SlideShare a Scribd company logo
โดย อ. สรณีย์ สายศร
 นิทเช่ เกิดในปรัสเซีย เมื่อปี ค.ศ. 1844
 บิดาเป็นพระของนิกายลูเทอร์ เสียชีวิตตั้งแต่นิทเช่ยังเด็ก เขาจึง
ถูกเลี้ยงดูมาโดยแม่ ป้ า และน้องสาว คือ อลิซาเบธ
 นิทเช่เรียนวรรณคดีกรีก / ลาติน / และเทววิทยา ที่ มหาวิทยาลัย
บอนน์
 เรียนปรัชญา ที่มหาวิทยาลัยไลป์ ซิก
 ในปี ค.ศ. 1869 เขาเป็นอาจารย์สอนวิชานิรุกติศาสตร์ภาษากรีก
โบราณ ที่ มหาวิทยาลัยบาเซล ประเทศสวิสเซอร์แลนด์
 ในปี 1870 เขาสมัครเป็นทหารพยาบาลในกองทัพปรัสเซียน
 หลังนิทเช่ลาออกจากมหาวิทยาลัยในปี
ค.ศ. 1879 เนื่องจากปัญหาสุขภาพ เขา
ได้ใช้ชีวิตเดินทางไปในที่ต่างๆ เพียง
ลาพัง ทั้งในสวิตเซอร์แลนด์และอิตาลี
ตอนเหนือ
 ความคิดของเขาผ่านงานเขียนเริ่มเป็น
ที่นิยมแพร่หลายมากยิ่งขึ้น
 ต้นปี 1889 นิทเช่เริ่มมีอาการทาง
ประสาทเลอะเลือน ไม่มีสติสัมปชัญญะ
จนกระทั่งเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1900
 นิทเช่ ได้สมญาว่า เป็นนักปรัชญาวัฒนธรรม (Philosophy of
culture) เพราะได้เสนอความคิดใหม่ๆ ไว้มากมายเกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์ วรรณคดี ดนตรี โดยเฉพาะวัฒนธรรมกรีก
 ลัทธิปรัชญาของนิทเช่ ได้ถูกเรียกว่า >> “ลัทธิเจตจานงนิยม”
(Voluntaianism) เพราะนิทเช่เชื่อในพลังอันหนึ่งที่สามารถผลักดัน
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งหลายในเอกภพว่า >> “เจตจานงที่จะมี
อานาจ” (Will To Power)
 นิทเช่ปฏิเสธความสาคัญของการสร้างปรัชญาที่เป็นระบบ แต่ให้
ความสาคัญแก่ปรัชญาชีวิต
 แนวคิดเรื่อง “อภิมนุษย์” (The Over
Man – Superman) >> อภิมนุษย์ คือ
ผู้ที่มีบุคลิกภาพแข็งแกร่งย่อมมี
แนวทางชีวิตเป็นของตนเอง โดยมุ่ง
ไปสู่ความเป็นอภิมนุษย์ การเดิน
ตามประเพณีเป็นวิธีเลี่ยงความ
รับผิดชอบ เป็นวิธีการของคน
อ่อนแอ คนพวกนี้ไม่มีโอกาสจะ
ก้าวหน้าไปสู่ความเป็นอภิมนุษย์
แต่อาจจะเป็นเพียงเครื่องมือของ
คนที่มีบุคลิกเข้มแข็ง
ชีวิตที่มีค่า คือ ชีวิตที่พัฒนาความแข็งแกร่งและความพร้อมที่
จะเผชิญกับความเจ็บปวดของชีวิต อันเนื่องมาจากความมีอยู่
ของตนอย่างกล้าหาญและเป็นจริง มิใช่การพยายามโบยบิน
เข้าสู่โลกแห่งจินตนาการซึ่งให้ความอบอุ่นและมั่นคง เช่น
การดาเนินชีวิตตามประเพณีและสังคม
บุคคลที่แข็งแกร่งและมีความกล้าหาญที่จะเผชิญความเป็น
จริงดังกล่าว คือ ผู้กาลังมุ่งไปสู่
ความเป็น >> อภิมนุษย์
 สมัยที่นิทเช่เป็นหนุ่ม เขาชอบความคิดของโชเป็นเฮาเออร์
(Schopenhauer 1788-1860) นักปรัชญาชาวเยอรมันที่มี
ความคิดแบบ ทุทรรศนนิยม (pessimism)
 โชเป็นเฮาเออร์ (Arthur Schopenhauer) ปรัชญาเมธีชาว
เยอรมันได้กล่าวถ้อยคาว่า โลกนี้ชั่วร้ายและชีวิตเป็น
ทุกข์ เขาถูกคนประณามว่าเขาเป็นปรมาจารย์แห่งลัทธิทุนิยม
(Pessimism) ที่มองทุกสิ่งด้วยใจอันแห้งแล้งและ เบื่อหน่าย
 เขามีความคิดว่า เจตจานง (Will) ของเราได้สร้างโลกและ
ชีวิตขึ้น และความทุกข์จะดับได้ ต้องทาลายหรือละ
เจตจานง
 ตลอดชีวิตของเขาจึงเต็มไปด้วยเรื่องของความกลุ้มอกกลุ้มใจ
เห็นคนอื่นเลวไปหมด
 นิทเช่เขียนหนังสือเล่มแรก >> “The Birth of Tragedy” (1872)
กล่าวถึงความคิดของคนกรีกโบราณที่คิดว่ามีพลัง “ไดโอนีเซียน”
กับ “อพอลโลเนียน” ซึ่งสองพลังธรรมชาตินี้แฝงอยู่ในสิ่งต่างๆ
 1. พลัง “ไดโอนีเซียน” คล้าย The Will – เกี่ยวข้องกับดนตรี และ
แทนอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ของมนุษย์
 2. พลัง “อพอลโลเนียน” เกี่ยวกับทัศนศิลป์ – เป็นสมรรถนะที่ให้
โครงร่างและกฎเกณฑ์ต่างๆ
 นิทเช่โต้แย้งความคิดของโชเปนเฮาเออร์ >> คนกรีกโบราณก็รู้จัก
ความจริงของชีวิตว่าเป็นทุกข์ แต่ชาวกรีกไม่ปฏิเสธเจตจานง
