด้วย Parenchyma Cell -ซึ่งเป็นเซลล์พื้นทั่ว ๆ ไป และพบมากที่สุดในพืชโดยเฉพาะ ส่วนที่อ่อนนุ่มและอมน้าได้มาก -เช่น ในชั้น Cortex และ Pith ของรากและลาต้น -เป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่ -มีรูปร่างหลายแบบ แต่ส่วนใหญ่ทรงกระบอกกลม หรือ ทรงกระบอกเหลี่ยมด้านเท่า อาจกลมรี มี cell wall บาง ๆ -การเรียงตัวของเซลล์ทาให้เกิด intercellular space
  • 29. Parenchyma -ช่วยสังเคราะห์แสง -สะสมอาหาร (พวกแป้ง โปรตีน และไขมัน ) น้า -สร้างน้ามันที่มีกลิ่นหอมหรืออื่นๆ ตามแต่ชนิดของพืชนั้น ๆ -บางส่วนช่วยทาหน้าที่หายใจ
  • 30. Collenchyma -เป็น Simple tissue ที่ประกอบด้วย Collenchyma cell -พบมากในบริเวณ Cortex ใต้ epidermis ลงมา ในก้านใบ เส้นกลางใบ -เป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่ -เซลล์อัดแน่น ขนาดของเซลล์ส่วนมากเล็ก หน้าตัดมักเป็นรูป สี่เหลี่ยมแต่ยาวมาตามความยาวของต้น และปลายทั้งสองเสี้ยม หรือตัดตรง -ช่วยทาให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยู่ได้ -ช่วยป้องกันแรงเสียดทานด้วย
  • 32. Sclerenchyma -เป็น Simple tissue ที่ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ซึ่งมีลักษณะทั่วๆ -เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว (ตอนเกิดใหม่ ๆ ยังมีชีวิต) -Cell wall หนามากประกอบขึ้นด้วย cellulose และ lignin(ติด สีได้ดี) -เนื้อเยื่อชนิดนี้แข็งแรงมากจัดเป็นโครงกระดูกของพืช -จาแนกออกได้เป็น 2ชนิดตามรูปร่างของเซลล์ คือ
  • 34. Fiber Sclerenchyma -เรามักเรียกว่าเส้นใย -ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว -มีลักษณะเรียวและยาวมากปลายทั้งสองเสี้ยม หรือค่อนข้างแหลม -มีความเหนียวและยึดหยุ่นได้มาก จะเห็นได้จากเชือกที่ทาจากลาต้น หรือใบของพืชต่าง ๆ
  • 35. Stone cell -ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว -มีลักษณะคล้ายกับไฟเบอร์ แต่เซลล์ไม่ยาวเหมือนไฟเบอร์ เซลล์อาจจะสั้นกว่าและป้อม ๆ อาจกลมหรือเหลี่ยมหรือเป็น ท่อนสั้น ๆ รูปร่างไม่แน่นอน -พบอยู่มากตามส่วนแข็ง ๆ ของพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่งตาม เปลือกของเมล็ดหรือผลไม้ เช่น กะลามะพร้าว เมล็ดพุทรา เมล็ดแตงโม หรือ ในเนื้อของผลไม้ที่เนื้อสาก ๆ เช่น เสี้ยนใน เนื้อของลูกสาลี่ เนื้อน้อยหน่า ฝรั่ง เนื้อเยื่อเจริญ เชิงเดี่ยว
  • 36.
  • 37. Cork -เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอกสุด ของลาต้นและรากใหญ่ ๆ ที่แก่แล้วของไม้ยืนต้น -ได้จากการแบ่งเซลล์ของ cork cambium เมื่อมีการเจริญเติบโตขั้นที่ 2ทางด้านนอก -เกิดในชั้นของ bark
  • 38. เพิ่มเติม: Endodermis -พบเฉพาะในรากนั้น -มีลักษณะเหมือนกับ epidermis ยกเว้นตาแหน่งที่พบ -อยู่ด้านในสุดของชั้น cortex ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวเป็นแถวเดียว -มีสารพวก wax (suberinlignin pectin)มาเคลือบ -จะเห็นแถบสีเข้มเรียกว่า casparianstrip -casparianstrip ไม่สามารถลาเลียงน้าและแร่ธาตุได้ -แต่บริเวณที่ไม่มี waxมาเคลือบ จะมีสีจางสามารถลาเลียงน้าและ แร่ธาตุได้เรียกว่า passage cell
  • 39. SUMMARY 1.Epidermis + Cork = Protective tissue (เนื้อเยื่อถาวรป้องกัน) 2.Cork, Cork cambium + Phelloderm = Periderm (Epidermis Cork(phellem) Cork cambium(phellogen) phelloderm) 3.Parenchyma + Collenchyma + Sclerenchyma + Endodermis (root) = Ground tissue (เนื้อเยื่อพื้น) อยู่รวมกันเรียกว่า Cortex
  • 40. (ComplexPermanent tissue) -เป็นเนื้อเยื่อถาวรที่ประกอบขึ้นด้วย เซลล์หลายชนิดอยู่ รวมกันเป็นกลุ่มก้อน เพื่อทางานร่วมกัน -เนื้อเยื่อลาเลียงประเภทนี้คือ Vascular tissue (เนื้อเยื่อลาเลียง) -อยู่รวมกันเป็นมัดๆ เรียกว่า Vascular bundle -ประกอบขึ้นด้วย -Xylem -Phloem
  • 41.
