SlideShare a Scribd company logo
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang Tzu)
ผู้คัดค้านปรัชญาม่อจื๊อ
เชิดชูการรักตัวเอง
หยางจื๊อเป็นใคร ??
• หยางจื๊อ หรือเอี้ยงจื๊อ มีชีวิตอยู่ใน
ระหว่าง พ.ศ. ๑๐๓-๑๘๓ เป็นชาวเมืองเจา
ปัจจุบันคือมณฑลชานสี
• ประวัติของหยางจื๊อไม่มีปรากฏแน่ชัด เป็น
เจ้าชายในสายราชวงศ์โจว พระบิดาเป็น
เจ้าครองแคว้นหยาง ซึ่งต่อมาถูกผนวกเข้า
กับแคว้นซิ่น
• หยางจื๊อมีอายุอ่อนกว่าม่อจื๊อ (พ.ศ. ๗๕-
๑๕๓) และมีอายุแก่กว่าเม่งจื๊อ (พ.ศ.
๑๗๑-๒๕๔)
ปรัชญาเต๋าหลังมรณกรรมของเหลาจื๊อ
- สานักที่ ๑ มีจวงจื๊อเป็นตัวแทน ถือว่าเต๋าเป็น
สภาวะธรรมชาติที่เป็นนามธรรมเกิดขึ้นเอง ไม่มี
อะไรสร้าง ทั้งมีเจตจานงสร้างสิ่งต่างๆ อย่างมี
แผนการ เป็นสภาวะที่สมบูรณ์ที่สุด การดาเนิน
ชีวิตของคนก็ต้องสอดคล้องกับเต๋า >>
Naturalistic Taoism
- สานักที่ ๒ มีหยางจื๊อเป็นตัวแทน ถือว่าเต๋า
เป็นพลังงานธรรมชาติที่มืดบอด สร้างสิ่ง
ต่างๆ อย่างไม่มีแผนการ เป็นปรัชญาเต๋า
ลักษณะวัตถุนิยม >> Materialistic
Taoism
ปรัชญาของหยางจื๊อ
• ปรัชญาของหยางจื๊อเป็นประเภทวัตถุนิยม แต่เชื่อเรื่องชะตากรรม ซึ่ง
น่าจะได้รับอิทธิพลมาจากปรัชญาเต๋า
• “สิ่งทั้งปวงที่เกิดขึ้นในโลก ล้วนแต่มีชะตากรรมเป็นเครื่องกาหนด
มาก่อนทั้งสิ้น ชีวิตและความตาย ความสาเร็จและความล้มเหลว
โภคทรัพย์และอานาจ ทั้งหมดนี้ถูกกาหนดโดยชะตากรรมทั้งสิ้น
ส่วนที่เรียกว่าเจตจานงอิสระ แผนการ ความมุ่งหมาย ไม่ว่าของ
เทพเจ้าหรือของมนุษย์ ล้วนแต่อยู่ภายใต้ชะตากรรมทั้งนั้น”
• บทสนทนาระหว่างความพยายามและ
ชะตากรรม
• **สิ่งทั้งหลายในโลกนี้จึงเป็นสิ่งที่ถูก
กาหนดมาก่อนทั้งสิ้นและเป็นสิ่งที่อยู่
เหนืออานาจการควบคุมของความ
พยายามของมนุษย์
• สิ่งที่เราจาเป็นต้องทาก็คือการดารงชีวิต
ให้สอดคล้องกับชะตากรรมของเรา
• หยางจื๊อคิดว่าเราควรดารงชีวิตอย่างไร
??
• หยางจื๊อกล่าวไว้ว่า
• “ขอบเขตของชีวิตอันยืนยาวของมนุษย์นั้น คือ
หนึ่งร้อยปี แต่ก็ไม่มีบุคคลใดแม้หนึ่งในพันที่
บรรลุถึงได้...และถึงแม้เราจะมีอายุยืนถึงหนึ่ง
ร้อยปี ชีวิตส่วนใหญ่ของเราก็จะใช้หมดไปใน
วัยของทารกที่ปราศจากความรู้สึก สานึกอันใด
กับวัยชรา ที่หมดไปเพราะการนอน ความ
เจ็บป่วย ความทุกข์ ความเศร้าโศกและความ
หวาดกลัว”
• “...ผลก็คือไม่มีเวลาใดแม้แต่ชั่วโมงเดียวที่
ปราศจากความกังวล ถ้าเช่นนั้น ชีวิตนี้จะมีอยู่
เพื่อประโยชน์อันใดกัน?
