SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ 1
เซลล์ : หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ (Cell)
ในทางชีววิทยา เซลล์ (Cell) เป็น โครงสร้างและหน่วยทางานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
แทบทุกชนิด ในบางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยที่เป็นองค์ประกอบของชีวิต ("building blocks of life")
สิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น แบคทีเรีย ประกอบด้วยเซลล์เพียง 3 เซลล์ (unicellular) แต่สัตว์หลายชนิด
เช่น มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular) (มนุษย์มีเซลล์อยู่ประมาณ 10,000 ล้านล้าน
หรือ 1014 เซลล์)
ซึ่งถูกค้นพบโดย โรเบิร์ตฮุค เขาใช้กล้องจุลทรรศน์ที่ประดิษฐ์ขึ้นตรวจดูชิ้นไม้คอร์ก ที่ฝาน
บางๆ พบว่า ชิ้นไม้คอร์กประกอบด้วย ช่องขนาดเล็กมากมายเขาจึงตั้งชื่อแต่ละช่องว่า เซลล์
(Cell) ชิ้นไม้คอร์ก เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว เหลืออยู่แต่ ผนังเซลล์ (cell wall) ที่แข็งแรง ประกอบไป
ด้วยสารพวกเซลลูโลสและซูเบอริน ธีออร์ดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwan) และ แมทเธียส ชไลเดน
(Matthias Schleiden) นักชีววิทยาชาวเยอรมัน ได้เสนอทฤษฎีของเซลล์ ( Cell theory) มีใจความว่า
"สิ่งมีชีวิตทั้งปวง ประกอบด้วย เซลล์ และผลิตภัณฑ์ของเซลล์"
เซลล์ในร่างกายของคน
เซลล์ประสาท เซลล์เม็ดเลือดแดง
เซลล์กระดูก เซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์ผิวหนัง
รูปร่างของเซลล์
เซลล์ประสาท เซลล์เม็ดเลือดแดง อะมีบา พารามีเซียม
ยูกลีนา สเปิร์ม ไฮดรา เซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์อสุจิ พารามีเซียม ยูกลีนา
ใบความรู้ที่ 2
กล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
1. ฐาน (BASE) ท้าหน้าที่รับน้้าหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มีรูปร่างสี่เหลี่ยม หรือ
วงกลม ที่ฐานจะมีปุ่มส้าหรับปิดเปิดไฟฟ้า
2. แขน (ARM) เป็นส่วนยึดล้ากล้องและฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้ายกล้อง
จุลทรรศน์
3. ล้ากล้อง (BODY TUBE) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากมือจับมีลักษณะเป็นท่อกลวงปลายด้านบน
มีเลนส์ใกล้ตาสวมอยู่ด้านบนอีกด้านหนึ่งมีชุดของเลนส์ใกล้วัตถุซึ่งติดอยู่กับจานหมุนที่เรียกว่า
Revolving Nosepiece
4. แท่นวางวัตถุ (STAGE) เป็นแท่นส้าหรับวางสไลด์ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา มีลักษณะเป็น
แท่นสี่เหลี่ยม หรือวงกลมตรงกลางมีรูให้แสงจากหลอดไฟส่องผ่านวัตถุแท่นนี้สามารถเลื่อนขึ้นลงได้
ด้านในของแท่นวางวัตถุจะมีคริปส้าหรับยึดสไลด์และมีอุปกรณ์ช่วยในการเลื่อนสไลด์ เรียกว่า
Mechanical Stage นอกจากนี้ยังมีสเกลบอกต้าแหน่งของสไลด์บนแท่นวางวัตถุ ท้าให้สามารถบอก
ต้าแหน่งของภาพบนสไลด์ได้
เลนส์ใกล้ตา
ล้ากล้อง
REVOLVING NOSEPIECE
เลนส์ใกล้วัตถุ
แขน
ที่หนีบสไลด์
แท่นวางวัตถุ
ไดอะแฟรม
แหล่งกำเนิดแสง
ปุ่มปรับภาพหยาบ
ปุ่มปรับภำพละเอียด
ภำพ]tgvupupv
ฐาน
5. เลนส์รวมแสง ( CONDENSER ) จะอยู่ด้านใต้ของแท่นวางวัตถุ เป็นเลนส์รวมแสง
เพื่อรวมแสงผ่านไปยังวัตถุที่อยู่บนสไลด์ สามารถเลื่อนขึ้นลงได้โดยมีปุ่มปรับ
6. ไอริส ไดอะแฟรม ( IRIS DIAPHARM ) คือม่านปิดเปิดรูรับแสง สามารถปรับขนาดของรู
รับแสงได้ตามต้องการ มีคันโยกส้าหรับปรับขนาดรูรับแสงอยู่ด้านล่างใต้แท่นวางวัตถุ
7. เลนส์ใกล้วัตถุ (OBJECTIVE LENS) จะติดอยู่เป็นชุดกับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่
ประกอบด้วยเลนส์ ซึ่งรับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่น้ามาศึกษา ( Specimen ) เมื่อล้าแสงผ่านเลนส์
ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะขยายภาพของวัตถุนั้น และท้าให้ภาพที่ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ ( rimary
Real Image) โดยเลนส์ใกล้วัตถุจะมีก้าลังขยายต่าง ๆ กัน ได้แก่ เลนส์ใกล้วัตถุก้าลังขยายต่้า
(Lower Power) ก้าลังขยาย 4X, 10X เลนส์ใกล้วัตถุก้าลังขยายสูง (High Power) 40X เลนส์ใกล้
วัตถุแบบ Oil Immersion ขนาด 100X
8. REVOLVING NOSEPIECE เป็นส่วนของกล้องที่ใช้ส้าหรับหมุน เพื่อเปลี่ยนก้าลังขยาย
ของเลนส์ใกล้วัตถุ