(The Will) อันเป็นพื้นฐานของโลก >> คนกรีกใช้ศิลปะเป็น
ทางออกของชีวิต และสดุดีสรรเสริญชีวิตในขั้นพื้นฐาน คือ พลัง
ไดโอนีเซียน
 นิทเช่ได้พัฒนาแนวคิดเรื่อง พลัง
เจตจานงอันยิ่งใหญ่ ในความสามารถที่
จะอดทนต่อความทุกข์ยาก มีปฏิกิริยา
เชิงสร้างสรรค์ต่อการท้าทาย และ
เปลี่ยนสิ่งที่ดูเหมือนไม่มีคุณค่าให้มี
คุณค่าขึ้นมา >> พลังไดโอนีเซียน
 Dionysus ได้ชื่อว่า ผู้ปลดปล่อย
(Liberator) ที่ปลดปล่อยส่วนลึกของตนเอง
โดยทาให้คลั่ง หรือให้มีความสุขอย่างล้น
เหลือ หรือด้วยเหล้าองุ่น
 หน้าที่ของไดโอนีซุสคือเป็นผู้สร้างดนตรี
ออโลส (aulos) และยุติความกังวล
 นิทเช่ไม่เห็นด้วยกับ ดาร์วิน (Darwin) >> การที่
ดาร์วินปฏิเสธว่าคนและสัตว์ไม่มีความแตกต่าง
กันนั้น อาจจะก่อให้เกิดผลเสีย
 *** นีทเช่จึงคิดสร้างสรรค์ “ภาพลักษณ์ใหม่
ของมนุษย์” เพื่อกอบกู้ศักดิ์ศรีของมนุษยชาติ
กลับคืนมา
 นิทเช่รู้สึกว่า ยุคที่คนชื่นชมนิยมวิทยาศาสตร์
เป็นยุคที่ความเชื่อเรื่องพระเจ้าหมดไป ทาให้
เกิดอันตรายว่า >> คุณค่าต่างๆ ที่เคยยึดถือ
เป็นหลักชีวิตนั้น ได้สูญสิ้นไปแล้วอย่างสิ้นเชิง
 นิทเช่ตั้งคาถามขึ้นว่า >> ศีลธรรมแบบ
ธรรมชาตินั้นเป็นไปได้หรือไม่??
 นาไปสู่แนวคิดเรื่อง >> ศีลธรรมแบบนาย
และ ศีลธรรมแบบทาส
 ๑. ศีลธรรมแบบนาย (Master Morality)
 คนจะเป็นผู้เข้มแข็ง มีความมั่นใจในตนเองทั้งในความคิดและการปฏิบัติ
 เลือกยึดถืออุดมการณ์ด้วยตนเอง และทาตามอุดมการณ์ที่เลือกนั้นจน
เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง
 เมื่อมั่นใจในการตัดสินใจด้วยตนเองแล้วก็จะมุมานะลงมือปฏิบัติอย่าง
จริงจังเพื่อมุ่งสู่เป้ าหมายที่ตั้งใจไว้
 เป็นผู้ก้าวสู่ความเป็น “อภิมนุษย์” (The Over Man)
 ศีลธรรมแบบนายไม่มีหลักการตายตัว >> ความมุ่งมั่นของแต่ละคน คือ
กฎศีลธรรมของเขา
 ๒. ศีลธรรมแบบทาส (Slave Morality)
 คือ ผู้ที่ไม่เข้มแข็ง ไม่กล้าเป็นตัวของตัวเอง เนื่องจากขาดความ
มั่นใจในการตัดสินใจเลือกทางของตนเอง จึงมอบหมายตนเอง
ให้กับหลักการที่ตนเองคาดว่าจะช่วยคุ้มครองหรือให้ความ
ปลอดภัยแก่ตนได้
 เป็นศีลธรรมแบบรับถ่ายทอด เพราะผู้ถือศีลธรรมแบบนี้ ไม่คิดจะ
เป็นตัวของตัวเอง ไม่คิดจะหาหลักการของตนเอง
การแยกศีลธรรมของนิทเช่ เป็นที่มาของการแบ่งการดาเนินชีวิต
ออกเป็น ๒ ประเภท >> Authentic and Inauthentic Existence
 นิทเช่เชื่อว่า ชาวกรีกโบราณได้บรรลุถึง
ศีลธรรมแบบนายแล้ว
 แต่คริสต์ศาสนา ทาให้ชาวยุโรปกลาง
กลับไปสู่ศีลธรรมแบบทาสอีก และสืบ
ต่อมาถึงสมัยของเขา
 นิทเช่จึงมีพันธกิจที่จะชักชวนให้มนุษย์
มุ่งพัฒนาตนไปสู่ความเป็น >> อภิมนุษย์
 โพรมีธีอุส เป้ นยักษ์ไตตันในเทพนิยาย
กรีกโบราณ เขาขโมยไฟจากสวรรค์ลง
มาเพื่อเป็นประโยชน์แก่มนุษย์ในโลก
และได้สอนให้มนุษย์ใช้ไฟ
 เขาถูกลงโทษจากจอมเทพ ZEUS โดย
ถูกมัดล่ามไว้กับหิน และมีเหยี่ยวมาจิก
กินตับของเขาทุกวันอย่างทุกข์ทรมาน
 คุณคิดว่า >> ทาไม นิทเช่จึงมองว่า
โพรมีธีอุส เป็นผู้มีชีวิตที่แท้ ??? ^___^
 นิทเช่ มีคาตอบสาหรับปัญหาของมนุษย์ไว้เป็น ๓ ขั้นตอน
 1. THE WILL TO POWER
 2. THE OVERMAN
 3. THE ETERNAL RECURRENCE
 โชเปนเฮาเออร์ >> พลังเจตจานง (The Will to Live) เป็นความจริงสูงสุด
ที่เป็นพลังมืดบอด เป็นพลังแห่งกิเลสตัณหาที่ทาให้ทุกสิ่งเคลื่อนไหวไป
ตามมัน >> ชีวิตมนุษย์เป็นการต่อสู้ดิ้นรนทะยานอยากของกิเลสตัณหา
อยู่ตลอดเวลา
 นิทเช่ >> เห็นด้วยว่า The Will เป็นสิ่งสูงสุดของโลกและจักรวาล แต่เขา
ไม่เห็นด้วยว่า ชีวิตจะเป็นที่สุด หรือ จุดหมายปลายทางของ The Will
(The Will to Live)
 พลังของ The Will น่าจะมีจุดหมายที่สูงกว่าสิ่งที่ปรากฏอยู่ในโลก
 จุดหมายนั้น คือ อะไร ??