  • 42.
  • 43. เนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ (Xylem) -ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ทาหน้าที่หลักในการลาเลียงน้า และแร่ธาตุ (สารอนินทรีย์) คือ 1. เทรคีด (Tracheid) -เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีรูปร่างยาวปลายค่อนข้างแหลม -ผนังเซลล์มีสารพวก lignin -ไม่พบในพืชมีดอก (พบในพืชชั้นต่า-เมล็ดเปลือย) -เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะตาย
  • 44.
  • 45. 2. เวสเซล เมมเบอร์ (Vesel member) -เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีผนังหนา มีสารพวกลิกนิน -เซลล์มีรูปร่างยาวหรือสั้นปลาย ลักษณะเป็นทรงกระบอก -เซลล์อาจเฉียงหรือตรงและมีช่องทะลุถึงกัน (ปลายสุดมี ลักษณะเป็นรู) -เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะตาย เรียกเวสเซลเมมเบอร์ -หลายเซลล์มาเลียงต่อกันและมีช่องทะลุถึงกันว่าเวสเซล (Vesel) มีลักษณะคล้ายกับท่อน้า -สามารถลาเลียงน้าได้สะดวกกว่า Trachied มาก เนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ (Xylem)
  • 46.
  • 47. 3. ไซเล็มพาเรงคิมา (Xylem parenchyma) -เป็นเซลล์parenchyma ที่พบในเนื้อเยื่อลาเลียงน้า และแร่ธาตุ ซึ่งยังมีชีวิตอยู่ -ช่วยลาเลียงออกทางด้านข้างเรียกว่า Xylem ray4. ไซเล็มไฟเบอร์ (Xylem fiber) -เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่พบในในเนื้อเยื่อลาเลียงน้าและ แร่ธาตุ ซึ่งไม่มีชีวิต มีหน้าที่เสริมความแข็งแรง เนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ (Xylem)
  • 48.
  • 49. ทาหน้าที่ในการลาเลียงอาหารโดยลาเลียงในรูปของ น้าตาลซูโครส ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่มีชีวิตเป็นส่วนใหญ่ 1. ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (Sieve tube member) -เป็นเซลล์หลักในการลาเลียงอาหาร -รูปร่างทรงกระบอกยาวที่ปลายผนัง 2 ด้านจะมีรูพรุนคล้าย ตะแกรงเรียกซีฟเพลต (Seive plate) -ซีฟทิวบ์เมมเบอร์หลายเซลล์มาเรียงต่อกันเรียกว่าซีฟทิวป์ (Sieve tube) -เมื่อโตเต็มที่นิวเคลียสจะสลายไป (ไม่มีนิวเคลียส)เพื่อให้การ ลาเลียงอาหาร มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร (Phloem)
  • 50.
  • 51. 2.คอมพาเนียนเซลล์(Companioncell) -เป็นเซลล์ที่อยู่ติดกับSieve tube member (ด้านข้าง) -มีต้นกาเนิดมาจากที่เดียวกับ Sieve tube member -เซลล์มีชีวิตโดยทาหน้าที่สร้างสารที่จาเป็นส่งให้กับ Sieve tube memberซึ่งไม่มีนิวเคลียส -ควบคุมกระบวนการ metabolism ต่างๆของ Sieve element -เป็นเซลล์ที่ช่วยในการลาเลียงอาหาร และสามารถเจริญ เป็น Sieve tube ได้ เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร (Phloem)
  • 52.
  • 53. 3. โฟลเอ็มพาเรงคิมา (Phloem parenchyma) -เป็นเซลล์parenchyma -พบอยู่ในเนื้อเยื่อphloem -ช่วยในการลาเลียงออกด้านข้าง -เซลล์มีชีวิต 4. โฟลเอ็มไฟเบอร์(Phloem fiber) -เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่พบในเนื้อเยื่อPhloem -เซลล์ไม่มีชีวิต เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร (Phloem)
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62.
