SlideShare a Scribd company logo
 เสรีภาพเป็นสิ่งสาคัญ
สาหรับความเป็นมนุษย์
เพราะมนุษย์เป็นอิสระโดย
ธรรมชาติ แต่มนุษย์กลับ
รู้สึกว่าตน “ถูกสาปให้เป็น
อิสระ” (CONDEMNED TO
BE FREE)
 อัตถิภาวะของมนุษย์ มีลักษณะไม่ถูกจากัด เพราะปราศจาก
ธรรมชาติหรือ “สารัตถะ” ที่แน่นอนตายตัว >> บุคคลเป็นสิ่งซึ่ง
ว่างเปล่าจากตัวตน (SELF) ที่มั่นคงถาวร เป็นสิ่งที่ปราศจาก
แก่นสาร (NON-SUBSTANTIAL BEING) หรือเป็นสิ่งที่ปราศจาก
สารัตถะ (ESSENSE) ใดๆ ในตอนต้น
 ความเป็นสิ่งว่างเปล่าคือพร้อมที่จะเป็นอะไรก็ได้ สามารถ
ตระหนักถึงอัตถิภาวะและเจตนารมณ์ของตนว่าต้องการเป็น
อะไร....
 ความว่างเปล่าจากสารัตถะนี้เอง คือ “เสรีภาพ” (FREEDOM)
ของบุคคล
 การดารงอยู่ของบุคคล ก็คือ การมีเสรีภาพ
 การเป็นมนุษย์ ก็คือ การมีอิสระ
 เสรีภาพ หมายถึง ความว่างเปล่า คือ ปราศจากตัวตน หรือ
แก่นสาร หรือ ปราศจากซึ่งสารัตถะ (ESSENCE) ของบุคคล >>
และบุคคลนั่นเอง เป็นผู้ลงมือสร้างตัวตน หรือ แก่นสาร หรือ
สารัตถะให้กับตนเอง ด้วย การตัดสินใจเลือก (DECISION)
 “คนเราเป็นผลิตผลของการกระทา เขาเป็นสิ่งที่เขาทา มิใช่เขา
ทาในสิ่งที่เขาเป็น คนเรามิใช่อะไรอื่น นอกจากผลที่เขาสร้าง
ให้แก่ตัวเอง”
 คุณคิดว่า อะไรเป็นสาเหตุให้คนเราเลือกกระทาบางสิ่งมากกว่า
อีกสิ่งหนึ่ง?
 ปรัชญาอัตถิภาวนิยม >> การเลือกของบุคลเป็นการเลือกจาก
ความว่างเปล่า คือ ปราศจากพื้นฐานใดๆ ทั้งสิ้น (BASLESS
CHOICE)
 ดังนั้น เสรีภาพของบุคคล จึงเป็น เสรีภาพที่สมบูรณ์
(ABSOLUTE FREEDOM) คือ ปราศจากอิทธิพลใดๆ ทั้งสิ้น
และสามารถเป็นเช่นนี้ได้ทุกการเลือก
 ซาร์ต >> เสรีภาพ คือ
ความสามารถที่จะปฏิเสธ
และมนุษย์เท่านั้นที่สามารถ
ปฏิเสธได้
 ไม่ว่ามนุษย์จะตกอยู่ใน
สถานการณ์ใดๆ มนุษย์ยังมี
ทางเลือกเสมอ เสรีภาพเป็น
ธาตุแท้ของมนุษย์ >>**
มนุษย์มีทางเลือกเสมอ
 มนุษย์ที่แท้จริง คือ ผู้ที่ตระหนักถึงเสรีภาพของตนเอง และ
ยอมรับเสรีภาพนั้น ด้วยความเต็มใจ การได้เลือกกระทาด้วย
ตนเอง ย่อมทาให้เกิดความรู้สึกว่าสิ่งนั้นเป็นเรื่องของบุคคลเอง
(FEEL PERSONALITY ABOUT LIFE) มากยิ่งขั้น
 เมื่อบุคคลมีเสรีภาพอย่างไม่จากัด แล้วทาไม นักปรัชญา
อัตถิภาวนิยมจึงมีทัศนะว่า “มนุษย์ถูกสาปให้มีเสรีภาพ” ?