9. เลนส์ใกล้ตา (EYEPIECE LENS หรือ OCULAR LENS) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับล้ากล้อง มี
ตัวเลขแสดงก้าลังขยายอยู่ด้านบน เช่น 5X, 10X หรือ 15X เป็นต้น กล้องที่ใช้ในปฏิบัติการ
จุลชีววิทยาทั่วไปนั้น มีก้าลังขยายของเลนส์ตาที่ 10X รุ่นที่มีเลนส์ใกล้ตาเลนส์เดียว เรียก Monocular
Microscope ชนิดที่มีเลนส์ใกล้ตาสองเลนส์ เรียก Binocular Microscope
10. ปุ่มปรับภาพหยาบ (COARSE ADJUSMENT KNOB) ใช้เลื่อนต้าแหน่งของแท่นวางวัตถุ
ขึ้นลง เมื่ออยู่ในระยะโฟกัส ก็จะมองเห็นภาพได้ ปุ่มนี้มีขนาดใหญ่จะอยู่ที่ด้านข้างของตัวกล้อง
11. ปุ่มปรับภาพละเอียด (FINE ADJUSMENT KNOB) เป็นปุ่มขนาดเล็กอยู่ถัดจาก
ปุ่มปรับภาพหยาบออกมาทางด้านนอกที่ต้าแหน่งเดียวกัน หรือกล้องบางชนิดอาจจะอยู่ใกล้ ๆ กัน
เมื่อปรับด้วยปุ่มปรับภาพหยาบจนมองเห็นภาพแล้วจึงหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดจะท้าให้ได้ภาพคมชัด
ยิ่งขึ้น
การใช้กล้องจุลทรรศน์
การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ( Light microscope)
1. วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่เรียบสม่้าเสมอเพื่อให้ล้ากล้องตั้งตรง
2. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ ( objective lens )อันที่มีก้าลังขยายต่้าสุดมาอยู่ตรงกับล้ากล้อง
3. ปรับกระจกเงาใต้แท่นวางวัตถุให้แสงเข้าล้ากล้องเต็มที่
4. น้าสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นของวัตถุ ให้วัตถุอยู่กึ่งกลางบริเวณที่แสงผ่านแล้วค่อยๆ
หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ(coarse adjustment knob)ให้ล้ากล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุมากที่สุด โดย
ระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกับกระจกปิดสไลด์
5. มองผ่านเลนส์ใกล้ตา (eyepiece)ลงตามล้ากล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบขึ้น
ช้าๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษา แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนปุ่มปรับภาพละเอียด(fine adjustment knob)
เพื่อปรับภาพให้ชัด อาจเลื่อนสไลด์ไป มาช้าๆ เพื่อให้สิ่งที่ต้องการศึกษามาอยู่กลางแนวล้ากล้อง ขณะ
ปรับภาพ ถ้าเป็นกล้องสมัยก่อนล้ากล้องจะเคลื่อนที่ขึ้นและลงเข้าหาวัตถุ แต่ถ้าเป็นกล้องสมัยใหม่
แท่นวางวัตถุจะท้าหน้าที่เลื่อนขึ้นลงเข้าหาเลนส์วัตถุ
6. ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มีก้าลังขยายสูงขึ้นเข้ามาใน
แนวล้ากล้อง และไม่ควรขยับสไลด์อีก แล้วหมุนปรับภาพละเอียดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น
7. การปรับแสงที่เข้าในล้ากล้องให้มากหรือน้อย ให้หมุนแผ่นไดอะแฟรม (diaphram) ปรับ
แสงตามต้องการ กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันในโรงเรียนจะมีจ้านวนเลนส์ใกล้วัตถุต่างๆ กันไปเช่น 1 อัน
2 อัน หรือ 3 อัน และมีก้าลังขยายต่างๆกันไป อาจเป็น ก้าลังขยายต่้าสุด x4 ก้าลังขยายขนาดกลาง
x10 ก้าลังขยายขนาดสูง x40, x80 หรือที่ก้าลังขยายสูงมากๆ ถึงx100 ส่วนก้าลังขยาย ของเลนส์นั้น
โดยทั่วไปจะเป็นx10 แต่ก็มีบางกล้องที่เป็นx5 หรือx15 ก้าลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ค้านวณได้จาก
ผลคูณของก้าลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุกับก้าลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ซึ่งมีก้ากับไว้ที่เลนส์
การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์
เนื่องจากกล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาสูง และมีส่วนประกอบที่อาจเสียหายง่าย
โดยเฉพาะเลนส์ จึงต้องใช้และเก็บรักษาด้วยความระมัดระวังให้ถูกวิธี ซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้
1. การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง (arm) และอีกมือหนึ่งวางที่ฐาน(base) และ
ต้องให้ล้ากล้องตั้งตรงเสมอ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา ซึ่งสามารถถอดออกได้ง่าย
2. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจท้าให้แท่นวางเกิดสนิม และท้าให้เลนส์
ใกล้วัตถุชื้นอาจเกิดราที่เลนส์ได้
3. ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา เมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้องหมุนขึ้นเท่านั้น