  • 64. Structure and function of root -ดูดน้าและแร่ธาตุ (absorption) -ลาเลียงสารต่างๆ (น้า/เกลือแร่) (transportation) -สะสมอาหารบางชนิด -ยึดพยุงลาต้น(anchorage) -สามารถสังเคราะห์แสงได้
  • 65. The root of Structure 1.Monocot root (ในการทดลองใช้ต้นข้าวโพด) -มีการงอกของรากจากจุดเดียวกันหลายราก (seminal root) -seminal root จะพัฒนาไปเป็น fibrous root (รากฝอย) 2. Dicotroot (ในการทดลองใช้ต้นถั่วเขียว) -มีรากเดียวงอกออกมา จะพัฒนาไปเป็น tap root -มีรากอื่นๆงอกออกมาจากรากเดิม
  • 66. The root of Structure •การงอกของรากทั้งสองชนิดมีความแตกต่างกัน แต่เรียกส่วนที่งอก ออกมาเหนือเมล็ดเหมือนกันว่า redicle •redicle จะงอกออกมาจากรอยแผลเป็นที่เรียกว่า hilum (ขั้วเมล็ด)
  • 68. 1. บริเวณหมวกราก (Root cap) 2.บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว(Region of cell division) 3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) โครงสร้างตามยาวของราก แบ่งได้ 4บริเวณ คือ
  • 69. บริเวณหมวกราก (Root cap) •เป็นบริเวณที่อยู่ปลายสุดของราก •ประกอบด้วยเซลล์Parenchyma เรียงตัวกันอย่างหลวมๆ ผนังค่อนข้างบาง มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ •สามารถผลิตเมือกได้ ทาให้หมวกรากชุ่มชื้น และอ่อนตัว สะดวกต่อการชอนไช •สามารถป้องกันอันตรายให้กับบริเวณที่อยู่เหนือขึ้นไปได้
  • 70. 1. บริเวณหมวกราก (Root cap) 2.บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว(Region of cell division) 3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) โครงสร้างตามยาวของราก แบ่งได้ 4บริเวณ คือ
  • 72. บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว (Region of cell division) •อยู่ถัดจากรากขึ้นมาประมาณ 1-2 mm •เป็นบริเวณของเนื้อเยื่อ Apical meristem •มีการแบ่งเซลล์แบบmitosis เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ (อัดแน่น) และมีขนาดเล็กกว่าบริเวณที่อยู่สูงขึ้นไป •โดยส่วนหนึ่งเจริญเป็น root cap อีกส่วนเจริญเป็น เนื้อเยื่อที่อยู่สูงถัดขึ้นไป (กลุ่มเซลล์ที่มีความยาวมากขึ้น)
  • 73. 1. บริเวณหมวกราก (Root cap) 2.บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว(Region of cell division) 3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) โครงสร้างตามยาวของราก แบ่งได้ 4บริเวณ คือ
  • 75. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) •อยู่ถัดจากบริเวณเซลล์มีการแบ่งตัว •เป็นบริเวณที่เซลล์มีการยืดยาวขึ้น •จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นต้น (primary growth)
  • 76. 1. บริเวณหมวกราก (Root cap) 2.บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว(Region of cell division) 3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) 4. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) โครงสร้างตามยาวของราก แบ่งได้ 4บริเวณ คือ
  • 78. บริเวณเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) •ประกอบด้วยเซลล์ถาวรต่างๆ ซึ่งที่มีการ เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ •มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อไปทาหน้าที่เฉพาะตามรูปร่าง โครงสร้าง และตาแหน่งที่พบ •มีการพัฒนาบางเซลล์เป็นขนราก (Root hair cell) •จัดเป็นการเจริญเติบโตขั้นที่ 2 (secondary growth)
  • 79.