• และความสุขของชีวิตนั้นคืออะไร?
• “ความสุขของชีวิตนั้น คือ อาหาร
อันโอชะ เสื้อผ้าอันสวยงาม ดนตรี
ที่ไพเราะ และสิ่งสวยงามเจริญตา
เจริญใจทั้งปวง”
• หยางจื๊อสอนให้แสวงหาความ
เกษมสาราญ ความอภิรมย์ของ
ชีวิต
The Man in the Tea Pot
• To do what you
enjoy in life. If there
is something that
makes you happy,
then make that
thing the focus of
your life. Life is too
short to be stuck in
some job or some
thing that you don't
like.
At Least I have an Ass
• “ภาวะที่สิ่งทั้งหลายมีความแตกต่างกันนั้นคือชีวิต ภาวะที่สิ่งทั้งหลายมี
ความเหมือนกันนั้นคือ ความตาย...บางคนตายเมื่ออายุ ๑๐ ปี บางคน
ตายเมื่ออายุ ๑๐๐ ปี คนฉลาด คนมีเมตตากรุณาก็ต้องตายอย่าง
เดียวกันกับคนโง่เง่าและคนโหดร้ายอามหิต เพราะฉะนั้น ขอให้เราจง
เร่งขวนขวายหาความอภิรมย์กับชีวิต อย่าสนใจเรื่องของความตายเลย”
“...ปล่อยชีวิตให้เป็นไปอย่างเสรี อย่าไป
ขัดขวางหรือฉุดรั้งไว้...ปล่อยให้หูฟังสิ่งที่มัน
ชอบ ปล่อยให้ตาดูสิ่งที่มันปรารถนา ปล่อย
ให้ปากได้พูดสิ่งที่มันพอใจ ปล่อยให้กายได้
สัมผัสกับสิ่งที่มันต้องการ ปล่อยให้จิตใจ
จินตนาการตามที่พึงประสงค์
Three Friends- The Perfect Evening
• “การขัดขวางความอยากจึง
เป็น...บ่อเกิดของความ
ราคาญอันปวดร้าวอย่างยิ่ง
การทาลายบ่อเกิดของความ
ราคาญที่ว่านี้ แล้วใช้ชีวิต
แสวงหาความสาราญอย่าง
สงบ ชั่ววัน ชั่วเดือน ชั่วปี
จนกว่าจะถึงวาระแห่งความ
ตาย นั่นคือ ความหมายของ
การใช้ชีวิตอย่างเกษม
สาราญ”
ปรัชญาชีวิตของหยางจื๊อ - อัตนิยม-
ทุกอย่างเพื่อตนเอง
• แนวคิดของหยางจื๊อ เป็น “ปัจเจกภาพนิยม” ไม่ผูกมัดกับธรรมเนียม
ระเบียบประเพณี ชื่อเสียงบัญญัติใดๆ ทั้งสิ้น
• เขาสอนให้คานึงถึงผลประโยชน์ของตนเองเป็นจุดที่สาคัญที่สุด
เพราะสัญชาตญาณของสัตว์โลก ย่อมมีความรักตนเป็นปทัฏฐาน ถ้า
รู้จักใช้สัญชาตญาณนี้ให้ถูกต้อง สังคมก็จะเกิดความเป็นปกติสุขขึ้น
• ^__? คิดยังไงกับแนวคิดนี้จร้า >> ทาไมหยางจื๊อจึงคิดว่า ถ้ารักและ
ทาทุกอย่างเพื่อตนเองแล้วสังคมจะสงบสุข
• ลองสมมติตัวเองเป็น หยางจื๊อดู... >___<
ความสุขของหยางจื๊อ
• มนุษย์ไม่ควรพลาดโอกาสแสวงหาความสุขแม้สักชั่วขณะหนึ่ง
• ความสุข หมายถึงความสุขเฉพาะหน้า ไม่ใช่ความสุขในอนาคตที่ยัง
มองไม่เห็น หยางจื๊อสอนให้หาความสุขทางเนื้อหนัง ทางอายตนะที่
สัมผัสได้ในทันที
• ถ้ามนุษย์เห็นแก่ประโยชน์สุขเฉพาะหน้าของตนให้มาก มนุษย์
จะได้ไม่เบียดเบียนกัน
• การที่มนุษย์เบียดเบียนกัน เกิดจากที่มนุษย์ไม่พอใจในความสุขเฉพาะ
หน้าตามฐานะของตน จึงเกิดการทะยานอยากแก่งแย่ง แข่งขัน
เบียดเบียน
“จงสนุกเพลิดเพลินกับชีวิตปัจจุบันเถิด
อย่าได้ไปห่วงกังวลกับฐานะหลังตายแล้ว”
Go Fishing in the Mountains
สรุป วิธีหาความสุขให้ตนเองของหยางจื๊อ^^
• ๑. ตัดความกลัวต่างๆ ให้หมด โดยเฉพาะความกลัวตาย