ห้ามหมุนลง เพราะเลนส์ใกล้วัตถุอาจกระทบกระจกสไลด์ท้าให้เลนส์แตกได้
4. การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์วัตถุก้าลังขยายต่้าสุดก่อนเสมอ เพราะปรับหาภาพ
สะดวกที่สุด
5. เมื่อใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีก้าลังขยายสูง ถ้าจะปรับภาพให้ชัดให้หมุนเฉพาะปุ่มปรับภาพ
ละเอียดเท่านั้น
6. ห้ามใช้มือแตะเลนส์ ในการท้าความสะอาดให้ใช้กระดาษส้าหรับเช็ดเลนส์เท่านั้น
7. เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออก เช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แตกต่างกันทั้งรูปร่างและหน้าที่
แต่ที่ส้าคัญคือเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบที่ส้าคัญ 3 ส่วนที่เหมือนกัน ได้แก่ นิวเคลียส
ไซโทพลาสซึม และเยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ มีส่วนประกอบบางอย่างเหมือนกันและ
บางอย่างแตกต่างกัน
เซลล์พืช (Plant Cell)
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างของเซลล์และเนื้อเยื่อที่แข็งแรงมากกว่าเนื้อเยื่อของสัตว์
เนื่องจากในเซลล์พืชมีโครงสร้างผนังเซลล์ที่แข็งแรง ดังรูป
รูปแสดงโครงสร้างที่สาคัญของเซลล์พืช
เซลล์พืชมีส่วนประกอบที่ส้าคัญและมีหน้าที่ดังนี้
1. ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นผนังที่คลุมเยื่อหุ้มเซลล์ไว้ สร้างมาจากเซลลูโลส เป็นโครงสร้าง
ที่ท้าให้เซลล์พืชแข็งแรงและคงรูปอยู่ได้ เช่น เนื้อไม้ เป็นต้น ผนังเซลล์มีช่องให้น้้า แร่ธาตุ และ
สารอาหาร แพร่ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ได้
ผนังเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์
คลอโรพลาสต์
กอลจิบอดี
แวคิวโอล
ไมโทคอนเดรีย
นิวเคลียส ร่างแหเอ็นโดพลาสมิก
นิวคลีโอลัส
ใบความรู้ที่ 3
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สัตว์
ไซโทพลาสซึม
2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เป็นเยื่อบางๆ ล้อมรอบเซลล์ อยู่ถัดจากผนังเซลล์เข้ามา
สร้างจากสารโปรตีนและไขมัน ท้าหน้าที่ควบคุมการแลกเปลี่ยนสารระหว่างภายใน- ภายนอกเซลล์
3. ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวซึ่งเป็นที่รวมของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ภายในเซลล์
รวมทั้งเป็นแหล่งที่เกิดปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ที่จะช่วยให้เซลล์ด้ารงชีวิตอยู่ได้ หรือเป็นแหล่งที่ด้าเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตนั่นเอง
4. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นเม็ดกลม ๆ อยู่ใน
ไซโทพลาสซึม ภายในคลอโรพลาสต์มีสารสีเขียวเรียกว่า คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) ท้าหน้าที่ดักจับ
พลังงานแสง เพื่อน้ามาใช้สร้างอาหารในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เซลล์พืชที่พบว่ามี คลอโรพ
ลาสต์อยู่เป็นจ้านวนมากคือ เซลล์ใบ เซลล์พืชบางเซลล์ก็ไม่มีคลอโรพลาสต์
5. นิวเคลียส (Nucleus) มีลักษณะเป็นก้อนกลมหรือค่อนข้างกลม อยู่ในไซโทพลาสซึม เป็น
ส่วนประกอบที่ส้าคัญของเซลล์ มีหน้าที่ควบคุมการท้างานของเซลล์ และถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น
6. แวคิวโอล (Vacuole) เป็นช่องว่างภายในเซลล์ ซึ่งบรรจุของเหลวที่เรียกว่า น้้าเลี้ยงเซลล์
อยู่ภายใน และเป็นที่เก็บสะสมของเสียภายในเซลล์
เซลล์สัตว์ (Animal Cell)
เนื้อเยื่อของสัตว์มีลักษณะอ่อนนุ่ม ไม่แข็งแกร่งเหมือนเนื้อเยื่อของพืช เนื่องจากเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์มีโครงสร้างบางอย่างแตกต่างกัน เซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่ส้าคัญ ดังรูป
รูปแสดงส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์
เยื่อหุ้มเซลล์
นิวเคลียส
ไซโทพลาสซึม
ร่างแหเอ็นโดพลาสมิก
ไลโซโซม
แวคิวโอ
ไมโทคอนเดรีย กอลจิบอดี
นิวคลีโอลัส
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีโครงสร้างบางอย่างต่างกัน ดังนี้
เซลล์พืช เซลล์สัตว์
มีรูปร่างเป็นเหลี่ยม มีรูปร่างกลม หรือรี
มีผนังเซลล์อยู่ด้านนอก ไม่มีผนังเซลล์ แต่มีสารเคลือบเซลล์อยู่ด้านนอก
มีคลอโรพลาสต์ภายในเซลล์ ไม่มีคลอโรพลาสต์
ไม่มีเซนทริโอล มีเซนทริโอลใช้ในการแบ่งเซลล์
แวคิวโอลมีขนาดใหญ่ มองเห็นได้ชัดเจน แวคิวโอลมีขนาดเล็ก มองเห็นได้ไม่ชัดเจน