  • 80. โครงสร้างของราก ตามภาคตัดขวาง •Epidermisเจริญมาจาก Protoderm •Cortex เป็นเนื้อเยื่อพื้นที่เจริญมาจาก Ground meristem •Steleประกอบด้วย Pericycle(ระหว่าง endodermis กับ vascular tissue)และ Vascular bundle น่ารู้ : รากต้องมี xylem and phloem ถ้าไม่มีจะ เรียกว่า Rhizoid (รากเทียม)
  • 81. •Vascular bundle : •Xylemจะมีลักษณะเป็นแฉกอยู่ตรงกลาง •Phloemจะอยู่ระหว่างแฉกของ Xylem •การจัดเรียงมัดท่อลาเลียงใน monocot and dicot •Dicotจะมีแฉก 2-5 แฉก ตรงกลางเป็น Xylem •Monocotจะมีแฉกหลายแฉก ตรงกลางเป็น pith (เนื้อเยื่อพวก perenchyma) การจัดเรียงของ มัดท่อลาเลียงในรากของพืช
  • 83. Monocot root cross section pith xylem phloem cortex Pericycleand seconderyroot
  • 85. •Apical meristem •Protodermเจริญเป็น Epidermis •Ground meristemเจริญเป็น Ground tissue ในชั้น cortex and Endodermis •Procambiumเจริญเป็น Primary vascular (Primary xylem and Primary Phloem) Primary growth of root Secondary growth of root •มีการเจริญเติบโตของ cambium
  • 86. •ระบบรากแก้ว (Tap root system) •พบใน dicot •ระบบรากฝอย (Fibrous root system) •พบใน monocot Root system
  • 87. เปรียบเทียบระหว่างรากของ momocotand dicot Dicotroot Monocot root Xylem จะเป็นแฉก 2-5 แฉก มีมากกว่า 5 แฉก vascular cambium มี ไม่มี Endodermis ไม่ชัดเจน ชัดเจน ตรงกลางราก Xylem ทั้งหมด pith ระบบราก tap root fibrous root การงอกของราก มีรากเดียวแล้วมีราก อื่นงอกออกมา รากงอกออกมาหลาย รากจากจุดเดียวกัน
  • 88. SUMMARY : การเกิดเนื้อเยื่อ ที่เกิดจาก vascular cambium Inner Outer Vascular cambium Secondary xylem Primary xylem Secondary phloem Primary phloem
  • 89. Epidermiscortexendodermispericycle Vascular cambium Secondary phloemPrimary phloem Secondary xylemPrimary xylem SUMMARY : เนื้อเยื่อของรากเมื่อเรียงลาดับจาดด้านนอกเข้าไปด้านใน เมื่อเกิด secondary growth
  • 90. •Radicle เป็นส่วนที่เจริญออกมาจากเมล็ดเป็นอันดับแรก •รากพิเศษ (adventitious root) •เป็นรากที่ไม่ได้เกิดจาก tap root แต่เกิดจากส่วน อื่นๆของพืช •เช่น fibrous root ที่พบใน monocot •มีลักษณะที่ขนาดเท่าๆกัน •พบในกิ่งตอน หน้าที่และชนิดของรากพิเศษ
  • 91. หน้าที่รากพิเศษ •1. รากค้าจุน (Prop root:support root) •เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อของลาต้น ที่อยู่ใต้ดิน และเหนือดินขึ้นมาเล็กน้อย •พุ่งแทงลงไปในดิน เพื่อพยุงลาต้นเอาไว้ไม่ให้ล้มง่าย •เช่นรากค้าจุนของต้นข้าวโพด ต้นลาเจียก ต้นโกงกาง
  • 93. หน้าที่รากพิเศษ •2. รากเกาะ (Climbing root) •เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อของลาต้นแล้วมา เกาะตามหลักหรือเสา •เพื่อพยุงลาต้นให้ติดแน่นและชูลาต้นขึ้นที่สูง •เช่นรากของพลู พลูด่าง กล้วยไม้
  • 95. หน้าที่รากพิเศษ •3. รากสังเคราะห์แสง (photosynthtic root) •เป็นรากที่แตกออกมาจากข้อของลาต้น แล้วห้อยลง มาในอากาศ มีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ •เป็นรากที่ทาหน้าที่สังเคราะห์แสง •เช่น รากกล้วยไม้ที่มีสีเขียวเฉพาะรากอ่อน หรือปลาย รากที่แก่เท่านั้น รากของไทร โกงกาง มีสีเขียวเฉพาะ ตรงที่ห้อยอยู่ในอากาศ ส่วนที่ไซลงไปในดินแล้วไม่ มีสีเขียวเลย