• ๒.เน้นรูปธรรมมากกว่านามธรรม – ควรขวนขวายแสวงหาความสุข
จากรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และอารมณ์ที่น่าพอใจ ที่สัมผัสได้ ให้เกิด
ความเพลิดเพลินอภิรมย์แก่ชีวิต
• ๓. เน้นสิ่งที่ใกล้ตัวมากกว่าไกลตัว เน้นสิ่งที่เป็นปัจจุบันมากกว่าสิ่งใน
อนาคต
• ๔. เน้นสิ่งที่หาง่ายมากกว่าสิ่งที่หายาก
• ๕. เน้นสิ่งที่ปกติธรรมดายิ่งกว่าการแก่งแย่งต่อสู้แข่งขันกัน
ปรัชญาสังคมและการเมืองของหยางจื๊อ
• หยางจื๊อเชื่อว่า สังคมจะเป็นปกติสุขได้ก็ต่อเมื่อแต่ละคนรักตนเอง
เมื่อรักตนเองจริงก็จะไม่ไปเบียดเบียนผู้อื่น เพราะการเบียดเบียนทาร้าย
คนอื่นก็ย่อมนาความเดือดร้อนมาให้ตนเช่นกัน
• หยางจื๊อ : “มนุษย์ถูกเตือนด้วยโทษทัณฑ์ ถูกกระตุ้นด้วยปูบาเหน็จ
รางวัล ถูกฉุดรั้งให้เพลียลงด้วยเกียรติยศชื่อเสียง อีกทั้งกฎหมายก็
สามารถทาให้คนมีแต่ความกังวลใจตลอดเวลา การที่มนุษย์ต้องมา
ยับยั้งในสิ่งที่ตนควรจะฟัง ควรจะดู ควรจะทา และควรจะคิดนั้น เป็น
การทาให้มนุษย์ต้องสูญเสียความสาราญอารมณ์ที่ควรจะได้รับ และ
หากมนุษย์ไม่สามารถปล่อยตัวสนองความอยากทางเนื้อหนังได้แล้ว
มนุษย์ทั่วไปจะแตกต่างไปจากอาชญากรที่ถูกล่ามโซ่ได้อย่างไรเล่า”
• ฉินจื๊อ : “ถ้าท่านยอมให้ถอนขนเส้นหนึ่งออกมา แล้วท่านจะสามารถ
ช่วยให้โลกปลอดภัย ท่านยินดีจะยอมให้ถอนไหม?”
• หยางจื๊อ : “โลกไม่ใช่สิ่งที่จะช่วยให้รอดได้ด้วยขนเพียงเส้นเดียว”
• ฉินจื๊อ : “สมมติว่ามันช่วยได้ ท่านจะยินยอมให้ถอนขนเพียงเส้นเดียว
หรือไม่”
• หยางจื๊อไม่ตอบ เม่งซุนหยาง ได้ตอบแทนว่า “ขนเส้นหนึ่งไม่มี
ความสาคัญอันใด เมื่อเปรียบเทียบกับผิวหนัง และผิวหนังก็ไม่มี
ความสาคัญอันใด เมื่อเปรียบเทียบกับแขนขา แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อ
เอาขนทั้งหมดมารวมกันเข้า มันก็จะมีความสาคัญเท่ากับผิวหนัง และ
ผิวหนังทั้งหมดมารวมกันเข้า ก็จะมีความสาคัญเท่ากับแขนขา
เพราะฉะนั้นขนกาย ๑ เส้น ก็เท่ากับ ๑ ใน ๑๐,๐๐๐ ส่วนของร่างกาย
แล้วจะถือว่าขนกายเส้นหนึ่งไม่มีความสาคัญได้อย่างไร”
สรุป ปรัชญาของหยางจื๊อ
• ปรัชญาของหยางจื๊อตั้งอยู่บนรากฐาน “อัตนิยม” (Subjectivism)
หรือ “อหังการนิยม” (Egoism) เห็นตัวเองสาคัญที่สุด จึงมุ่งแสวงหา
ประโยชน์มาให้ตน เพื่อที่ตนจะได้มีความสุข และแหล่งความสุขที่ตน
จะพึงตักตวงได้ ก็คือ วัตถุกาม ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ทั้งตัด
ความวิตกกังวลให้หมดไป มีใจเป็นอิสระ ไม่ผูกมัดกับลัทธิธรรมเนียม
ประเพณีและกฎเกณฑ์ใดๆ ตราบที่ยังมีชีวิตอยู่ก็หาความสุขให้เต็มที่
• มนุษย์ควรจะดารงชีวิตตามชะตากรรมของตน อดทนและแสวงหา
ความสุขให้ได้มากที่สุดจากชะตากรรมของตน โดยไม่ต้องไปยุ่ง
เกี่ยวกับกิจการของบุคคลอื่น
• ทรรศนะทางจริยธรรมของหยางจื๊อ มาสิ้นสุดที่การปล่อยตัวตามความ
อยาก จนปราศจากความพอดี?
