SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
1
บทที่ 1
บทนำ
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทาให้โลกมีวิวัฒนาการและมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารอย่างไร้พรมแดน ประเทศไทย
เป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศจานวนมหาศาลหลั่งไหล
เข้าสู่ประเทศไทย สังคมไทย และคนไทย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นภาษาอังกฤษ จึงจาเป็นที่การจัดการศึกษา
ของประเทศต้องเร่งพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคนในประเทศ ให้มีศักยภาพเพียงพอต่อการ
ดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ
ในการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษให้ความสาคัญในเรื่องทักษะการอ่าน ซึ่งผู้สอนพบปัญหาว่า
นักเรียนชั้นปวช. 3/4 สาขาภาษาต่างประเทศ มีปัญหาด้านการอ่าน เนื่องจากนักเรียนอ่านคาศัพท์หรือสานวน
ประโยค ไม่ถูกต้อง และสรุปใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านได้น้อย
ไม่สอดคล้องกับแนวทางที่ผู้สอนตั้งเป้ าหมายไว้หรืออ่านข้อความแล้วไม่สามารถปฏิบัติตามคาสั่งได้
ด้วยเหตุผลดังกล่าวทาให้ ผู้วิจัยมีความสนใจในการนาเอกสารในวารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ข่าวภาษาอังกฤษ
มาพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพในการอ่านสูงขึ้น และรู้คุณค่าของการเรียนภาษาอังกฤษ
สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิต ทั้งในด้านการศึกษาค้นคว้าในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น
วัตถุประสงค์กำรวิจัย
1. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นปวช. 3/4 ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
2. เพื่อเพิ่มระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ ให้สูงขึ้น
ขอบเขตของกำรวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นปวช. 3/4 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ที่เรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์
จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 48 คน
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. นักเรียนสามารถอ่านภาษาอังกฤษได้คล่องแคล่ว มีประสิทธิภาพการอ่านมากขึ้น
2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษหลังทดลองใช้แบบฝึกการอ่านข่าวภาษาอังกฤษดีขึ้น
2
สมมุติฐำนของกำรวิจัย
นักเรียนชั้นปวช. 3 ห้อง 4 มีความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษสูงขึ้น
หลังจากได้ทดลองอ่านข่าวภาษาอังกฤษจากวารสารหนังสือพิมพ์
ระยะเวลำในกำรวิจัย
การวิจัยดาเนินการทดลองเป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 คาบเรียน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้คัดเลือกบทความข่าวจากหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ
โดยมีระดับความยากง่ายของคาศัพท์
และโครงสร้างไวยากรณ์เหมาะสมกับระดับความรู้ความสามารถของนักเรียน
นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถทางด้านการแปลความ ตีความ
บอกรายละเอียด จับใจความสาคัญ และสรุปเรื่องที่อ่าน ซึ่งวัดได้จากคะแนนการอ่านก่อนและหลังการทดลอง
ที่ผู้วิจัยนามาใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
2. วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ข่าว หมายถึง บทความที่กาหนด โดยนามาจากหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ Bangkok Post,
Washington Post ฯลฯ
ตัวแปรที่ศึกษำ
1. ตัวแปรต้น (Primary Variable) นักเรียนระดับประกาศนียบัตร (ปวช.) ชั้นปีที่ 3/4 สาขาภาษาต่างประเทศ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน
2. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษจากหนังสือพิมพ์
Bangkok Post, Washington Post ฯลฯ
3. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่
3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ ที่ประกอบด้วยประโยคซับซ้อน
(Compound and Complex Sentences)
3.2 ความสามารถในการตีความ แปลความ จากบทความเนื้อเรื่องในรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์
3
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่สาคัญในการติดต่อสื่อสาร ทักษะที่สาคัญในการแสวงหาความรู้
คือทักษะการอ่าน ดังที่ วีรชาติ ชัยเนตร (2541 : 4) กล่าวว่า การอ่านเป็นทักษะที่มีความสาคัญต่อการ