ไม่มีไลโซโซม มีไลโซโซม
สรุปโครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โครงสร้าง เซลล์พืช เซลล์สัตว์
1. ส่วนห่อหุ้มเซลล์
- เยื่อหุ้มเซลล์
- ผนังเซลล์
มี
มี
มี
ไม่มี
2. นิวเคลียส มี มี
3. ไซโทพลาสซึม
- ร่างแหเอนโดพลาซึม
- ไมโทคอนเดรีย
- กอลจิคอมเพลกซ์
- แวคิวโอล
- คลอโรพลาสต์
- เซนทริโอ
- ไรโบโซม
- ไลโซโซม
มี
มี
มี
มี
มี
ไม่มี
มี
ไม่มี
มี
มี
มี
มี
ไม่มี
มี
มี
มี
4. ความแข็งแรง แข็งแรง อยู่ได้นาน มักอ่อนนุ่ม
5. รูปร่างของเซลล์ รูปเหลี่ยม รูปกลมรี
ใบความรู้ที่ 4
เรื่อง เซลล์ที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่พิเศษ
เซลล์ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อท้าหน้าที่ต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ เช่น
รูปร่างของเซลล์ หน้าที่
เซลล์ผิวหนัง ท้าหน้าที่ปกคลุมร่างกายและป้องกันอันตราย
ให้แก่อวัยวะภายใน
เซลล์ประสาท ท้าหน้าที่น้าข่าวสารไปทั่วร่างกาย
เซลล์กล้ามเนื้อ สามารถหดตัวและคลายตัว เพื่อช่วยในการ
เคลื่อนไหว
เซลล์เม็ดเลือดแดง ท้าหน้าที่ล้าเลียงแก๊สออกซิเจน แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และสารอาหารไปทั่ว
ร่างกาย
เซลล์เม็ดเลือดขาว ท้าหน้าที่ก้าจัดเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย
เซลล์กระดูก ท้าหน้าที่สร้างกระดูก เพื่อเป็นโครงสร้างของ
ร่างกาย
เซลล์อสุจิ มีส่วนหัวและส่วนหางช่วยในการเคลื่อนที่ไป
ผสมกับเซลล์ไข่
เซลล์ไข่ มีอาหารสะสมไซโทพลาสซึม
ใบความรู้ที่ 5
เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์
ถ้าเพื่อนๆ ตักน้้าจากบ่อหรือสระมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยเฉพาะน้้าที่อยู่บริเวณราก
จอก แหน หรือพืชชนิดอื่นๆ อาจพบสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิดดังในภาพต่อไปนี้
อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา ไฮดรา
พารามีเซียม Paramecium
พารามีเซียม เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาดเล็ก สามารถพบอาศัยได้ในแหล่งน้้าจืดตาม
ธรรมชาติ ไม่สามารถมองดูด้วยตาเปล่าและท้าให้รู้ได้ว่านี่คือพารามีเซียม แต่เมื่อน้ามาศึกษาดู
ลักษณะต่างๆ ด้วยกล้องจุลทรรศน์ถึงจะบอกได้ว่าเป็น "พารามีเซียม" ซึ่งก็จะพบว่ามีรูปร่างลักษณะ
คล้ายกับรองเท้าแตะ
ตัวของพารามีเซียมได้รวมเอาระบบต่างๆ ทุกระบบที่จ้าเป็นส้าหรับการด้ารงชีวิตมารวมอยู่
ในเซลล์เพียงเซลล์เดียวได้อย่างมหัศจรรย์ พารามีเซียมจะมีขนสั้นๆ อยู่รอบๆ ตัว ขนสั้นๆ นี้
นักวิทยาศาสตร์ตั้งชื่อเรียกว่า "ซีเลีย (cilia)" ซึ่งใช้ส้าหรับการเคลื่อนที่และช่วยในการกินอาหาร
อาหารของพารามีเซียมก็ ได้แก่ แบคทีเรีย เศษเนื้อเยื่อของสัตว์ต่างๆ โพรโตซัวอื่นๆ รวมถึงเป็นพวกที่
สามารถใช้สารอาหาร ( หรือ nutrients) ที่ละลายอยู่ในแหล่งน้้ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรงอีกด้วย
พารามีเซียม และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอื่นๆ ยังเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความส้าคัญต่อระบบนิเวศ ช่วย
ในการย่อยสลายสารต่างๆ ที่มีขนาดเล็ก พูดง่ายๆ ก็คือ เป็นตัวก้าจัดหรือกินซากเล็กๆ ชั้นเยี่ยมเลย
ทีเดียว และเป็นตัวเชื่อมต่อที่ท้าให้วัฏจักรของสารด้าเนินต่อไปได้ ถ้าไม่มีสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เหล่านี้ เราก็
คงจมกองขยะชีวภาพตายไปแล้ว นอกจากนี้การที่พารามีเซียมกินแบคทีเรียและโพรติสต์อื่นๆ ด้วย ก็
ยังช่วยควบคุมจ้านวนแบคทีเรียให้อยู่ในสมดุลอีกด้วย
สิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียว
สิ่งมีชีวิตบางชนิดขนาดเล็กมาก แต่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ สไปโรไจราจัดเป็น
สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีขนาดเล็กและมีหลายเซลล์
สไปโรไจรา(Spirogyra) อาศัยอยู่บริเวณผิวน้้าตามบ่อหรือแอ่งน้้าทั่วๆ ไปใน
ธรรมชาติ ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนกัน และต่อกันแบบปลายชนปลายท้าให้
เกิดเป็นสายยาว มีกระบวนการของชีวิตครบทั้ง 7 อย่างเกิดขึ้นในแต่ละเซลล์ สไปโรไจราสามารถ
สร้างอาหารเองได้ด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์เรียงตัวกันอยู่ภายใน
เซลล์
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