 นิทเช่มีความหวังอยู่ลึกๆว่า >> โลกจะ
ก่อให้เกิดชีวิตในรูปแบบที่สูงขึ้น หรือ ดีขึ้น
กว่าเดิม
 การทาให้รูปแบบของชีวิตดีขึ้นกว่าเดิมนั้น เป็น
หน้าที่ของมนุษย์เอง ไม่ใช่หน้าที่ของ GOD
หรือ ธรรมชาติใดๆ
 นั่นคือ >> มนุษย์แต่ละคนจะต้องยืนยันหรือทา
ให้ The Will to Power ของเขาแข็งแรงมากขึ้น
นี่เป็นการท้าทายมนุษย์
 Thus Spoke Zarathustra >> The Will to Power
คือ พลังการสร้างสรรค์ โดยคนจะต้องผ่าน
ขั้นตอนของชีวิตที่ยากลาบากและเจ็บปวด และ
ต้องใช้ความพยายามอย่างหนักเป็นพิเศษ
 The Will หมายถึง การรวมพลังจิตใจทุกๆ อย่างเข้าด้วยกัน และ
เป็นพลังที่มีจุดหมาย คือ การดิ้นรนต่อสู้เพื่อการเป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์แท้จริงภายในตัวเอง
 การพยายามเป็นตัวของตัวเองอย่างแท้จริงนั้น จะทาให้เขาเป็น
อิสระจากอุปสรรคต่างๆ ที่คอยขัดขวางการสร้างสรรค์ของตัวเขา
เอง และที่คอยขัดขวางการเป็นธรรมชาติที่แท้จริงของตัวเขาเอง
 Power ที่นิทเช่สรรเสริญที่สุด คือ อานาจแห่งการเอาชนะ หรือ
ควบคุมตนเอง ควบคุมจิตใจของตนไม่ให้อยู่ในอานาจฝ่ายต่า >>
คุณลักษณะของ The Overman
 เจตจานงที่จะมีอานาจ (The Will to Power) >> เป็นพลังผลักดันให้
มนุษย์พัฒนาตัวเองเพื่อก้าวไปสู่ความเจริญข้างหน้า >> ใช้เสรีภาพ
ที่จะทาตามเจตจานงอย่างเป็นตัวเองและสร้างสรรค์ >> อภิมนุษย์
The Overman >> >> อภิมนุษย์ >> คนในอุดมคติ
The Higher man
The Overman >> ผลผลิตในการเอาชนะตัวเอง
ของคน (self overcoming) เป็นการศึกษาหา
ความรู้ให้กับตัวเองเพื่อก้าวไปสู่ความเป็นเลิศ
(greatness) ในสิ่งต่างๆ เพื่อประโยชน์แก่โลก,
ต่อแผ่นดิน และมนุษยชาติทั้งปวงในโลกนี้
ยุคของ The Overman ยังมาไม่ถึง >> The
Overman เป็นยุคของมนุษย์ในอนาคตที่จะ
พัฒนาตนเองไปถึง
การเป็น The Overman ไม่สามารถอาศัยเหตุอัศจรรย์เหนือ
ธรรมชาติใดๆ >> แต่ต้องอาศัยความสาเร็จอันเกิดจากการ
เอาชนะตนเองอย่างสร้างสรรค์ของ The Will to Power ที่
แข็งแกร่ง อดทน พากเพียรเท่านั้น
The Overman และ The Will to Power อันแข็งแกร่งจะได้ทาการ
ปรับปรุงพัฒนาโลก ให้มีความเจริญสูงสุด มีสิ่งใหม่ๆ เกิดขึ้นกับ
มนุษยชาติ
The Overman จะสามารถเอาชนะฝูงชน (Mass Man) ได้ในที่สุด >
 The Overman มีความคิดสร้างสรรค์ ที่จะสร้างความ
เจริญใหม่ๆ ต่างๆ ให้แก่โลก และเพื่อนมนุษย์ โดย
ยอมอุทิศชีวิตของตัวเองให้กับภารกิจในการทาให้ชีวิต
ในโลกมีความเจริญงอกงามขึ้น โดยไม่ย่อท้อต่อ
อุปสรรค ความยากลาบาก หรือความทุกข์ทรมานใดๆ
และไม่จานนต่อกรอบความคิด ประเพณีใดๆ ของ
สังคมและคนส่วนใหญ่
 นิทเช่ ถือว่า The Overman เป็นความหวังสูงสุดของโลก
>> เพราะ The Overman รักชีวิตในโลกนี้ และอุทิศสละ
ชีวิตเพื่อความเจริญก้าวหน้าของโลกนี้
 The Overman จะเป็นผู้สร้างสรรค์ศีลธรรมของผู้นา
(Master morality) เป็นผู้ทาให้ศีลธรรมเข้าสู่ยุคของการ
พัฒนาสร้างสรรค์อย่างแท้จริง
Mass man >> เป็นคนทั่วไปในสังคม ที่ไม่ยึดมั่นหรือนับถือศาสนา
ด้วยความจริงใจ (ที่มาของคาว่า God is dead) ไม่ยึดถือคุณธรรม
ความดี >> ทาสิ่งที่มุ่งความสุขสบาย ความมั่นคง ปลอดภัยของ
ตนเอง
Mass man ไม่มีพลังสร้างสรรค์ ชอบทาตัวกลมกลืนกับคนอื่นๆใน
สังคม ยอมรับและทาตามความคิดของคนส่วนใหญ่ ละทิ้งเสรีภาพ
ของตน เพียงเพื่อให้รู้สึกปลอดภัยและอบอุ่น
Mass man จะยอมตนเป็นเบี้ยล่างของผู้มีอานาจต่างๆ เพื่อจะได้
หลบหลีกความรับผิดชอบในการสร้างคุณค่าของศีลธรรมด้วยตนเอง
เพราะไม่สามารถพึ่งศาสนาได้อีกต่อไป
The Eternal Recurrence >> การเวียนว่ายตายเกิดของชีวิตอย่าง
เป็นนิรันดร์ >> “การกลับมาซ้าเดิมของชีวิต”
นิทเช่ เชื่อว่า วิถีของโลกหลังเวลาใดเวลาหนึ่งที่กาหนด จะ
กลับมาสู่ขณะเดิมในรูปของวงกลมวัฏฏะ >> ชีวิตของมนุษย์ใน