  • 97. หน้าที่รากพิเศษ •4. รากหายใจ (Respiratory root) •รากพวกนี้เป็นแขนงงอกออกจากรากใหญ่ที่แทง ลงไปในดินอีกทีหนึ่ง •แต่แทนที่จะงอกลงไปในดิน กับชูปลายขึ้นมา เหนือดินหรือผิวน้า บางทีก็ลอยตามผิวน้า •เช่นรากของแพงพวย ลาพู
  • 99. หน้าที่รากพิเศษ •5. รากกาฝาก (Parasitic root) •เป็นรากของพืชบางชนิดที่เป็นปรสิต •เช่นรากของต้นกาฝาก และต้นฝอยทอง
  • 100. หน้าที่รากพิเศษ •6. รากสะสมอาหาร (storage root) •เป็นรากที่ทาหน้าที่ในการสะสมอาหารประเภท แป้ง น้าตาลหรือ โปรตีนเอาไว้ •ทาให้มีลักษณะอวบอ้วนเรามักเรียกว่า หัว •เช่น หัวแครอท หัวผักกาด หัวมันเทศ หัวมันแกว มันสาปะหลัง กระชาย
  • 102. หน้าที่รากพิเศษ •7.รากที่เปลี่ยนแปลงไปเป็น(modified root) •เปลี่ยนแปลงไปเป็นทุ่น (floating root) •เช่น ผักกะเฉด
  • 103. Root modification หน้าที่ พบใน Storage root สะสมอาหาร มันเทศ แครอทไชเท้า มันแกว มันสาปะหลัง Photosynthetic สังเคราะห์ด้วยแสง รากกล้วยไม้ Aerial Root (Prop/Stilt root) รากที่เจริญมาจาก ด้านบนลงด้านล่าง หรือ ที่เรียกว่า รากอากาศ โกงกาง แสม ลาพู ข้าวโพด ไทร เตย กล้วยไม้ Buttress root รากโคนต้น แผ่นเป็นสัน บริเวณโคนต้น งิ้ว ตะแบก กระบาก Pnematophore รากหายใจ โกงกาง แสม ลาพู Parasitic root (Haustoria) รากชอนไช เข้าทะลุถึง เนื้อเยื่อพืชอื่นๆ กาฝาก ฝอยทอง
  • 105. •นักเรียนคิดว่าระหว่างข้อและปล้องของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่ พวกใดที่เห็นข้อปล้องชัดเจนว่ากันเพราะเหตุใด โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น •เพราะพืชใบเลี้ยงคู่มีการเจริญเติบโตขั้นที่สอง ซึ่งเป็นการเจริญออกทางด้านข้างทาให้ปิดทับบริเวณข้อ •แต่นักเรียนสามารถสังเกตบริเวณที่เป็นข้อของพืชใบเลี้ยงคู่ บริเวณที่แตกกิ่งและใบ
  • 107. •เจริญมาจากต้นอ่อน(Embryo) ส่วนเอพิคอลทิล (Epicotyle) และส่วนไฮโพคอลทิล(Hypocotyl) •ลาต้นจะแตกต่างจากรากตรงที่มีข้อ(node) ปล้อง (Internode) ตา (bud) และยอด(Apical bud) •การเจริญเติบโตจะเป็นแบบ negative geotropism or negative gravitropism และ positive phototropism จะเกิดขึ้นตรงข้ามกับราก Structure and function ofstem
  • 108. โครงสร้างของลาต้นจากปลายยอดแบ่งเป็น4 ส่วน 1. เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (Apical meristem) 2. ใบเริ่มเกิด (Leaf primordium) 3. ใบอ่อน(Young leaf) 4. ลาต้นอ่อน (Young stem) โครงสร้างของลาต้น
  • 109. •มีการแบ่งเซลล์แบบ mitosis ได้ตลอดเวลา •บริเวณนี้มีการยืดยาวมากที่สุด •จัดเป็นการเจริญเติบโตแบบ primary growth (Apical meristem)
  • 113. โครงสร้างภาคตัดขวางของลาต้นมี3 ชั้นคล้ายกันกับราก คือ 1. ชั้นเอพิเดอร์มิส(Epidermis) 2. ชั้นคอร์เท็กซ์(Cortex) 3. ชั้นสตีล(Stele) โครงสร้างภายในของลาต้น
  • 115. •เหมือนกับใน root •เนื้อเยื่อบางเซลล์เจริญไปเป็นหนามหรือขน •พืชที่มีอายุมากชั้นนี้จะสลายหายไป (Epidermis) •อยู่ถัดจากชั้น epidermis เข้ามาด้านใน •ชั้นนี้จะแคบมากจนไม่สามารถแยกชั้นจากชั้น stele ได้ •ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ parenchyma และ collenchyma (Cortex)
  • 116. •กว้างกว่าชั้น cortex •ประกอบด้วย -Vascular bundle ได้แก่Xylem Phloem •การจัดเรียงตัวจะแตกต่างกันคือ 1.Monocot stem : เรียงไม่เป็นระเบียบ กระจัดกระจาย รอบๆลาต้น 2.Dicot stem : เรียงเป็นระเบียบตามแนวรัศมีของลาต้น -Vascular ray เป็นเนื้อเยื่อ parenchyma เห็นเป็นแนวขนานกับรัศมี อยู่ระหว่าง cortex กับpith (Stele)