Chinese Tea Philosophy
• if you drink one cup of
Chinese tea, you will feel
relaxed and comfortable.
• After you drink your
second cup, you will feel
happy, and your brain
will feel like it's flying.
• And when you drink
your third cup, all of
your troubles and
worries will melt away.
• "Life is full of suffering, and its chief purpose is
pleasure. There is no god and no after-life; men are the
helpless puppets of the blind natural forces that made
them, and that gave them their unchosen ancestry and
their inalienable character. The wise man will accept
this fate without complaint, but will not be fooled by
all the nonsense of Confucius and Mozi about inherent
virtue, universal love, and a good name: morality is a
deception practised upon the simple by the clever;
universal love is the delusion of children, who do not
know the universal enmity that forms the law of life;
and a good name is a posthumous bauble which the
fools who paid so dearly for it cannot enjoy. In life the
good suffer like the bad, and the wicked seem to enjoy
themselves more keenly than the good” (Quoted by
Durant: 1963:679).
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
จงดี จันทร์เรือง
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
Padvee Academy
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
Padvee Academy
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
Choengchai Rattanachai
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
sw110
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
Padvee Academy
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
Nawakhun Saensen
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
เทวัญ ภูพานทอง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 

What's hot (20)

การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 

Viewers also liked

วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
Padvee Academy
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 

Viewers also liked (8)

วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
Padvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)