ทุกๆ ขณะเวลาจะกลับมาซ้าเดิมชั่วนิรันดร์
นิทเช่ เชื่อว่า ในจักรวาลทั้งหมดมีปริมาณพลัง (power quanta)
ตายตัว ไม่มีการเปลี่ยนแปลง พลังเดิมย่อมแสดงพลัง
เหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อสิ้นพลังครั้งหนึ่งๆ แล้ว ก็จะ
เริ่มต้นใหม่เรื่อยไปไม่รู้จบ
ความคิดเรื่องการกลับมาซ้าเดิมของชีวิต อาจทาให้เกิดการตี
คุณค่าของชีวิตและศีลธรรมใหม่ให้ต่างไปจากเดิม >> ต้องการ
ยกย่องชีวิตของคนในโลกนี้ ยกย่องการต่อสู้เพื่อที่จะเป็นคนดี
ที่สุดในโลกนี้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องพึ่งพาอานาจของ GOD หรือ
กฎเกณฑ์สังคม
Eternal Recurrence >> เน้นความสาคัญสูงสุดของการเป็นตัว
ของตัวเองในชีวิตนี้ คนจะต้องตัดสินใจทั้งหมดด้วยตัวของเขา
เองในทุกๆ อย่างที่เขาต้องการทา
เวลาจะทาสิ่งใด ให้ถามตัวเองก่อนว่า เป็นสิ่งที่เขาปรารถนาที่
จะทาอีกนับครั้งไม่ถ้วนหรือในทุกชีวิตหรือไม่
คนควรจะยินดีในการเป็นตัวของตัวเอง ยินดีในโชคชะตาทุกอย่างของ
เขา ทั้งๆ ที่เขาจะต้องทาสิ่งเดิมอีกชั่วกัลปาวสาน
 เป็นเรื่องราวสุดเพี้ยนของนักพยากรณ์
อากาศคนหนึ่งที่มีความเบื่อหน่ายกับชีวิต
ของตัวเอง แถมยังต้องมาพบว่าตัวเองติด
อยู่ในวันฉลองเทศกาลวันกราวด์ฮ็อก
(Groundhog Day) ที่ไม่ว่าจะตื่นมากี่ครั้ง
ต่อกี่ครั้ง ก็ยังคงเป็นวันเดิม ช่วงเวลาเดิม
ผู้คนมากมายที่พบเจอก็เป็นคน ๆ เดิม
แถมยังมีเหตุการณ์ที่เหมือนเดิมซ้าไปซ้า
มาอีกต่างหาก และเรื่องคาใจกับการ
แอบปิ๊งนางเอก ซึ่งนี่เองเป็นกุญแจสาคัญ
ที่ทาให้เขาสามารถหลุดพ้นจากวังวันของ
Groundhog Day ไปได้ในที่สุด
นิทเช่ กล่าวว่า >> สูตรแห่งความยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติ คือ
Amor Fati >> อย่าตั้งความปรารถนาอย่างอื่นที่ไม่ได้มีอยู่ใน
ปัจจุบัน และที่ไม่ได้มีอยู่ในอนาคต ดังนั้น มนุษย์จะต้องมีชีวิต
อยู่อย่างที่ตัวเขาตั้งความปรารถนาที่จะมีชีวิตอยู่เหมือนเดิม คือ
อยู่ในโลกนี้
ชีวิตนี้ คือ ชีวิตนิรันดร์ของตัวท่านเอง
Zarathustra >> “ข้าพเจ้าจะเกิดมาใหม่อีก พร้อมด้วยกับพระ
อาทิตย์, โลก , นกอินทรีย์ และงู ข้าพเจ้าไม่ได้เกิดมาในชีวิตใหม่
ไม่ได้เกิดมาในชีวิตที่ดีขึ้น แต่ข้าพเจ้าจะกลับมาครั้งแล้วครั้งเล่า
...และจะสอนเรื่องเดิม คือ Eternal recurrence ของสิ่งต่างๆใน
โลก”
การปรากฏตัวของ The Overman และผลงานสร้างสรรค์
ของเขาเท่านั้น ที่นับได้ว่าเป็นการสร้างประวัติศาสตร์ของ
โลกอย่างแท้จริง / ถ้าไม่มี The Overman โลกมนุษย์จะมีแต่
ความสิ้นหวังเท่านั้น
นิทเช่ >> สิ่งที่สาคัญที่สุดของการเป็นมนุษย์ก็คือ การอยู่
เป็นอิสระของปัจเจกชน ถ้าปัจเจกชนไม่สามารถมีเสรีภาพ
ได้ หรือไม่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้ นั่นคือ >>
การล้มเหลวที่จะเป็นมนุษย์ นั่นเอง
คนและสังคมปัจจุบันทาเสมือนว่า พระ
เจ้าได้ตายไปแล้ว...ถึงเวลาที่เราจะต้อง
สร้างคุณค่าให้กับตัวเราเอง
ชีวิตที่มีค่า...คือ ชีวิตที่พัฒนาความ
แข็งแกร่งและความพร้อมที่จะเผชิญ
ความเจ็บปวดของชีวิตอันเนื่องมาจาก
ความมีอยู่ของตนอย่างกล้าหาญและ
เป็นจริง >> มุ่งไปสู่ความเป็น อภิมนุษย์
 ศ.ดร. กีรติ บุญเจือ ได้วิเคราะห์ แนวคิด GOD IS DEAD ของ นิทเช่
เป็น 3 นัยยะ
 1. นิทเช่ เชื่อว่าพระเจ้าไม่ได้มีจริง พระเจ้ามีอยู่ตราบเท่าที่มนุษย์มี
ความเชื่อเท่านั้น คนส่วนมากไม่เชื่อในพระเจ้าอย่างที่คนสมัยก่อนเชื่อ
กัน คนเริ่มเปลี่ยนวิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์ พวกเขามีส่วนฆ่าพระเจ้า
ทั้งสิ้น
 2. พระเจ้าควรตายได้แล้ว เพื่อให้อภิมนุษย์เกิด เขาเชื่อว่าความเชื่อใน
พระเจ้าเป็นอุปสรรคที่สุด ดังนั้นเพื่อให้มนุษย์บรรลุเป้ าหมายของ
ตนเอง จาเป็นต้องปล่อยให้พระเจ้าตายไป