  • 117. -Pith เป็นไส้อยู่ในสุด (เมื่ออายุยังน้อย) เมื่ออายุมากขึ้นจะพัฒนาไปดังนี้ monocot stem เปลี่ยนแปลงเป็น pith cavity dicot stem เปลี่ยนแปลงเป็น primary xylem (Stele) ต่อ
  • 118. เปรียบเทียบระหว่างลาต้นของ monocot and dicot ข้อเปรียบเทียบ monocotstem Dicotstem Vascular bundle กระจัดกระจาย เรียงเป็นระเบียบ ใจกลางลาต้น pith cavity xylem Vascular cambium ไม่มี มี Secondary growth ไม่เกิด เกิด การรวมตัวของ เนื้อเยื่อชั้น cortex Cortex กับ phloem เป็นเปลือกไม้ Cortex กับ phloem เป็นเปลือกไม้
  • 119. •การสร้าง xylem ในรอบปี จะสร้างได้ดีไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับฤดูกาลและน้า ที่ได้รับ –Spring wood xylem จะมีแถบกว้างสีจาง –Summer wood xylem จะมีแถบแคบสีเข้ม •แถบสีเข้มจางสลับกันรียกว่า วงปี (annual ring) หรือวงเจริญเติบโต (growth ring) ในแต่ละปี จะได้ 1 วง สาระน่ารู้
  • 120. •ลาต้นพืช (โดยเฉพาะ dicot) เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่บริเวณที่เป็นไส้ จะมี สารอินทรีย์ และ ขี้ผึ้ง (wax) ทาให้ท่อลาเลียงอุดตันไม่สามารถลาเลียงได้ เรียกว่า แก่นไม้ (heart wood) •ส่วนท่อลาเลียงที่อยู่รอบๆ ลาแลเยงได้เรียกว่า กระพี้ไม้(sap wood) สาระน่ารู้ heart wood sap wood wood = + Wood คือชั้นของเนื้อไม้ เป็น xylem ทั้งหมด
  • 121. •หน้าที่หลัก 1. produce new living คือ เป็นแหล่งสร้างเนื้อเยื่อใหม่ เช่น กิ่ง ใบ ดอก ผล 2. support คือเป็นแกนสาหรับพยุงลาต้น และค้าจุนให้กิ่ง ก้าน ใบ แผ่ออกเพื่อรับแสง 3. transport คือ เป็นตัวกลางในการลาเลียงน้า แร่ธาตุ และ สารอาหารอื่นๆที่พืชสร้างขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช หน้าที่ของลาต้น
  • 123. หน้าที่ พบใน Stolon ลาต้นที่เจริญในแนวราบ ไหลไป ขยายพันธุ์ ได้ สตรอเบอรี่ หญ้า บัวบก ผักแว่น ผักตบชวา Thorny stem ลาต้นที่เจริญเป็นหนาม ส้ม เฟื่องฟ้า กุหลาบ Cladode ลาต้นคล้ายใบ กระบอกเพชร แก้วมังกร สลัดได Stem tendril ลาต้นมือเกาะ ตาลึง องุ่น แตงกวา พวงชมพู Subteraneanstem ลาต้นใต้ดิน แบ่งได้หลายชนิด 1.Tuber กลมรี มีตาโดยรอบ สะสมแป้ง จานวนมาก 2.Corm กลมสั้น อวบ มีขอปล้องชัดเจน มีตาตามข้อ 3.Rhizome เหง้า มีข้อปล้อง ใบ ข้อตา 1.Bulb โผล่พ้นดินบ้าง ปล้องสั้น มีราก ฝอยมาก มันฝรั่ง มันมือเสือ เผือก แห้ว ซ่อนกลิ่นฝรั่ง(ลินลี่) ขิง ข่า พุทธรักษา ขมิ้น ไพล หญ้าคา หอม กระเทียม พลับพลึง
  • 124. •แบ่งตามลักษณะของลาต้นได้ 3 ชนิด คือ 1.Tree : ไม้ยืนต้น มีเนื้อไม้ 2.Shrub : ไม้พุ่ม 3.Herb : ไม้ล้มลุก •แบ่งโดยใช้พื้นดินเป็นเกณฑ์ 2 ชนิด คือ 1.ลาต้นเหนือดิน บางส่วนไม่ใช้ลาต้นแต่เป็นใบ (sheath) เช่น กาบกล้วย 2.ลาต้นใต้ดิน เช่น แง่ง เหง้า root stook (หน่อกล้วย) tuber (มันมือเสือ) ชนิดของลาต้น
  • 126. ข้อเปรียบเทียบ root stem การตอบสนอง positive phototropism negative geotropism Pericycle มี ไม่มี Epidermis เปลี่ยนเป็น root hair เปลี่ยนเป็นขนหรือหนาม ข้อ ปล้อง ตา ไม่มี มี การเกิดของ xylem เกิดครั้งแรกอยู่ใจกลาง ราก ไม่ได้อยู่ใจกลางเพราะเกิด pith ก่อน Apical meristem Root cap หุ้ม bud scale leaf หุ้มตาแรกเกิด Endodermis เห็นชัดเจน เห็นไม่ชัดเจน ชั้น Cortex กว้างมาก แคบกว่า ชั้น stele แคบ กว้าง
  • 127.