  • 2. หยางจื๊อเป็นใคร ?? • หยางจื๊อ หรือเอี้ยงจื๊อ มีชีวิตอยู่ใน ระหว่าง พ.ศ. ๑๐๓-๑๘๓ เป็นชาวเมืองเจา ปัจจุบันคือมณฑลชานสี • ประวัติของหยางจื๊อไม่มีปรากฏแน่ชัด เป็น เจ้าชายในสายราชวงศ์โจว พระบิดาเป็น เจ้าครองแคว้นหยาง ซึ่งต่อมาถูกผนวกเข้า กับแคว้นซิ่น • หยางจื๊อมีอายุอ่อนกว่าม่อจื๊อ (พ.ศ. ๗๕- ๑๕๓) และมีอายุแก่กว่าเม่งจื๊อ (พ.ศ. ๑๗๑-๒๕๔)
  • 3. ปรัชญาเต๋าหลังมรณกรรมของเหลาจื๊อ - สานักที่ ๑ มีจวงจื๊อเป็นตัวแทน ถือว่าเต๋าเป็น สภาวะธรรมชาติที่เป็นนามธรรมเกิดขึ้นเอง ไม่มี อะไรสร้าง ทั้งมีเจตจานงสร้างสิ่งต่างๆ อย่างมี แผนการ เป็นสภาวะที่สมบูรณ์ที่สุด การดาเนิน ชีวิตของคนก็ต้องสอดคล้องกับเต๋า >> Naturalistic Taoism - สานักที่ ๒ มีหยางจื๊อเป็นตัวแทน ถือว่าเต๋า เป็นพลังงานธรรมชาติที่มืดบอด สร้างสิ่ง ต่างๆ อย่างไม่มีแผนการ เป็นปรัชญาเต๋า ลักษณะวัตถุนิยม >> Materialistic Taoism
  • 4. ปรัชญาของหยางจื๊อ • ปรัชญาของหยางจื๊อเป็นประเภทวัตถุนิยม แต่เชื่อเรื่องชะตากรรม ซึ่ง น่าจะได้รับอิทธิพลมาจากปรัชญาเต๋า • “สิ่งทั้งปวงที่เกิดขึ้นในโลก ล้วนแต่มีชะตากรรมเป็นเครื่องกาหนด มาก่อนทั้งสิ้น ชีวิตและความตาย ความสาเร็จและความล้มเหลว โภคทรัพย์และอานาจ ทั้งหมดนี้ถูกกาหนดโดยชะตากรรมทั้งสิ้น ส่วนที่เรียกว่าเจตจานงอิสระ แผนการ ความมุ่งหมาย ไม่ว่าของ เทพเจ้าหรือของมนุษย์ ล้วนแต่อยู่ภายใต้ชะตากรรมทั้งนั้น”
  • 5. • บทสนทนาระหว่างความพยายามและ ชะตากรรม • **สิ่งทั้งหลายในโลกนี้จึงเป็นสิ่งที่ถูก กาหนดมาก่อนทั้งสิ้นและเป็นสิ่งที่อยู่ เหนืออานาจการควบคุมของความ พยายามของมนุษย์ • สิ่งที่เราจาเป็นต้องทาก็คือการดารงชีวิต ให้สอดคล้องกับชะตากรรมของเรา • หยางจื๊อคิดว่าเราควรดารงชีวิตอย่างไร ??
  • 6. • หยางจื๊อกล่าวไว้ว่า • “ขอบเขตของชีวิตอันยืนยาวของมนุษย์นั้น คือ หนึ่งร้อยปี แต่ก็ไม่มีบุคคลใดแม้หนึ่งในพันที่ บรรลุถึงได้...และถึงแม้เราจะมีอายุยืนถึงหนึ่ง ร้อยปี ชีวิตส่วนใหญ่ของเราก็จะใช้หมดไปใน วัยของทารกที่ปราศจากความรู้สึก สานึกอันใด กับวัยชรา ที่หมดไปเพราะการนอน ความ เจ็บป่วย ความทุกข์ ความเศร้าโศกและความ หวาดกลัว” • “...ผลก็คือไม่มีเวลาใดแม้แต่ชั่วโมงเดียวที่ ปราศจากความกังวล ถ้าเช่นนั้น ชีวิตนี้จะมีอยู่ เพื่อประโยชน์อันใดกัน? • และความสุขของชีวิตนั้นคืออะไร?
  • 7. • “ความสุขของชีวิตนั้น คือ อาหาร อันโอชะ เสื้อผ้าอันสวยงาม ดนตรี ที่ไพเราะ และสิ่งสวยงามเจริญตา เจริญใจทั้งปวง” • หยางจื๊อสอนให้แสวงหาความ เกษมสาราญ ความอภิรมย์ของ ชีวิต
  • 8. The Man in the Tea Pot • To do what you enjoy in life. If there is something that makes you happy, then make that thing the focus of your life. Life is too short to be stuck in some job or some thing that you don't like.