More Related Content

What's hot

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 

What's hot (20)

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 

Similar to เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต

ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Sukumal Ekayodhin
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
ssuser9219af
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
kasidid20309
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
edtech29
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
20 วิธีหลับง่านอนสบาย
20 วิธีหลับง่านอนสบาย20 วิธีหลับง่านอนสบาย
20 วิธีหลับง่านอนสบายPozz Recover
 

Similar to เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต (19)

ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Lab1
Lab1Lab1
Lab1
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Onet sc-m3
Onet sc-m3Onet sc-m3
Onet sc-m3
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
20 วิธีหลับง่านอนสบาย
20 วิธีหลับง่านอนสบาย20 วิธีหลับง่านอนสบาย
20 วิธีหลับง่านอนสบาย
 

More from Popeye Kotchakorn

กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
Popeye Kotchakorn
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
Popeye Kotchakorn
 
คุณสมบัติของผู้สมัคร กสพท.61
คุณสมบัติของผู้สมัคร กสพท.61คุณสมบัติของผู้สมัคร กสพท.61
คุณสมบัติของผู้สมัคร กสพท.61
Popeye Kotchakorn
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Popeye Kotchakorn
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
Popeye Kotchakorn
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
Popeye Kotchakorn
 
41sorlawit
41sorlawit41sorlawit
41sorlawit
Popeye Kotchakorn
 
Korean war
Korean warKorean war
Korean war
Popeye Kotchakorn
 
ใบงานที่1ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1ใบงานสำรวจตัวเองใบงานที่1ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1ใบงานสำรวจตัวเอง
Popeye Kotchakorn
 

More from Popeye Kotchakorn (9)

กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
คุณสมบัติของผู้สมัคร กสพท.61
คุณสมบัติของผู้สมัคร กสพท.61คุณสมบัติของผู้สมัคร กสพท.61
คุณสมบัติของผู้สมัคร กสพท.61
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
41sorlawit
41sorlawit41sorlawit
41sorlawit
 