 3. ชาวคริสต์ที่นับถือพระเจ้าตามใจตนเอง โดยปราศจากศรัทธาที่
แท้จริง ไม่เข้าใจ และไม่ปฏิบัติตามเจตนาอันแท้จริงของพระเจ้า อ้าง
พระเจ้าในการเบียดเบียนกันและกัน >>m พวกเขาได้ชื่อว่าเป็นผู้ฆ่าพระ
เจ้า
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความการอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
Surapong Klamboot
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการการเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
Surapong Klamboot
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
narongsak kalong
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์sirikase
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
Taraya Srivilas
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติwaraporny
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติพัน พัน
 
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์
Prachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความการอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการการเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติ
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.  นิทเช่ เกิดในปรัสเซีย เมื่อปี ค.ศ. 1844  บิดาเป็นพระของนิกายลูเทอร์ เสียชีวิตตั้งแต่นิทเช่ยังเด็ก เขาจึง ถูกเลี้ยงดูมาโดยแม่ ป้ า และน้องสาว คือ อลิซาเบธ  นิทเช่เรียนวรรณคดีกรีก / ลาติน / และเทววิทยา ที่ มหาวิทยาลัย บอนน์  เรียนปรัชญา ที่มหาวิทยาลัยไลป์ ซิก  ในปี ค.ศ. 1869 เขาเป็นอาจารย์สอนวิชานิรุกติศาสตร์ภาษากรีก โบราณ ที่ มหาวิทยาลัยบาเซล ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  ในปี 1870 เขาสมัครเป็นทหารพยาบาลในกองทัพปรัสเซียน
  • 6.  หลังนิทเช่ลาออกจากมหาวิทยาลัยในปี ค.ศ. 1879 เนื่องจากปัญหาสุขภาพ เขา ได้ใช้ชีวิตเดินทางไปในที่ต่างๆ เพียง ลาพัง ทั้งในสวิตเซอร์แลนด์และอิตาลี ตอนเหนือ  ความคิดของเขาผ่านงานเขียนเริ่มเป็น ที่นิยมแพร่หลายมากยิ่งขึ้น  ต้นปี 1889 นิทเช่เริ่มมีอาการทาง ประสาทเลอะเลือน ไม่มีสติสัมปชัญญะ จนกระทั่งเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1900
  • 7.  นิทเช่ ได้สมญาว่า เป็นนักปรัชญาวัฒนธรรม (Philosophy of culture) เพราะได้เสนอความคิดใหม่ๆ ไว้มากมายเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ วรรณคดี ดนตรี โดยเฉพาะวัฒนธรรมกรีก  ลัทธิปรัชญาของนิทเช่ ได้ถูกเรียกว่า >> “ลัทธิเจตจานงนิยม” (Voluntaianism) เพราะนิทเช่เชื่อในพลังอันหนึ่งที่สามารถผลักดัน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งหลายในเอกภพว่า >> “เจตจานงที่จะมี อานาจ” (Will To Power)  นิทเช่ปฏิเสธความสาคัญของการสร้างปรัชญาที่เป็นระบบ แต่ให้ ความสาคัญแก่ปรัชญาชีวิต
  • 8.  แนวคิดเรื่อง “อภิมนุษย์” (The Over Man – Superman) >> อภิมนุษย์ คือ ผู้ที่มีบุคลิกภาพแข็งแกร่งย่อมมี แนวทางชีวิตเป็นของตนเอง โดยมุ่ง ไปสู่ความเป็นอภิมนุษย์ การเดิน ตามประเพณีเป็นวิธีเลี่ยงความ รับผิดชอบ เป็นวิธีการของคน อ่อนแอ คนพวกนี้ไม่มีโอกาสจะ ก้าวหน้าไปสู่ความเป็นอภิมนุษย์ แต่อาจจะเป็นเพียงเครื่องมือของ คนที่มีบุคลิกเข้มแข็ง
  • 9. ชีวิตที่มีค่า คือ ชีวิตที่พัฒนาความแข็งแกร่งและความพร้อมที่ จะเผชิญกับความเจ็บปวดของชีวิต อันเนื่องมาจากความมีอยู่ ของตนอย่างกล้าหาญและเป็นจริง มิใช่การพยายามโบยบิน เข้าสู่โลกแห่งจินตนาการซึ่งให้ความอบอุ่นและมั่นคง เช่น การดาเนินชีวิตตามประเพณีและสังคม บุคคลที่แข็งแกร่งและมีความกล้าหาญที่จะเผชิญความเป็น จริงดังกล่าว คือ ผู้กาลังมุ่งไปสู่ ความเป็น >> อภิมนุษย์
  • 10.