  • 9. At Least I have an Ass
  • 10. • “ภาวะที่สิ่งทั้งหลายมีความแตกต่างกันนั้นคือชีวิต ภาวะที่สิ่งทั้งหลายมี ความเหมือนกันนั้นคือ ความตาย...บางคนตายเมื่ออายุ ๑๐ ปี บางคน ตายเมื่ออายุ ๑๐๐ ปี คนฉลาด คนมีเมตตากรุณาก็ต้องตายอย่าง เดียวกันกับคนโง่เง่าและคนโหดร้ายอามหิต เพราะฉะนั้น ขอให้เราจง เร่งขวนขวายหาความอภิรมย์กับชีวิต อย่าสนใจเรื่องของความตายเลย” “...ปล่อยชีวิตให้เป็นไปอย่างเสรี อย่าไป ขัดขวางหรือฉุดรั้งไว้...ปล่อยให้หูฟังสิ่งที่มัน ชอบ ปล่อยให้ตาดูสิ่งที่มันปรารถนา ปล่อย ให้ปากได้พูดสิ่งที่มันพอใจ ปล่อยให้กายได้ สัมผัสกับสิ่งที่มันต้องการ ปล่อยให้จิตใจ จินตนาการตามที่พึงประสงค์
  • 11. Three Friends- The Perfect Evening • “การขัดขวางความอยากจึง เป็น...บ่อเกิดของความ ราคาญอันปวดร้าวอย่างยิ่ง การทาลายบ่อเกิดของความ ราคาญที่ว่านี้ แล้วใช้ชีวิต แสวงหาความสาราญอย่าง สงบ ชั่ววัน ชั่วเดือน ชั่วปี จนกว่าจะถึงวาระแห่งความ ตาย นั่นคือ ความหมายของ การใช้ชีวิตอย่างเกษม สาราญ”
  • 12. ปรัชญาชีวิตของหยางจื๊อ - อัตนิยม- ทุกอย่างเพื่อตนเอง • แนวคิดของหยางจื๊อ เป็น “ปัจเจกภาพนิยม” ไม่ผูกมัดกับธรรมเนียม ระเบียบประเพณี ชื่อเสียงบัญญัติใดๆ ทั้งสิ้น • เขาสอนให้คานึงถึงผลประโยชน์ของตนเองเป็นจุดที่สาคัญที่สุด เพราะสัญชาตญาณของสัตว์โลก ย่อมมีความรักตนเป็นปทัฏฐาน ถ้า รู้จักใช้สัญชาตญาณนี้ให้ถูกต้อง สังคมก็จะเกิดความเป็นปกติสุขขึ้น • ^__? คิดยังไงกับแนวคิดนี้จร้า >> ทาไมหยางจื๊อจึงคิดว่า ถ้ารักและ ทาทุกอย่างเพื่อตนเองแล้วสังคมจะสงบสุข • ลองสมมติตัวเองเป็น หยางจื๊อดู... >___<
  • 13. ความสุขของหยางจื๊อ • มนุษย์ไม่ควรพลาดโอกาสแสวงหาความสุขแม้สักชั่วขณะหนึ่ง • ความสุข หมายถึงความสุขเฉพาะหน้า ไม่ใช่ความสุขในอนาคตที่ยัง มองไม่เห็น หยางจื๊อสอนให้หาความสุขทางเนื้อหนัง ทางอายตนะที่ สัมผัสได้ในทันที • ถ้ามนุษย์เห็นแก่ประโยชน์สุขเฉพาะหน้าของตนให้มาก มนุษย์ จะได้ไม่เบียดเบียนกัน • การที่มนุษย์เบียดเบียนกัน เกิดจากที่มนุษย์ไม่พอใจในความสุขเฉพาะ หน้าตามฐานะของตน จึงเกิดการทะยานอยากแก่งแย่ง แข่งขัน เบียดเบียน
  • 15. Go Fishing in the Mountains
  • 16. สรุป วิธีหาความสุขให้ตนเองของหยางจื๊อ^^ • ๑. ตัดความกลัวต่างๆ ให้หมด โดยเฉพาะความกลัวตาย • ๒.เน้นรูปธรรมมากกว่านามธรรม – ควรขวนขวายแสวงหาความสุข จากรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และอารมณ์ที่น่าพอใจ ที่สัมผัสได้ ให้เกิด ความเพลิดเพลินอภิรมย์แก่ชีวิต • ๓. เน้นสิ่งที่ใกล้ตัวมากกว่าไกลตัว เน้นสิ่งที่เป็นปัจจุบันมากกว่าสิ่งใน อนาคต • ๔. เน้นสิ่งที่หาง่ายมากกว่าสิ่งที่หายาก • ๕. เน้นสิ่งที่ปกติธรรมดายิ่งกว่าการแก่งแย่งต่อสู้แข่งขันกัน
  • 17. ปรัชญาสังคมและการเมืองของหยางจื๊อ • หยางจื๊อเชื่อว่า สังคมจะเป็นปกติสุขได้ก็ต่อเมื่อแต่ละคนรักตนเอง เมื่อรักตนเองจริงก็จะไม่ไปเบียดเบียนผู้อื่น เพราะการเบียดเบียนทาร้าย คนอื่นก็ย่อมนาความเดือดร้อนมาให้ตนเช่นกัน • หยางจื๊อ : “มนุษย์ถูกเตือนด้วยโทษทัณฑ์ ถูกกระตุ้นด้วยปูบาเหน็จ รางวัล ถูกฉุดรั้งให้เพลียลงด้วยเกียรติยศชื่อเสียง อีกทั้งกฎหมายก็ สามารถทาให้คนมีแต่ความกังวลใจตลอดเวลา การที่มนุษย์ต้องมา ยับยั้งในสิ่งที่ตนควรจะฟัง ควรจะดู ควรจะทา และควรจะคิดนั้น เป็น การทาให้มนุษย์ต้องสูญเสียความสาราญอารมณ์ที่ควรจะได้รับ และ หากมนุษย์ไม่สามารถปล่อยตัวสนองความอยากทางเนื้อหนังได้แล้ว มนุษย์ทั่วไปจะแตกต่างไปจากอาชญากรที่ถูกล่ามโซ่ได้อย่างไรเล่า”