 เพราะ เสรีภาพ คือ การเสี่ยง >> เมื่อบุคคลลงมือเลือกอย่าง
หนึ่ง เขาต้องตัดหนทางที่เป็นไปได้อย่างอื่นทิ้งไป >> ดังนั้น คน
จึง “กังวล” เมื่อต้องเลือก
 และเมื่อบุคคลมีเสรีภาพที่จะเลือก เขาก็ต้องมีความรับผิดชอบ
ต่อสิ่งที่เขาเลือก ** เสรีภาพกับความรับผิดชอบจึงเป็นสิ่งคู่กัน
 ในทัศนะของซาร์ต >> เสรีภาพ ทาให้เกิดความรับผิดชอบ >>
มนุษย์มีเสรีภาพเต็มเปี่ ยม >> ไม่มีสถานการณ์ใดๆ ที่มนุษย์ไม่มี
โอกาสเลือก ดังนั้นมนุษย์จึงต้องรับผิดชอบทุกสิ่งที่ตนกระทาลง
ไป
 สาหรับนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม >> การมีเสรีภาพ ก่อให้เกิด
ความกังวล มนุษย์จึงกลัวเสรีภาพ ถ้าไม่มีเสรีภาพ เขาก็ไม่ต้อง
มีความรับผิดชอบ ไม่ต้องมีความกังวล >> แต่มนุษย์ที่ไม่มี
ปราศจากเสรีภาพก็ไม่ใช่มนุษย์ เขาได้กลายเป็นก้อนหิน หรือสิ่ง
ไร้ชีวิต
 ดังนั้น มนุษย์จึงไม่มีทางหลีกเลี่ยงเสรีภาพ เสรีภาพจึงไม่ใช่
พรสวรรค์ แต่เป็นการถูกลงโทษมากกว่า
 คุณคิดอย่างไร ต่อ “เสรีภาพ” ในทัศนะของ
EXISTENTIALISM ??
 และ “เสรีภาพ” ในทัศนะของคุณเป็นอย่างไร? มีคุณค่า
ต่อชีวิต หรือไม่ อย่างไร?
 ถึงแม้คนๆ หนึ่งจะมีเสรีภาพและ
สร้างสรรค์ แต่ขณะเดียวกัน การมีอยู่
ของเขายังมีด้านมืดที่ทาให้เป็น
อุปสรรคของเสรีภาพและการ
สร้างสรรค์ของเขา >> ได้แก่ ความ
จากัดของข้อเท็จจริงทางด้านสภาวะ
การมีอยู่ของตนเอง หรือ “ความเป็น
ตัวฉัน” เช่น รูปร่าง สติปัญญา ความ
จากัดของความตาย ความจากัดของ
การมีอยู่ในเวลา และความจากัดอัน
สืบเนื่องมาจากความเป็นสัตว์สังคม
 อุปสรรคของเสรีภาพ และงานสร้างสรรค์ทาให้เกิดความตึง
เครียดต่อการมีอยู่ของคนๆ หนึ่ง อันเป็นเหตุให้เขาไม่ต้องการ
จะใช้เสรีภาพของตนเอง
 การมีอยู่ที่แท้จริงสมเป็นมนุษย์ (อัตถิภาวะแท้) ก็คือ เขาต้องใช้
เสรีภาพและสร้างสรรค์ตนเอง ไม่ยอมจานนต่อขนบธรรมเนียม
ประเพณีของสังคม
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

More from Padvee Academy

วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
Padvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
Padvee Academy
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
Padvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 

เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์

  • 1.
  • 3.  อัตถิภาวะของมนุษย์ มีลักษณะไม่ถูกจากัด เพราะปราศจาก ธรรมชาติหรือ “สารัตถะ” ที่แน่นอนตายตัว >> บุคคลเป็นสิ่งซึ่ง ว่างเปล่าจากตัวตน (SELF) ที่มั่นคงถาวร เป็นสิ่งที่ปราศจาก แก่นสาร (NON-SUBSTANTIAL BEING) หรือเป็นสิ่งที่ปราศจาก สารัตถะ (ESSENSE) ใดๆ ในตอนต้น  ความเป็นสิ่งว่างเปล่าคือพร้อมที่จะเป็นอะไรก็ได้ สามารถ ตระหนักถึงอัตถิภาวะและเจตนารมณ์ของตนว่าต้องการเป็น อะไร....  ความว่างเปล่าจากสารัตถะนี้เอง คือ “เสรีภาพ” (FREEDOM) ของบุคคล
  • 4.  การดารงอยู่ของบุคคล ก็คือ การมีเสรีภาพ  การเป็นมนุษย์ ก็คือ การมีอิสระ  เสรีภาพ หมายถึง ความว่างเปล่า คือ ปราศจากตัวตน หรือ แก่นสาร หรือ ปราศจากซึ่งสารัตถะ (ESSENCE) ของบุคคล >> และบุคคลนั่นเอง เป็นผู้ลงมือสร้างตัวตน หรือ แก่นสาร หรือ สารัตถะให้กับตนเอง ด้วย การตัดสินใจเลือก (DECISION)