Korean war
Korean warKorean war
Korean war
 
ใบงานที่1ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1ใบงานสำรวจตัวเองใบงานที่1ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1ใบงานสำรวจตัวเอง
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 เซลล์ : หน่วยของสิ่งมีชีวิต เซลล์ (Cell) ในทางชีววิทยา เซลล์ (Cell) เป็น โครงสร้างและหน่วยทางานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต แทบทุกชนิด ในบางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยที่เป็นองค์ประกอบของชีวิต ("building blocks of life") สิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น แบคทีเรีย ประกอบด้วยเซลล์เพียง 3 เซลล์ (unicellular) แต่สัตว์หลายชนิด เช่น มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular) (มนุษย์มีเซลล์อยู่ประมาณ 10,000 ล้านล้าน หรือ 1014 เซลล์) ซึ่งถูกค้นพบโดย โรเบิร์ตฮุค เขาใช้กล้องจุลทรรศน์ที่ประดิษฐ์ขึ้นตรวจดูชิ้นไม้คอร์ก ที่ฝาน บางๆ พบว่า ชิ้นไม้คอร์กประกอบด้วย ช่องขนาดเล็กมากมายเขาจึงตั้งชื่อแต่ละช่องว่า เซลล์ (Cell) ชิ้นไม้คอร์ก เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว เหลืออยู่แต่ ผนังเซลล์ (cell wall) ที่แข็งแรง ประกอบไป ด้วยสารพวกเซลลูโลสและซูเบอริน ธีออร์ดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwan) และ แมทเธียส ชไลเดน (Matthias Schleiden) นักชีววิทยาชาวเยอรมัน ได้เสนอทฤษฎีของเซลล์ ( Cell theory) มีใจความว่า "สิ่งมีชีวิตทั้งปวง ประกอบด้วย เซลล์ และผลิตภัณฑ์ของเซลล์" เซลล์ในร่างกายของคน เซลล์ประสาท เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์กระดูก เซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์ผิวหนัง
  • 2. รูปร่างของเซลล์ เซลล์ประสาท เซลล์เม็ดเลือดแดง อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา สเปิร์ม ไฮดรา เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์อสุจิ พารามีเซียม ยูกลีนา
  • 3. ใบความรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์ ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ 1. ฐาน (BASE) ท้าหน้าที่รับน้้าหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มีรูปร่างสี่เหลี่ยม หรือ วงกลม ที่ฐานจะมีปุ่มส้าหรับปิดเปิดไฟฟ้า 2. แขน (ARM) เป็นส่วนยึดล้ากล้องและฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้ายกล้อง จุลทรรศน์ 3. ล้ากล้อง (BODY TUBE) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากมือจับมีลักษณะเป็นท่อกลวงปลายด้านบน มีเลนส์ใกล้ตาสวมอยู่ด้านบนอีกด้านหนึ่งมีชุดของเลนส์ใกล้วัตถุซึ่งติดอยู่กับจานหมุนที่เรียกว่า Revolving Nosepiece 4. แท่นวางวัตถุ (STAGE) เป็นแท่นส้าหรับวางสไลด์ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา มีลักษณะเป็น แท่นสี่เหลี่ยม หรือวงกลมตรงกลางมีรูให้แสงจากหลอดไฟส่องผ่านวัตถุแท่นนี้สามารถเลื่อนขึ้นลงได้ ด้านในของแท่นวางวัตถุจะมีคริปส้าหรับยึดสไลด์และมีอุปกรณ์ช่วยในการเลื่อนสไลด์ เรียกว่า Mechanical Stage นอกจากนี้ยังมีสเกลบอกต้าแหน่งของสไลด์บนแท่นวางวัตถุ ท้าให้สามารถบอก ต้าแหน่งของภาพบนสไลด์ได้ เลนส์ใกล้ตา ล้ากล้อง REVOLVING NOSEPIECE เลนส์ใกล้วัตถุ แขน ที่หนีบสไลด์ แท่นวางวัตถุ ไดอะแฟรม แหล่งกำเนิดแสง ปุ่มปรับภาพหยาบ ปุ่มปรับภำพละเอียด ภำพ]tgvupupv ฐาน
  • 4. 5. เลนส์รวมแสง ( CONDENSER ) จะอยู่ด้านใต้ของแท่นวางวัตถุ เป็นเลนส์รวมแสง เพื่อรวมแสงผ่านไปยังวัตถุที่อยู่บนสไลด์ สามารถเลื่อนขึ้นลงได้โดยมีปุ่มปรับ 6. ไอริส ไดอะแฟรม ( IRIS DIAPHARM ) คือม่านปิดเปิดรูรับแสง สามารถปรับขนาดของรู รับแสงได้ตามต้องการ มีคันโยกส้าหรับปรับขนาดรูรับแสงอยู่ด้านล่างใต้แท่นวางวัตถุ 7. เลนส์ใกล้วัตถุ (OBJECTIVE LENS) จะติดอยู่เป็นชุดกับจานหมุน ซึ่งเป็นส่วนของกล้องที่ ประกอบด้วยเลนส์ ซึ่งรับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่น้ามาศึกษา ( Specimen ) เมื่อล้าแสงผ่านเลนส์ ใกล้วัตถุ เลนส์ใกล้วัตถุจะขยายภาพของวัตถุนั้น และท้าให้ภาพที่ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ ( rimary Real Image) โดยเลนส์ใกล้วัตถุจะมีก้าลังขยายต่าง ๆ กัน ได้แก่ เลนส์ใกล้วัตถุก้าลังขยายต่้า (Lower Power) ก้าลังขยาย 4X, 10X เลนส์ใกล้วัตถุก้าลังขยายสูง (High Power) 40X เลนส์ใกล้ วัตถุแบบ Oil Immersion ขนาด 100X 8. REVOLVING NOSEPIECE เป็นส่วนของกล้องที่ใช้ส้าหรับหมุน เพื่อเปลี่ยนก้าลังขยาย ของเลนส์ใกล้วัตถุ 9. เลนส์ใกล้ตา (EYEPIECE LENS หรือ OCULAR LENS) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับล้ากล้อง มี ตัวเลขแสดงก้าลังขยายอยู่ด้านบน เช่น 5X, 10X หรือ 15X เป็นต้น กล้องที่ใช้ในปฏิบัติการ จุลชีววิทยาทั่วไปนั้น มีก้าลังขยายของเลนส์ตาที่ 10X รุ่นที่มีเลนส์ใกล้ตาเลนส์เดียว เรียก Monocular Microscope ชนิดที่มีเลนส์ใกล้ตาสองเลนส์ เรียก Binocular Microscope 10. ปุ่มปรับภาพหยาบ (COARSE ADJUSMENT KNOB) ใช้เลื่อนต้าแหน่งของแท่นวางวัตถุ ขึ้นลง เมื่ออยู่ในระยะโฟกัส ก็จะมองเห็นภาพได้ ปุ่มนี้มีขนาดใหญ่จะอยู่ที่ด้านข้างของตัวกล้อง 11. ปุ่มปรับภาพละเอียด (FINE ADJUSMENT KNOB) เป็นปุ่มขนาดเล็กอยู่ถัดจาก ปุ่มปรับภาพหยาบออกมาทางด้านนอกที่ต้าแหน่งเดียวกัน หรือกล้องบางชนิดอาจจะอยู่ใกล้ ๆ กัน เมื่อปรับด้วยปุ่มปรับภาพหยาบจนมองเห็นภาพแล้วจึงหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดจะท้าให้ได้ภาพคมชัด ยิ่งขึ้น การใช้กล้องจุลทรรศน์ การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ( Light microscope) 1. วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่เรียบสม่้าเสมอเพื่อให้ล้ากล้องตั้งตรง 2. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ ( objective lens )อันที่มีก้าลังขยายต่้าสุดมาอยู่ตรงกับล้ากล้อง 3. ปรับกระจกเงาใต้แท่นวางวัตถุให้แสงเข้าล้ากล้องเต็มที่ 4. น้าสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นของวัตถุ ให้วัตถุอยู่กึ่งกลางบริเวณที่แสงผ่านแล้วค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ(coarse adjustment knob)ให้ล้ากล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุมากที่สุด โดย ระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกับกระจกปิดสไลด์
  • 5. 5. มองผ่านเลนส์ใกล้ตา (eyepiece)ลงตามล้ากล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบขึ้น ช้าๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษา แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนปุ่มปรับภาพละเอียด(fine adjustment knob) เพื่อปรับภาพให้ชัด อาจเลื่อนสไลด์ไป มาช้าๆ เพื่อให้สิ่งที่ต้องการศึกษามาอยู่กลางแนวล้ากล้อง ขณะ ปรับภาพ ถ้าเป็นกล้องสมัยก่อนล้ากล้องจะเคลื่อนที่ขึ้นและลงเข้าหาวัตถุ แต่ถ้าเป็นกล้องสมัยใหม่ แท่นวางวัตถุจะท้าหน้าที่เลื่อนขึ้นลงเข้าหาเลนส์วัตถุ 6. ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มีก้าลังขยายสูงขึ้นเข้ามาใน แนวล้ากล้อง และไม่ควรขยับสไลด์อีก แล้วหมุนปรับภาพละเอียดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น 7. การปรับแสงที่เข้าในล้ากล้องให้มากหรือน้อย ให้หมุนแผ่นไดอะแฟรม (diaphram) ปรับ แสงตามต้องการ กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันในโรงเรียนจะมีจ้านวนเลนส์ใกล้วัตถุต่างๆ กันไปเช่น 1 อัน 2 อัน หรือ 3 อัน และมีก้าลังขยายต่างๆกันไป อาจเป็น ก้าลังขยายต่้าสุด x4 ก้าลังขยายขนาดกลาง x10 ก้าลังขยายขนาดสูง x40, x80 หรือที่ก้าลังขยายสูงมากๆ ถึงx100 ส่วนก้าลังขยาย ของเลนส์นั้น โดยทั่วไปจะเป็นx10 แต่ก็มีบางกล้องที่เป็นx5 หรือx15 ก้าลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ค้านวณได้จาก ผลคูณของก้าลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุกับก้าลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ซึ่งมีก้ากับไว้ที่เลนส์ การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์ เนื่องจากกล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาสูง และมีส่วนประกอบที่อาจเสียหายง่าย โดยเฉพาะเลนส์ จึงต้องใช้และเก็บรักษาด้วยความระมัดระวังให้ถูกวิธี ซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้ 1. การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง (arm) และอีกมือหนึ่งวางที่ฐาน(base) และ ต้องให้ล้ากล้องตั้งตรงเสมอ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา ซึ่งสามารถถอดออกได้ง่าย 2. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจท้าให้แท่นวางเกิดสนิม และท้าให้เลนส์ ใกล้วัตถุชื้นอาจเกิดราที่เลนส์ได้ 3. ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา เมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้องหมุนขึ้นเท่านั้น ห้ามหมุนลง เพราะเลนส์ใกล้วัตถุอาจกระทบกระจกสไลด์ท้าให้เลนส์แตกได้ 4. การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์วัตถุก้าลังขยายต่้าสุดก่อนเสมอ เพราะปรับหาภาพ สะดวกที่สุด 5. เมื่อใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีก้าลังขยายสูง ถ้าจะปรับภาพให้ชัดให้หมุนเฉพาะปุ่มปรับภาพ ละเอียดเท่านั้น 6. ห้ามใช้มือแตะเลนส์ ในการท้าความสะอาดให้ใช้กระดาษส้าหรับเช็ดเลนส์เท่านั้น 7. เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออก เช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด
  • 6. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แตกต่างกันทั้งรูปร่างและหน้าที่ แต่ที่ส้าคัญคือเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบที่ส้าคัญ 3 ส่วนที่เหมือนกัน ได้แก่ นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม และเยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ มีส่วนประกอบบางอย่างเหมือนกันและ บางอย่างแตกต่างกัน เซลล์พืช (Plant Cell) พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างของเซลล์และเนื้อเยื่อที่แข็งแรงมากกว่าเนื้อเยื่อของสัตว์ เนื่องจากในเซลล์พืชมีโครงสร้างผนังเซลล์ที่แข็งแรง ดังรูป รูปแสดงโครงสร้างที่สาคัญของเซลล์พืช เซลล์พืชมีส่วนประกอบที่ส้าคัญและมีหน้าที่ดังนี้ 1. ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นผนังที่คลุมเยื่อหุ้มเซลล์ไว้ สร้างมาจากเซลลูโลส เป็นโครงสร้าง ที่ท้าให้เซลล์พืชแข็งแรงและคงรูปอยู่ได้ เช่น เนื้อไม้ เป็นต้น ผนังเซลล์มีช่องให้น้้า แร่ธาตุ และ สารอาหาร แพร่ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ได้ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ คลอโรพลาสต์ กอลจิบอดี แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย นิวเคลียส ร่างแหเอ็นโดพลาสมิก นิวคลีโอลัส ใบความรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ สัตว์ ไซโทพลาสซึม
  • 7. 2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เป็นเยื่อบางๆ ล้อมรอบเซลล์ อยู่ถัดจากผนังเซลล์เข้ามา สร้างจากสารโปรตีนและไขมัน ท้าหน้าที่ควบคุมการแลกเปลี่ยนสารระหว่างภายใน- ภายนอกเซลล์ 3. ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวซึ่งเป็นที่รวมของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ภายในเซลล์ รวมทั้งเป็นแหล่งที่เกิดปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ที่จะช่วยให้เซลล์ด้ารงชีวิตอยู่ได้ หรือเป็นแหล่งที่ด้าเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตนั่นเอง 4. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นเม็ดกลม ๆ อยู่ใน ไซโทพลาสซึม ภายในคลอโรพลาสต์มีสารสีเขียวเรียกว่า คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) ท้าหน้าที่ดักจับ พลังงานแสง เพื่อน้ามาใช้สร้างอาหารในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เซลล์พืชที่พบว่ามี คลอโรพ ลาสต์อยู่เป็นจ้านวนมากคือ เซลล์ใบ เซลล์พืชบางเซลล์ก็ไม่มีคลอโรพลาสต์ 5. นิวเคลียส (Nucleus) มีลักษณะเป็นก้อนกลมหรือค่อนข้างกลม อยู่ในไซโทพลาสซึม เป็น ส่วนประกอบที่ส้าคัญของเซลล์ มีหน้าที่ควบคุมการท้างานของเซลล์ และถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น 6. แวคิวโอล (Vacuole) เป็นช่องว่างภายในเซลล์ ซึ่งบรรจุของเหลวที่เรียกว่า น้้าเลี้ยงเซลล์ อยู่ภายใน และเป็นที่เก็บสะสมของเสียภายในเซลล์ เซลล์สัตว์ (Animal Cell) เนื้อเยื่อของสัตว์มีลักษณะอ่อนนุ่ม ไม่แข็งแกร่งเหมือนเนื้อเยื่อของพืช เนื่องจากเซลล์พืช และเซลล์สัตว์มีโครงสร้างบางอย่างแตกต่างกัน เซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่ส้าคัญ ดังรูป รูปแสดงส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์ เยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม ร่างแหเอ็นโดพลาสมิก ไลโซโซม แวคิวโอ ไมโทคอนเดรีย กอลจิบอดี นิวคลีโอลัส
  • 8. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีโครงสร้างบางอย่างต่างกัน ดังนี้ เซลล์พืช เซลล์สัตว์ มีรูปร่างเป็นเหลี่ยม มีรูปร่างกลม หรือรี มีผนังเซลล์อยู่ด้านนอก ไม่มีผนังเซลล์ แต่มีสารเคลือบเซลล์อยู่ด้านนอก มีคลอโรพลาสต์ภายในเซลล์ ไม่มีคลอโรพลาสต์ ไม่มีเซนทริโอล มีเซนทริโอลใช้ในการแบ่งเซลล์ แวคิวโอลมีขนาดใหญ่ มองเห็นได้ชัดเจน แวคิวโอลมีขนาดเล็ก มองเห็นได้ไม่ชัดเจน ไม่มีไลโซโซม มีไลโซโซม
  • 9. สรุปโครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ โครงสร้าง เซลล์พืช เซลล์สัตว์ 1. ส่วนห่อหุ้มเซลล์ - เยื่อหุ้มเซลล์ - ผนังเซลล์ มี มี มี ไม่มี 2. นิวเคลียส มี มี 3. ไซโทพลาสซึม - ร่างแหเอนโดพลาซึม - ไมโทคอนเดรีย - กอลจิคอมเพลกซ์ - แวคิวโอล - คลอโรพลาสต์ - เซนทริโอ - ไรโบโซม - ไลโซโซม มี มี มี มี มี ไม่มี มี ไม่มี มี มี มี มี ไม่มี มี มี มี 4. ความแข็งแรง แข็งแรง อยู่ได้นาน มักอ่อนนุ่ม 5. รูปร่างของเซลล์ รูปเหลี่ยม รูปกลมรี
  • 10. ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง เซลล์ที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่พิเศษ เซลล์ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อท้าหน้าที่ต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ เช่น รูปร่างของเซลล์ หน้าที่ เซลล์ผิวหนัง ท้าหน้าที่ปกคลุมร่างกายและป้องกันอันตราย ให้แก่อวัยวะภายใน เซลล์ประสาท ท้าหน้าที่น้าข่าวสารไปทั่วร่างกาย เซลล์กล้ามเนื้อ สามารถหดตัวและคลายตัว เพื่อช่วยในการ เคลื่อนไหว เซลล์เม็ดเลือดแดง ท้าหน้าที่ล้าเลียงแก๊สออกซิเจน แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ และสารอาหารไปทั่ว ร่างกาย เซลล์เม็ดเลือดขาว ท้าหน้าที่ก้าจัดเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย เซลล์กระดูก ท้าหน้าที่สร้างกระดูก เพื่อเป็นโครงสร้างของ ร่างกาย เซลล์อสุจิ มีส่วนหัวและส่วนหางช่วยในการเคลื่อนที่ไป ผสมกับเซลล์ไข่ เซลล์ไข่ มีอาหารสะสมไซโทพลาสซึม
  • 11. ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ ถ้าเพื่อนๆ ตักน้้าจากบ่อหรือสระมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยเฉพาะน้้าที่อยู่บริเวณราก จอก แหน หรือพืชชนิดอื่นๆ อาจพบสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิดดังในภาพต่อไปนี้ อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา ไฮดรา พารามีเซียม Paramecium พารามีเซียม เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาดเล็ก สามารถพบอาศัยได้ในแหล่งน้้าจืดตาม ธรรมชาติ ไม่สามารถมองดูด้วยตาเปล่าและท้าให้รู้ได้ว่านี่คือพารามีเซียม แต่เมื่อน้ามาศึกษาดู ลักษณะต่างๆ ด้วยกล้องจุลทรรศน์ถึงจะบอกได้ว่าเป็น "พารามีเซียม" ซึ่งก็จะพบว่ามีรูปร่างลักษณะ คล้ายกับรองเท้าแตะ ตัวของพารามีเซียมได้รวมเอาระบบต่างๆ ทุกระบบที่จ้าเป็นส้าหรับการด้ารงชีวิตมารวมอยู่ ในเซลล์เพียงเซลล์เดียวได้อย่างมหัศจรรย์ พารามีเซียมจะมีขนสั้นๆ อยู่รอบๆ ตัว ขนสั้นๆ นี้ นักวิทยาศาสตร์ตั้งชื่อเรียกว่า "ซีเลีย (cilia)" ซึ่งใช้ส้าหรับการเคลื่อนที่และช่วยในการกินอาหาร อาหารของพารามีเซียมก็ ได้แก่ แบคทีเรีย เศษเนื้อเยื่อของสัตว์ต่างๆ โพรโตซัวอื่นๆ รวมถึงเป็นพวกที่ สามารถใช้สารอาหาร ( หรือ nutrients) ที่ละลายอยู่ในแหล่งน้้ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรงอีกด้วย พารามีเซียม และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอื่นๆ ยังเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความส้าคัญต่อระบบนิเวศ ช่วย ในการย่อยสลายสารต่างๆ ที่มีขนาดเล็ก พูดง่ายๆ ก็คือ เป็นตัวก้าจัดหรือกินซากเล็กๆ ชั้นเยี่ยมเลย ทีเดียว และเป็นตัวเชื่อมต่อที่ท้าให้วัฏจักรของสารด้าเนินต่อไปได้ ถ้าไม่มีสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เหล่านี้ เราก็ คงจมกองขยะชีวภาพตายไปแล้ว นอกจากนี้การที่พารามีเซียมกินแบคทีเรียและโพรติสต์อื่นๆ ด้วย ก็ ยังช่วยควบคุมจ้านวนแบคทีเรียให้อยู่ในสมดุลอีกด้วย สิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียว
  • 12. สิ่งมีชีวิตบางชนิดขนาดเล็กมาก แต่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ สไปโรไจราจัดเป็น สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีขนาดเล็กและมีหลายเซลล์ สไปโรไจรา(Spirogyra) อาศัยอยู่บริเวณผิวน้้าตามบ่อหรือแอ่งน้้าทั่วๆ ไปใน ธรรมชาติ ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนกัน และต่อกันแบบปลายชนปลายท้าให้ เกิดเป็นสายยาว มีกระบวนการของชีวิตครบทั้ง 7 อย่างเกิดขึ้นในแต่ละเซลล์ สไปโรไจราสามารถ สร้างอาหารเองได้ด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์เรียงตัวกันอยู่ภายใน เซลล์ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์