  • 18. • ฉินจื๊อ : “ถ้าท่านยอมให้ถอนขนเส้นหนึ่งออกมา แล้วท่านจะสามารถ ช่วยให้โลกปลอดภัย ท่านยินดีจะยอมให้ถอนไหม?” • หยางจื๊อ : “โลกไม่ใช่สิ่งที่จะช่วยให้รอดได้ด้วยขนเพียงเส้นเดียว” • ฉินจื๊อ : “สมมติว่ามันช่วยได้ ท่านจะยินยอมให้ถอนขนเพียงเส้นเดียว หรือไม่” • หยางจื๊อไม่ตอบ เม่งซุนหยาง ได้ตอบแทนว่า “ขนเส้นหนึ่งไม่มี ความสาคัญอันใด เมื่อเปรียบเทียบกับผิวหนัง และผิวหนังก็ไม่มี ความสาคัญอันใด เมื่อเปรียบเทียบกับแขนขา แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อ เอาขนทั้งหมดมารวมกันเข้า มันก็จะมีความสาคัญเท่ากับผิวหนัง และ ผิวหนังทั้งหมดมารวมกันเข้า ก็จะมีความสาคัญเท่ากับแขนขา เพราะฉะนั้นขนกาย ๑ เส้น ก็เท่ากับ ๑ ใน ๑๐,๐๐๐ ส่วนของร่างกาย แล้วจะถือว่าขนกายเส้นหนึ่งไม่มีความสาคัญได้อย่างไร”
  • 19. สรุป ปรัชญาของหยางจื๊อ • ปรัชญาของหยางจื๊อตั้งอยู่บนรากฐาน “อัตนิยม” (Subjectivism) หรือ “อหังการนิยม” (Egoism) เห็นตัวเองสาคัญที่สุด จึงมุ่งแสวงหา ประโยชน์มาให้ตน เพื่อที่ตนจะได้มีความสุข และแหล่งความสุขที่ตน จะพึงตักตวงได้ ก็คือ วัตถุกาม ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ทั้งตัด ความวิตกกังวลให้หมดไป มีใจเป็นอิสระ ไม่ผูกมัดกับลัทธิธรรมเนียม ประเพณีและกฎเกณฑ์ใดๆ ตราบที่ยังมีชีวิตอยู่ก็หาความสุขให้เต็มที่ • มนุษย์ควรจะดารงชีวิตตามชะตากรรมของตน อดทนและแสวงหา ความสุขให้ได้มากที่สุดจากชะตากรรมของตน โดยไม่ต้องไปยุ่ง เกี่ยวกับกิจการของบุคคลอื่น • ทรรศนะทางจริยธรรมของหยางจื๊อ มาสิ้นสุดที่การปล่อยตัวตามความ อยาก จนปราศจากความพอดี?
  • 20. Chinese Tea Philosophy • if you drink one cup of Chinese tea, you will feel relaxed and comfortable. • After you drink your second cup, you will feel happy, and your brain will feel like it's flying. • And when you drink your third cup, all of your troubles and worries will melt away.
  • 21. • "Life is full of suffering, and its chief purpose is pleasure. There is no god and no after-life; men are the helpless puppets of the blind natural forces that made them, and that gave them their unchosen ancestry and their inalienable character. The wise man will accept this fate without complaint, but will not be fooled by all the nonsense of Confucius and Mozi about inherent virtue, universal love, and a good name: morality is a deception practised upon the simple by the clever; universal love is the delusion of children, who do not know the universal enmity that forms the law of life; and a good name is a posthumous bauble which the fools who paid so dearly for it cannot enjoy. In life the good suffer like the bad, and the wicked seem to enjoy themselves more keenly than the good” (Quoted by Durant: 1963:679).
  • 22.

Editor's Notes

  1. Seek Happiness in Life - Live in a Tea Pot