  • 5.  “คนเราเป็นผลิตผลของการกระทา เขาเป็นสิ่งที่เขาทา มิใช่เขา ทาในสิ่งที่เขาเป็น คนเรามิใช่อะไรอื่น นอกจากผลที่เขาสร้าง ให้แก่ตัวเอง”
  • 6.  คุณคิดว่า อะไรเป็นสาเหตุให้คนเราเลือกกระทาบางสิ่งมากกว่า อีกสิ่งหนึ่ง?  ปรัชญาอัตถิภาวนิยม >> การเลือกของบุคลเป็นการเลือกจาก ความว่างเปล่า คือ ปราศจากพื้นฐานใดๆ ทั้งสิ้น (BASLESS CHOICE)  ดังนั้น เสรีภาพของบุคคล จึงเป็น เสรีภาพที่สมบูรณ์ (ABSOLUTE FREEDOM) คือ ปราศจากอิทธิพลใดๆ ทั้งสิ้น และสามารถเป็นเช่นนี้ได้ทุกการเลือก
  • 7.  ซาร์ต >> เสรีภาพ คือ ความสามารถที่จะปฏิเสธ และมนุษย์เท่านั้นที่สามารถ ปฏิเสธได้  ไม่ว่ามนุษย์จะตกอยู่ใน สถานการณ์ใดๆ มนุษย์ยังมี ทางเลือกเสมอ เสรีภาพเป็น ธาตุแท้ของมนุษย์ >>** มนุษย์มีทางเลือกเสมอ
  • 8.  มนุษย์ที่แท้จริง คือ ผู้ที่ตระหนักถึงเสรีภาพของตนเอง และ ยอมรับเสรีภาพนั้น ด้วยความเต็มใจ การได้เลือกกระทาด้วย ตนเอง ย่อมทาให้เกิดความรู้สึกว่าสิ่งนั้นเป็นเรื่องของบุคคลเอง (FEEL PERSONALITY ABOUT LIFE) มากยิ่งขั้น
  • 9.  เมื่อบุคคลมีเสรีภาพอย่างไม่จากัด แล้วทาไม นักปรัชญา อัตถิภาวนิยมจึงมีทัศนะว่า “มนุษย์ถูกสาปให้มีเสรีภาพ” ?  เพราะ เสรีภาพ คือ การเสี่ยง >> เมื่อบุคคลลงมือเลือกอย่าง หนึ่ง เขาต้องตัดหนทางที่เป็นไปได้อย่างอื่นทิ้งไป >> ดังนั้น คน จึง “กังวล” เมื่อต้องเลือก  และเมื่อบุคคลมีเสรีภาพที่จะเลือก เขาก็ต้องมีความรับผิดชอบ ต่อสิ่งที่เขาเลือก ** เสรีภาพกับความรับผิดชอบจึงเป็นสิ่งคู่กัน
  • 10.  ในทัศนะของซาร์ต >> เสรีภาพ ทาให้เกิดความรับผิดชอบ >> มนุษย์มีเสรีภาพเต็มเปี่ ยม >> ไม่มีสถานการณ์ใดๆ ที่มนุษย์ไม่มี โอกาสเลือก ดังนั้นมนุษย์จึงต้องรับผิดชอบทุกสิ่งที่ตนกระทาลง ไป  สาหรับนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม >> การมีเสรีภาพ ก่อให้เกิด ความกังวล มนุษย์จึงกลัวเสรีภาพ ถ้าไม่มีเสรีภาพ เขาก็ไม่ต้อง มีความรับผิดชอบ ไม่ต้องมีความกังวล >> แต่มนุษย์ที่ไม่มี ปราศจากเสรีภาพก็ไม่ใช่มนุษย์ เขาได้กลายเป็นก้อนหิน หรือสิ่ง ไร้ชีวิต  ดังนั้น มนุษย์จึงไม่มีทางหลีกเลี่ยงเสรีภาพ เสรีภาพจึงไม่ใช่ พรสวรรค์ แต่เป็นการถูกลงโทษมากกว่า
  • 11.  คุณคิดอย่างไร ต่อ “เสรีภาพ” ในทัศนะของ EXISTENTIALISM ??  และ “เสรีภาพ” ในทัศนะของคุณเป็นอย่างไร? มีคุณค่า ต่อชีวิต หรือไม่ อย่างไร?
  • 12.
  • 13.  ถึงแม้คนๆ หนึ่งจะมีเสรีภาพและ สร้างสรรค์ แต่ขณะเดียวกัน การมีอยู่ ของเขายังมีด้านมืดที่ทาให้เป็น อุปสรรคของเสรีภาพและการ สร้างสรรค์ของเขา >> ได้แก่ ความ จากัดของข้อเท็จจริงทางด้านสภาวะ การมีอยู่ของตนเอง หรือ “ความเป็น ตัวฉัน” เช่น รูปร่าง สติปัญญา ความ จากัดของความตาย ความจากัดของ การมีอยู่ในเวลา และความจากัดอัน สืบเนื่องมาจากความเป็นสัตว์สังคม
  • 14.  อุปสรรคของเสรีภาพ และงานสร้างสรรค์ทาให้เกิดความตึง เครียดต่อการมีอยู่ของคนๆ หนึ่ง อันเป็นเหตุให้เขาไม่ต้องการ จะใช้เสรีภาพของตนเอง  การมีอยู่ที่แท้จริงสมเป็นมนุษย์ (อัตถิภาวะแท้) ก็คือ เขาต้องใช้ เสรีภาพและสร้างสรรค์ตนเอง ไม่ยอมจานนต่อขนบธรรมเนียม ประเพณีของสังคม
  • 15.
  • 16.