  • 131. •เป็นอวัยวะที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้างโดยมีตาเหน่งอยู่ที่ข้อ ปล้องของต้นและกิ่งใบ •ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ •รูปร่างและขนาดของใบแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช •หน้าที่หลักของใบคือใช้ในการสังเคราะห์แสง การหายใจและ การคายน้า Structure and function ofleaf
  • 132. ส่วนประกอบของใบมี 3ส่วนคือ 1. แผ่นใบ ( blade หรือ lamina ) 2. ก้านใบ ( petiole ) 3. หูใบ ( stipule ) ลักษณะโครงสร้างภายนอกของใบ
  • 133. แผ่นใบ ก้านใบ หูใบ เส้นใบ เส้นใบแบบร่างแห เส้นกลางใบ
  • 134. แผ่นใบ ก้านใบ หูใบ เส้นใบ เส้นใบแบบร่างแห เส้นกลางใบ
  • 135. •ส่วนที่แผ่แบนออกเป็นแผ่นซึ่งอาจมีรูปร่างแตกต่าง กันไปหลายแบบ •จะแผ่แบนเพื่อรับแสง •บางชนิดม้วนงอ (ลดการคายน้าเพราะอยู่บริเวณ ป่าชายเลน : ใบแสม) แผ่นใบ ( blade หรือ lamina )
  • 136. •ติดกับแผ่นใบตรงฐานใบ •ยกเว้นบางชนิดก้านใบติดตรงกลางหรือตรงด้านใน ของแผ่นใบ •ก้านใบสั้น ยาวไม่เท่ากัน หรือไม่มีก้านใบเลย เรียก sessile leaf •ก้านใบโดยมากมีลักษณะกลม •ใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด ก้านใบแผ่หุ้มลาต้นเรียก กาบใบ ( leaf sheath ) ก้านใบ ( petiole )
  • 137. •ส่วนที่เจริญออกจากฐานใบ อยู่ตรงโคนก้านใบ •ถ้าเป็นหูใบของในย่อย ( leaflet ) เรียกหูใบย่อย ( stiple ) •หูใบมีลักษณะเป็นริ้ว หนามหรือต่อมเล็ก ๆ ส่วนใหญ่มีสีเขียว •หูใบมีรูปร่างขนาดและสีต่างกัน •ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้กับตาอ่อน •พบมีทั่วไปในพืชใบเลี้ยงคู่ แต่ไม่ค่อยพบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ถ้า มีหูใบเรียกว่า สติพูเลท (stipulate leaf) ถ้าไม่มีหูใบเรียก เอกสติพูเลท (exstipulate leaf) หูใบ ( stipule )
  • 138. •เรียงตัวแบบขนาน (parallel venation)ไป จนสุดความยาวของใบ •ใบบางชนิดเส้นใบเรียงขนานแล้วยังมีใบ ย่อยตั้งฉากกับเส้นใบด้วย เช่น ใบตอง •บางชนิดก้านใบมีลักษณะเป็นกาบ หุ้ม ต้นอ่อนไว้ เช่น ข้าวโพด อ้อย การจัดเรียงตัวของเส้นใบ (venation) : monocot
  • 139. •เรียงตัวแบบตาข่ายหรือสานเป็นร่างแห (netted venation) •แตกออกจากเส้นกลางใบ ไปยังเส้นใบ ย่อยทั่วทั้งบริเวณเพื่อให้ได้รับน้าและแร่ ธาตุอย่างทั่วถึง การจัดเรียงตัวของเส้นใบ (venation) : dicot
  • 140. •1. ใบเดี่ยว (simple leaf) -ใบที่มีตัวใบแผ่นเดียว เช่น ใบน้อยหน่า มะม่วง ชมพู่ -พืชบางชนิดตัวใบเว้าโค้งไปมาจึงทาให้ดูคล้ายมีตัวใบหลาย แผ่นแต่บางส่วนของตัวใบยังเชื่อมกันอยู่ถือว่าเป็นใบเดี่ยว เช่น ใบมะละกอ ใบฟักทอง -ตัวใบมักติดกับก้านใบ ถ้าใบที่ไม่มีก้านใบเรียกsessile leaves เช่น บานชื่น ชนิดของใบ
  • 141. •2. ใบประกอบ (compound leaf) -ใบที่มีตัวใบหลายแผ่นติดอยู่กับก้านใบเดียว เช่น ขี้เหล็ก ใบ จามจุรี ใบย่อย เรียกว่า leaflets -แต่ละใบย่อยมีก้านใบย่อย (petiolue) แล้วรวมเป็นก้านใบ ใหญ่อีกทีหนึ่ง ชนิดของใบ
  • 144. 1. เอพิเดอร์มิส:epidermis 2. มีโซฟิลล์:mesophyll 3. มัดท่อลาเลียง:vascular bundle โครงสร้างภายในของใบ (internal structure of leaf)
  • 145. •ประกอบด้วย epidermal cell อยู่ด้านนอกทั้งสองข้างของแผ่น ใบ •มี cuticle เคลือบเพื่อลดการาคายน้า •มี blade 2ด้านคือ –ด้านหลังใบ dorsal side จะมี upper epidermis มองเห็น เป็นสีเขียวเข้ม เกิดกระบวนการ photosynthesis –ด้านท้องใบ ventral side จะมี lower epidermis มี guard cell 2 เซลล์ เกิดช่องตรงกลางเรียกว่า stoma (ปากใบ) (มี chloroplast) epidermis
  • 146.