  • 11.  สมัยที่นิทเช่เป็นหนุ่ม เขาชอบความคิดของโชเป็นเฮาเออร์ (Schopenhauer 1788-1860) นักปรัชญาชาวเยอรมันที่มี ความคิดแบบ ทุทรรศนนิยม (pessimism)  โชเป็นเฮาเออร์ (Arthur Schopenhauer) ปรัชญาเมธีชาว เยอรมันได้กล่าวถ้อยคาว่า โลกนี้ชั่วร้ายและชีวิตเป็น ทุกข์ เขาถูกคนประณามว่าเขาเป็นปรมาจารย์แห่งลัทธิทุนิยม (Pessimism) ที่มองทุกสิ่งด้วยใจอันแห้งแล้งและ เบื่อหน่าย  เขามีความคิดว่า เจตจานง (Will) ของเราได้สร้างโลกและ ชีวิตขึ้น และความทุกข์จะดับได้ ต้องทาลายหรือละ เจตจานง  ตลอดชีวิตของเขาจึงเต็มไปด้วยเรื่องของความกลุ้มอกกลุ้มใจ เห็นคนอื่นเลวไปหมด
  • 12.  นิทเช่เขียนหนังสือเล่มแรก >> “The Birth of Tragedy” (1872) กล่าวถึงความคิดของคนกรีกโบราณที่คิดว่ามีพลัง “ไดโอนีเซียน” กับ “อพอลโลเนียน” ซึ่งสองพลังธรรมชาตินี้แฝงอยู่ในสิ่งต่างๆ  1. พลัง “ไดโอนีเซียน” คล้าย The Will – เกี่ยวข้องกับดนตรี และ แทนอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ของมนุษย์  2. พลัง “อพอลโลเนียน” เกี่ยวกับทัศนศิลป์ – เป็นสมรรถนะที่ให้ โครงร่างและกฎเกณฑ์ต่างๆ  นิทเช่โต้แย้งความคิดของโชเปนเฮาเออร์ >> คนกรีกโบราณก็รู้จัก ความจริงของชีวิตว่าเป็นทุกข์ แต่ชาวกรีกไม่ปฏิเสธเจตจานง (The Will) อันเป็นพื้นฐานของโลก >> คนกรีกใช้ศิลปะเป็น ทางออกของชีวิต และสดุดีสรรเสริญชีวิตในขั้นพื้นฐาน คือ พลัง ไดโอนีเซียน
  • 13.  นิทเช่ได้พัฒนาแนวคิดเรื่อง พลัง เจตจานงอันยิ่งใหญ่ ในความสามารถที่ จะอดทนต่อความทุกข์ยาก มีปฏิกิริยา เชิงสร้างสรรค์ต่อการท้าทาย และ เปลี่ยนสิ่งที่ดูเหมือนไม่มีคุณค่าให้มี คุณค่าขึ้นมา >> พลังไดโอนีเซียน  Dionysus ได้ชื่อว่า ผู้ปลดปล่อย (Liberator) ที่ปลดปล่อยส่วนลึกของตนเอง โดยทาให้คลั่ง หรือให้มีความสุขอย่างล้น เหลือ หรือด้วยเหล้าองุ่น  หน้าที่ของไดโอนีซุสคือเป็นผู้สร้างดนตรี ออโลส (aulos) และยุติความกังวล
  • 14.  นิทเช่ไม่เห็นด้วยกับ ดาร์วิน (Darwin) >> การที่ ดาร์วินปฏิเสธว่าคนและสัตว์ไม่มีความแตกต่าง กันนั้น อาจจะก่อให้เกิดผลเสีย  *** นีทเช่จึงคิดสร้างสรรค์ “ภาพลักษณ์ใหม่ ของมนุษย์” เพื่อกอบกู้ศักดิ์ศรีของมนุษยชาติ กลับคืนมา  นิทเช่รู้สึกว่า ยุคที่คนชื่นชมนิยมวิทยาศาสตร์ เป็นยุคที่ความเชื่อเรื่องพระเจ้าหมดไป ทาให้ เกิดอันตรายว่า >> คุณค่าต่างๆ ที่เคยยึดถือ เป็นหลักชีวิตนั้น ได้สูญสิ้นไปแล้วอย่างสิ้นเชิง  นิทเช่ตั้งคาถามขึ้นว่า >> ศีลธรรมแบบ ธรรมชาตินั้นเป็นไปได้หรือไม่??  นาไปสู่แนวคิดเรื่อง >> ศีลธรรมแบบนาย และ ศีลธรรมแบบทาส
  • 15.  ๑. ศีลธรรมแบบนาย (Master Morality)  คนจะเป็นผู้เข้มแข็ง มีความมั่นใจในตนเองทั้งในความคิดและการปฏิบัติ  เลือกยึดถืออุดมการณ์ด้วยตนเอง และทาตามอุดมการณ์ที่เลือกนั้นจน เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง  เมื่อมั่นใจในการตัดสินใจด้วยตนเองแล้วก็จะมุมานะลงมือปฏิบัติอย่าง จริงจังเพื่อมุ่งสู่เป้ าหมายที่ตั้งใจไว้  เป็นผู้ก้าวสู่ความเป็น “อภิมนุษย์” (The Over Man)  ศีลธรรมแบบนายไม่มีหลักการตายตัว >> ความมุ่งมั่นของแต่ละคน คือ กฎศีลธรรมของเขา
  • 16.  ๒. ศีลธรรมแบบทาส (Slave Morality)  คือ ผู้ที่ไม่เข้มแข็ง ไม่กล้าเป็นตัวของตัวเอง เนื่องจากขาดความ มั่นใจในการตัดสินใจเลือกทางของตนเอง จึงมอบหมายตนเอง ให้กับหลักการที่ตนเองคาดว่าจะช่วยคุ้มครองหรือให้ความ ปลอดภัยแก่ตนได้  เป็นศีลธรรมแบบรับถ่ายทอด เพราะผู้ถือศีลธรรมแบบนี้ ไม่คิดจะ เป็นตัวของตัวเอง ไม่คิดจะหาหลักการของตนเอง การแยกศีลธรรมของนิทเช่ เป็นที่มาของการแบ่งการดาเนินชีวิต ออกเป็น ๒ ประเภท >> Authentic and Inauthentic Existence
  • 17.
  • 18.  นิทเช่เชื่อว่า ชาวกรีกโบราณได้บรรลุถึง ศีลธรรมแบบนายแล้ว  แต่คริสต์ศาสนา ทาให้ชาวยุโรปกลาง กลับไปสู่ศีลธรรมแบบทาสอีก และสืบ ต่อมาถึงสมัยของเขา  นิทเช่จึงมีพันธกิจที่จะชักชวนให้มนุษย์ มุ่งพัฒนาตนไปสู่ความเป็น >> อภิมนุษย์
  • 19.  โพรมีธีอุส เป้ นยักษ์ไตตันในเทพนิยาย กรีกโบราณ เขาขโมยไฟจากสวรรค์ลง มาเพื่อเป็นประโยชน์แก่มนุษย์ในโลก และได้สอนให้มนุษย์ใช้ไฟ  เขาถูกลงโทษจากจอมเทพ ZEUS โดย ถูกมัดล่ามไว้กับหิน และมีเหยี่ยวมาจิก กินตับของเขาทุกวันอย่างทุกข์ทรมาน  คุณคิดว่า >> ทาไม นิทเช่จึงมองว่า โพรมีธีอุส เป็นผู้มีชีวิตที่แท้ ??? ^___^
  • 20.  นิทเช่ มีคาตอบสาหรับปัญหาของมนุษย์ไว้เป็น ๓ ขั้นตอน  1. THE WILL TO POWER  2. THE OVERMAN  3. THE ETERNAL RECURRENCE
  • 21.  โชเปนเฮาเออร์ >> พลังเจตจานง (The Will to Live) เป็นความจริงสูงสุด ที่เป็นพลังมืดบอด เป็นพลังแห่งกิเลสตัณหาที่ทาให้ทุกสิ่งเคลื่อนไหวไป ตามมัน >> ชีวิตมนุษย์เป็นการต่อสู้ดิ้นรนทะยานอยากของกิเลสตัณหา อยู่ตลอดเวลา  นิทเช่ >> เห็นด้วยว่า The Will เป็นสิ่งสูงสุดของโลกและจักรวาล แต่เขา ไม่เห็นด้วยว่า ชีวิตจะเป็นที่สุด หรือ จุดหมายปลายทางของ The Will (The Will to Live)  พลังของ The Will น่าจะมีจุดหมายที่สูงกว่าสิ่งที่ปรากฏอยู่ในโลก  จุดหมายนั้น คือ อะไร ??