  • 147. •เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่าง upper and lower epidermis •ประกอบด้วย parenchyma ที่มี chloroplast เรียกว่า chlorenchyma จะมีรูปร่างแตกต่างกันจึงแบ่งชั้น mesophyll เป็น 2ชั้น •Palisade mesophyll •Spongy mesophyll mesophyll
  • 148. •เซลล์มีรูปร่างรียาว หรือรูปตัวยูตั้งฉากกับอิพิเดอร์มิส •อยู่ติดกับ upper epidermis •ประกอบไปด้วย parenchyma •เซลล์อัดตัวกันแน่น มีประมาณ 1-3ชั้น •ภายในเซลล์มีเม็ดคลอโรพลาสต์จานวนมาก palisade •ทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้มาก พืชในต้นเดียวกัน ใบ ที่ได้รับแสงแดด (sun leave) มักจะมีพาลิเสดหลายชั้นกว่า ใบร่ม (shade leave) Palisade mesophyll
  • 150. •เซลล์มีรูปร่างรี กลม อยู่ติดกับ lower epidermis •เซลล์เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ และไม่เป็นระเบียบ มี intercellular space มาก •ประกอบไปด้วย parenchyma •ภายในเซลล์มีเม็ดคลอโรพลาสต์ มักจะสังเคราะห์แสง ได้น้อยกว่าชั้นพาลิเสด •เป็นส่วนที่แก๊ส (CO2) แพร่เข้าไปภายในใบพืช •พบ vascular bundle ทาให้มองเห็นลักษณะเส้นนูน Spongy mesophyll
  • 152. •ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว mesophyll ไม่สามารถแยกเป็น palisade หรือ spongy mesophyll ได้ เรียกโดยรวมว่า mesophyll •ท่อลาเลียงน้าและอาหารในใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมี bundle sheath ซึ่งเป็น parenchymacellล้อมรอบอยู่ 1ชั้น •อยู่ถัดจาก bundle sheath ภายในเซลล์บรรจุด้วยเม็ด คลอโรพลาสต์และทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง เช่นเดียวกับพืชใบเลี้ยงคู่ mesophyll
  • 153.
  • 154.
  • 155.
  • 156.
  • 157.
  • 158. •ท่อลาเลียงน้าและอาหาร คือส่วนที่เป็นเส้นกลางใบ (midrib หรือ midvein ) และเส้นใบย่อย (vein) •พืชใบเลี้ยงคู่เส้นใบซึ่งเป็นส่วนของท่อลาเลียงจะเรียงตัวกัน เป็นร่างแห หรือขนนก •พืชใบเลี้ยงเดี่ยวท่อลาเลียงน้าและอาหารจะขนานกันตาม ความยาวของใบ ลักษณะคล้ายหัวกะโหลก ประกอบด้วย xylem และ phloemกระจายอยู่ในชั้น spongy mesophyll vascular bundle
  • 159. •ในพืชทุกชนิดจะมี vascular bundle จะมี bundle sheath มา ล้อมรอบ (ยกเว้นพืช C3bundle sheath จะไม่มี chloroplast) •แต่พืชในที่แห้งแล้งหรือพืช C4จะมี chloroplastทาให้ สามารถตรึง CO2ได้ดี vascular bundle
  • 160.
  • 161.
  • 162.
  • 163.
  • 169. D i c o t
  • 170. •สร้างอาหารของใบ โดยกระบวนการ photosynthesis •Respiration: การหายใจ •Transporation: การคายน้า –ทางปากใบ เป็นการคายน้าส่วนใหญ่ของพืชที่รากดูดขึ้นมา –ทางผิวใบ –ทางรอยแตกรอยแยกที่ผิวของลาต้น หน้าที่ของใบ
  • 171. leaf modification ลักษณะ พบใน Storage leaf สะสมอาหาร ว่านหางจระเข้ หอม กระเทียม Leaf spine เปลี่ยนเป็นหนาม กระบองเพชร Byoyancyleaf เปลี่ยนเป็นทุ่นลอยน้า ผักตบชวา Leaf tendril เปลี่ยนเป็นมือเกาะ ถั่วลันเตา Bract เปลี่ยนคล้ายกลีบดอกไม้ หน้าวัว เฟื่องฟ้า Carnivorous leaf เปลี่ยนเป็นกับดักเจ็บแมลง หม้อข้าวหม้อแกงลิง หยาดน้าค้าง สาหร่ายข้าวเหนียว กาบหอยแครง Butterwort Reproductive leaf ใช้ขยายพันธุ์ ต้นคว่าตายใบเป็น