  • 22.  นิทเช่มีความหวังอยู่ลึกๆว่า >> โลกจะ ก่อให้เกิดชีวิตในรูปแบบที่สูงขึ้น หรือ ดีขึ้น กว่าเดิม  การทาให้รูปแบบของชีวิตดีขึ้นกว่าเดิมนั้น เป็น หน้าที่ของมนุษย์เอง ไม่ใช่หน้าที่ของ GOD หรือ ธรรมชาติใดๆ  นั่นคือ >> มนุษย์แต่ละคนจะต้องยืนยันหรือทา ให้ The Will to Power ของเขาแข็งแรงมากขึ้น นี่เป็นการท้าทายมนุษย์  Thus Spoke Zarathustra >> The Will to Power คือ พลังการสร้างสรรค์ โดยคนจะต้องผ่าน ขั้นตอนของชีวิตที่ยากลาบากและเจ็บปวด และ ต้องใช้ความพยายามอย่างหนักเป็นพิเศษ
  • 23.  The Will หมายถึง การรวมพลังจิตใจทุกๆ อย่างเข้าด้วยกัน และ เป็นพลังที่มีจุดหมาย คือ การดิ้นรนต่อสู้เพื่อการเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์แท้จริงภายในตัวเอง  การพยายามเป็นตัวของตัวเองอย่างแท้จริงนั้น จะทาให้เขาเป็น อิสระจากอุปสรรคต่างๆ ที่คอยขัดขวางการสร้างสรรค์ของตัวเขา เอง และที่คอยขัดขวางการเป็นธรรมชาติที่แท้จริงของตัวเขาเอง  Power ที่นิทเช่สรรเสริญที่สุด คือ อานาจแห่งการเอาชนะ หรือ ควบคุมตนเอง ควบคุมจิตใจของตนไม่ให้อยู่ในอานาจฝ่ายต่า >> คุณลักษณะของ The Overman  เจตจานงที่จะมีอานาจ (The Will to Power) >> เป็นพลังผลักดันให้ มนุษย์พัฒนาตัวเองเพื่อก้าวไปสู่ความเจริญข้างหน้า >> ใช้เสรีภาพ ที่จะทาตามเจตจานงอย่างเป็นตัวเองและสร้างสรรค์ >> อภิมนุษย์
  • 24. The Overman >> >> อภิมนุษย์ >> คนในอุดมคติ The Higher man The Overman >> ผลผลิตในการเอาชนะตัวเอง ของคน (self overcoming) เป็นการศึกษาหา ความรู้ให้กับตัวเองเพื่อก้าวไปสู่ความเป็นเลิศ (greatness) ในสิ่งต่างๆ เพื่อประโยชน์แก่โลก, ต่อแผ่นดิน และมนุษยชาติทั้งปวงในโลกนี้ ยุคของ The Overman ยังมาไม่ถึง >> The Overman เป็นยุคของมนุษย์ในอนาคตที่จะ พัฒนาตนเองไปถึง
  • 25. การเป็น The Overman ไม่สามารถอาศัยเหตุอัศจรรย์เหนือ ธรรมชาติใดๆ >> แต่ต้องอาศัยความสาเร็จอันเกิดจากการ เอาชนะตนเองอย่างสร้างสรรค์ของ The Will to Power ที่ แข็งแกร่ง อดทน พากเพียรเท่านั้น The Overman และ The Will to Power อันแข็งแกร่งจะได้ทาการ ปรับปรุงพัฒนาโลก ให้มีความเจริญสูงสุด มีสิ่งใหม่ๆ เกิดขึ้นกับ มนุษยชาติ The Overman จะสามารถเอาชนะฝูงชน (Mass Man) ได้ในที่สุด >
  • 26.  The Overman มีความคิดสร้างสรรค์ ที่จะสร้างความ เจริญใหม่ๆ ต่างๆ ให้แก่โลก และเพื่อนมนุษย์ โดย ยอมอุทิศชีวิตของตัวเองให้กับภารกิจในการทาให้ชีวิต ในโลกมีความเจริญงอกงามขึ้น โดยไม่ย่อท้อต่อ อุปสรรค ความยากลาบาก หรือความทุกข์ทรมานใดๆ และไม่จานนต่อกรอบความคิด ประเพณีใดๆ ของ สังคมและคนส่วนใหญ่  นิทเช่ ถือว่า The Overman เป็นความหวังสูงสุดของโลก >> เพราะ The Overman รักชีวิตในโลกนี้ และอุทิศสละ ชีวิตเพื่อความเจริญก้าวหน้าของโลกนี้  The Overman จะเป็นผู้สร้างสรรค์ศีลธรรมของผู้นา (Master morality) เป็นผู้ทาให้ศีลธรรมเข้าสู่ยุคของการ พัฒนาสร้างสรรค์อย่างแท้จริง
  • 27. Mass man >> เป็นคนทั่วไปในสังคม ที่ไม่ยึดมั่นหรือนับถือศาสนา ด้วยความจริงใจ (ที่มาของคาว่า God is dead) ไม่ยึดถือคุณธรรม ความดี >> ทาสิ่งที่มุ่งความสุขสบาย ความมั่นคง ปลอดภัยของ ตนเอง Mass man ไม่มีพลังสร้างสรรค์ ชอบทาตัวกลมกลืนกับคนอื่นๆใน สังคม ยอมรับและทาตามความคิดของคนส่วนใหญ่ ละทิ้งเสรีภาพ ของตน เพียงเพื่อให้รู้สึกปลอดภัยและอบอุ่น Mass man จะยอมตนเป็นเบี้ยล่างของผู้มีอานาจต่างๆ เพื่อจะได้ หลบหลีกความรับผิดชอบในการสร้างคุณค่าของศีลธรรมด้วยตนเอง เพราะไม่สามารถพึ่งศาสนาได้อีกต่อไป
  • 28. The Eternal Recurrence >> การเวียนว่ายตายเกิดของชีวิตอย่าง เป็นนิรันดร์ >> “การกลับมาซ้าเดิมของชีวิต” นิทเช่ เชื่อว่า วิถีของโลกหลังเวลาใดเวลาหนึ่งที่กาหนด จะ กลับมาสู่ขณะเดิมในรูปของวงกลมวัฏฏะ >> ชีวิตของมนุษย์ใน ทุกๆ ขณะเวลาจะกลับมาซ้าเดิมชั่วนิรันดร์ นิทเช่ เชื่อว่า ในจักรวาลทั้งหมดมีปริมาณพลัง (power quanta) ตายตัว ไม่มีการเปลี่ยนแปลง พลังเดิมย่อมแสดงพลัง เหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อสิ้นพลังครั้งหนึ่งๆ แล้ว ก็จะ เริ่มต้นใหม่เรื่อยไปไม่รู้จบ
  • 29. ความคิดเรื่องการกลับมาซ้าเดิมของชีวิต อาจทาให้เกิดการตี คุณค่าของชีวิตและศีลธรรมใหม่ให้ต่างไปจากเดิม >> ต้องการ ยกย่องชีวิตของคนในโลกนี้ ยกย่องการต่อสู้เพื่อที่จะเป็นคนดี ที่สุดในโลกนี้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องพึ่งพาอานาจของ GOD หรือ กฎเกณฑ์สังคม Eternal Recurrence >> เน้นความสาคัญสูงสุดของการเป็นตัว ของตัวเองในชีวิตนี้ คนจะต้องตัดสินใจทั้งหมดด้วยตัวของเขา เองในทุกๆ อย่างที่เขาต้องการทา เวลาจะทาสิ่งใด ให้ถามตัวเองก่อนว่า เป็นสิ่งที่เขาปรารถนาที่ จะทาอีกนับครั้งไม่ถ้วนหรือในทุกชีวิตหรือไม่ คนควรจะยินดีในการเป็นตัวของตัวเอง ยินดีในโชคชะตาทุกอย่างของ เขา ทั้งๆ ที่เขาจะต้องทาสิ่งเดิมอีกชั่วกัลปาวสาน
  • 30.  เป็นเรื่องราวสุดเพี้ยนของนักพยากรณ์ อากาศคนหนึ่งที่มีความเบื่อหน่ายกับชีวิต ของตัวเอง แถมยังต้องมาพบว่าตัวเองติด อยู่ในวันฉลองเทศกาลวันกราวด์ฮ็อก (Groundhog Day) ที่ไม่ว่าจะตื่นมากี่ครั้ง ต่อกี่ครั้ง ก็ยังคงเป็นวันเดิม ช่วงเวลาเดิม ผู้คนมากมายที่พบเจอก็เป็นคน ๆ เดิม แถมยังมีเหตุการณ์ที่เหมือนเดิมซ้าไปซ้า มาอีกต่างหาก และเรื่องคาใจกับการ แอบปิ๊งนางเอก ซึ่งนี่เองเป็นกุญแจสาคัญ ที่ทาให้เขาสามารถหลุดพ้นจากวังวันของ Groundhog Day ไปได้ในที่สุด
  • 31. นิทเช่ กล่าวว่า >> สูตรแห่งความยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติ คือ Amor Fati >> อย่าตั้งความปรารถนาอย่างอื่นที่ไม่ได้มีอยู่ใน ปัจจุบัน และที่ไม่ได้มีอยู่ในอนาคต ดังนั้น มนุษย์จะต้องมีชีวิต อยู่อย่างที่ตัวเขาตั้งความปรารถนาที่จะมีชีวิตอยู่เหมือนเดิม คือ อยู่ในโลกนี้ ชีวิตนี้ คือ ชีวิตนิรันดร์ของตัวท่านเอง Zarathustra >> “ข้าพเจ้าจะเกิดมาใหม่อีก พร้อมด้วยกับพระ อาทิตย์, โลก , นกอินทรีย์ และงู ข้าพเจ้าไม่ได้เกิดมาในชีวิตใหม่ ไม่ได้เกิดมาในชีวิตที่ดีขึ้น แต่ข้าพเจ้าจะกลับมาครั้งแล้วครั้งเล่า ...และจะสอนเรื่องเดิม คือ Eternal recurrence ของสิ่งต่างๆใน โลก”
  • 32. การปรากฏตัวของ The Overman และผลงานสร้างสรรค์ ของเขาเท่านั้น ที่นับได้ว่าเป็นการสร้างประวัติศาสตร์ของ โลกอย่างแท้จริง / ถ้าไม่มี The Overman โลกมนุษย์จะมีแต่ ความสิ้นหวังเท่านั้น นิทเช่ >> สิ่งที่สาคัญที่สุดของการเป็นมนุษย์ก็คือ การอยู่ เป็นอิสระของปัจเจกชน ถ้าปัจเจกชนไม่สามารถมีเสรีภาพ ได้ หรือไม่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้ นั่นคือ >> การล้มเหลวที่จะเป็นมนุษย์ นั่นเอง
  • 34.
  • 35.  ศ.ดร. กีรติ บุญเจือ ได้วิเคราะห์ แนวคิด GOD IS DEAD ของ นิทเช่ เป็น 3 นัยยะ  1. นิทเช่ เชื่อว่าพระเจ้าไม่ได้มีจริง พระเจ้ามีอยู่ตราบเท่าที่มนุษย์มี ความเชื่อเท่านั้น คนส่วนมากไม่เชื่อในพระเจ้าอย่างที่คนสมัยก่อนเชื่อ กัน คนเริ่มเปลี่ยนวิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์ พวกเขามีส่วนฆ่าพระเจ้า ทั้งสิ้น  2. พระเจ้าควรตายได้แล้ว เพื่อให้อภิมนุษย์เกิด เขาเชื่อว่าความเชื่อใน พระเจ้าเป็นอุปสรรคที่สุด ดังนั้นเพื่อให้มนุษย์บรรลุเป้ าหมายของ ตนเอง จาเป็นต้องปล่อยให้พระเจ้าตายไป  3. ชาวคริสต์ที่นับถือพระเจ้าตามใจตนเอง โดยปราศจากศรัทธาที่ แท้จริง ไม่เข้าใจ และไม่ปฏิบัติตามเจตนาอันแท้จริงของพระเจ้า อ้าง พระเจ้าในการเบียดเบียนกันและกัน >>m พวกเขาได้ชื่อว่าเป็นผู้ฆ่าพระ เจ้า
  • 36.
  • 37.