ดารงชีวิตในโลกปัจจุบัน ผู้ที่อ่านมากย่อมมีความรู้มาก สอดคล้องกับพรรณศรี ปทุมสิริ (2541 : 2) กล่าวว่า
ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษจัดว่าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันของคนยุคใหม่ การอ่านเป็นเครื่องมือ
สาคัญยิ่งสาหรับการแสวงหาความรู้ เพราะการอ่านจะช่วยสร้างเสริมความรู้ความคิดของคนให้เพิ่มพูน
ยิ่งขึ้น การอ่านมีบทบาทสาคัญในการเรียนทุกระดับ วิสาข์ จัติวัตร์ ( 2528 : 15) กล่าวว่า ในบรรดาทักษะ
ภาษาอังกฤษอันประกอบด้วยทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนนั้น ทักษะที่จาเป็นมากที่สุดคือ
ทักษะการอ่าน ซึ่งต้องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การอ่านฉลากยา การอ่านป้ ายโฆษณา ตลอดจนวิธีการใช้
ผลิตภัณฑ์ที่มาจากต่างประเทศ ตลอดจนความจาเป็นในการอ่านตาราภาษาอังกฤษของนักศึกษาปริญญาตรี
ปริญญาโท ดังนั้นทักษะการอ่านจึงเป็นทักษะที่นักเรียนต้องการและควรได้รับการส่งเสริมเป็นอย่างยิ่ง
สอดคล้องกับสุภัทรา อักษรานุเคราะห์ (2530 : 50) ให้ความคิดเห็นว่า ในกระบวนการเรียนการสอนทักษะ
ต่าง ๆ ในวิชาภาษาอังกฤษ นับว่าทักษะอ่านเป็นทักษะที่สาคัญและมีประโยชน์มากทักษะหนึ่ง ผู้เรียนมี
โอกาสใช้ทักษะการฟัง การพูด และการเขียน น้อยกว่าการอ่าน และในทานองเดียวกัน แฮริสและซเพย์
(Harris and Spay. 1979: 2) เชื่อว่าการอ่านเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ข่าวสาร และการ
บันเทิง การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การฟัง การพูด และ
การเขียน ดังที่ กัญญา ปัญญสุทธ์ ( 2522 : 3) กล่าวว่า ในการสอนทักษะจาเป็นต้องฝึกช้า ๆ ทบทวนบ่อย ๆ
จึงจะใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้องแม่นยามากขึ้น การอ่านเป็นสิ่งจาเป็นต้องฝึกให้มีความชานาญ
เพื่อฝึกฝนประสบการณ์ทาให้เกิดความคิดกว้างขวาง มีความคิดเฉียบแหลม การอ่านภาษาอังกฤษไม่สามารถ
แยกออกจากทักษะอื่นๆ ดังที่ ไวท์ (White. 1981: 89) กล่าวว่าการอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นและใช้ใน
ชีวิตประจาวันมากกว่าทักษะอื่น ๆ เมื่อเรียนในระดับที่สูงขึ้นไป ผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าตาราทางวิชาการ
เป็นภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ผู้ที่มีทักษะการอ่านสูงย่อมมีโอกาสมากกว่าในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
ได้เป็นอย่างดี
การที่ผู้เรียนจะมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ครูผู้สอนภาษาอังกฤษจะต้องมีความรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ต้องสามารถเป็นผู้นาในการใช้สื่อและ
นวัตกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการหนึ่ง ในการจัดการเรียนการสอน
4
ภาษาอังกฤษ (พูนทรัพย์นาคนาคา. 2539: 3)
โดยเฉพาะในสังคมที่เรียนรู้ภาษาต่างประเทศในสภาพแวดล้อมส่วนใหญ่ที่ไม่ได้ใช้ภาษานั้นเป็นภาษาแม่
และไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการ
สื่อสารในชีวิตประจาวัน ดังเช่นในประเทศไทย จึงเป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยในการใช้ภาษาน้อยที่สุด
(กิตติพงษ์ ทวีวงษ์. 2538: 3) รวมทั้งการขาดสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน (ดวงเดือน แสงชัย. 2533) ใน
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง นอกจากครูสอนภาษาอังกฤษจะต้องรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่าง
ดีแล้ว เครื่องมือที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งของครูภาษาต่างประเทศ ก็คือสื่อการเรียนที่ดี และการมีตาราอย่าง
เพียงพอ ซึ่งจะเป็นคู่มือที่ช่วยในการสอน สื่อการเรียนจะเป็นตัวกาหนดส่วนสาคัญของการเรียนการสอนใน
ห้องเรียน เพราะสื่อการเรียนนั้นผู้สอนจะกาหนดไว้เรียบร้อยแล้วว่าจะให้ผู้เรียนทาอะไร เรียนอะไร
และตอนใดที่ควรเน้นเป็นพิเศษ เพื่อสอนเนื้อหาให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้
แบบเรียนหรือสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย ประพันธ์ จูมคามูล (2532 : 19)
และ สุไร พงษ์ทองเจริญ (2526 : 15) ได้กล่าวไว้ว่า สื่อการเรียนภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนไทยนั้นยาก
เกินกว่าระดับสมองของผู้เรียน เช่น เนื้อหา คาศัพท์ยากหรือมากเกินไป ดังนั้น หนังสือหรือสื่อการเรียน
จะต้องมีลักษณะสอดคล้องกับสิ่งที่ผู้เรียนต้องการ กล่าวคือ บทเรียนควรจะมุ่งทางด้านให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ
มีกิจกรรมกลุ่มให้ผู้เรียนได้กระทาร่วมกัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกว่าบทเรียนน่าสนุก น่าเรียนรู้ของใหม่ และ
เป็นบทเรียนที่ไม่ยากหรือง่ายเกินไปจนทาให้ผู้เรียนเกิดการท้อแท้เบื่อหน่าย ทาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติไม่ดีต่อ
การเรียนภาษาอังกฤษ และที่สาคัญที่สุดคือ ผู้เรียนมีโอกาสนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จุดอ่อนอีกประการ
หนึ่งของสื่อการเรียนภาษาอังกฤษคือ มีแบบฝึกและแบบฝึกหัดไม่เพียงพอและไม่มีคุณภาพ สื่อการเรียน
ภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยไม่ตอบสนองต่อความต้องการของนักเรียนไทยในบางโรงเรียน สื่อการสอน
ไม่สัมพันธ์กัน มีระดับความยากง่ายต่างระดับกันมาก ผู้เรียนจึงเกิดปัญหาและต่อต้านการเรียนภาษาอังกฤษ
และเพื่อให้สอดคล้องกับความคิดของโรเจอร์ (Rogers. 1988: 467) ที่กล่าวว่า ถ้าผู้เรียนจะต้องใช้
ภาษาต่างประเทศเพื่อใช้ในการสื่อสารในชีวิตจริงในอนาคตแล้ว ผู้เรียนควรเริ่มเผชิญกับภาษาที่ใช้สื่อสาร
ในชีวิตจริงตั้งแต่ในห้องเรียน ซึ่งการใช้เอกสารจริงในกระบวนการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษจึงควรเสนอเนื้อหาตลอดจนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถให้
ผู้เรียนได้ใช้ภาษาจริงภายใต้สถานการณ์จริง เกี่ยวกับเนื้อหาที่ใช้ในการสอนนั้น การนาเอกสารจริงมาใช้ใน
การเรียนการสอนก็เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (Robinson. 1980: 35) เพราะการที่
ผู้เรียนพบภาษาที่ใช้จริงในชีวิตประจาวัน ก็จะมองเห็นความสาคัญของการเรียนภาษาว่าสามารถนาไปใช้ใน
การสื่อสารจริงได้ทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและแรงจูงใจในการเรียนสูงขึ้น
5
สุมิตรา อังวัฒนกุล (2536 : 115 - 116) ได้เสนอให้มีการนาสื่อที่เป็นของจริงมาใช้ในการเรียนการ
สอนว่า วิธีการสอนเพื่อการสื่อสารโดยใช้สื่อที่เป็นเอกสารจริงนั้นสามารถช่วยแก้ปัญหา ทาให้นักเรียน
สามารถนาความรู้ในชั้นเรียนไปใช้ภายนอกได้โดยผู้สอนอาจจะนาสื่อที่ปรากฏในสิ่งพิมพ์มาสอน หรือให้
นักเรียนฟังจากวิทยุโทรทัศน์
เบญจวรรณ ผ่องแผ้ว และอรอนงค์ หิรัญบูรณะ (2526 : 65) ได้กล่าวถึงตัวอย่างของเอกสารจริงที่
พบในชีวิตประจาวันว่ามีอยู่หลายประเภท เช่น ข่าว บทความ ป้ายโฆษณา การ์ตูน เป็นต้น และข้อดีของการ
นาเอกสารจริงมาใช้ในการเรียนการสอนจะทาให้ผู้เรียนได้คุ้นเคยกับบทความที่เขาจะได้พบเห็นใน
ชีวิตประจาวัน ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นและสนใจการอ่านมากขึ้น
6
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย
การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์วารสาร หนังสือพิมพ์ ครั้งนี้
เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research ) โดยใช้วิจัยเชิงปฏิบัติ (Practical Research)
และวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกสถิติ (Statistical Record)
ซึ่งผู้วิจัยได้กาหนดแนวทางในการดาเนินการวิจัย โดยมีรายละเอียดในเรื่อง การกาหนดประชากร
การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทาและการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าหรือกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้น ปวช.3/4 สาขาภาษาต่างประเทศ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย จานวน 48 คน
ระยะเวลาในการวิจัย
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 – 28 กุมภาพันธ์ 2557
วันเดือนปี กิจกรรม หมำยเหตุ
4 – 16 พฤศจิกายน 2556 - ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา
19 – 23 พฤศจิกายน 2556 - เขียนแผนโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
- ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบทดลอง
- ออกแบบและสร้างแบบทดสอบสาหรับงานวิจัย
26 พ.ย. 2556 – 31 ม.ค. 2557 - นักเรียนฝึก ปฏิบัติ การทดลองอ่านออกเสียง
บันทึกกิจกรรมการทดสอบ
ผู้วิจัยบันทึกข้อมูล
4 – 15 กุมภาพันธ์ 2557 - เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยบันทึกข้อมูล
18 – 28 กุมภาพันธ์ 2557 - สรุปและอภิปรายผล
- จัดทารูปเล่ม
7
ลำดับ กิจกรรม
ระยะเวลำดำเนินงำน
พ.ย 56 ธ.ค. 56 ม.ค.57 ก.พ. 57 หมำยเหตุ
1 ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา
2 เขียนแผนโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบทดลอง
ออกแบบและสร้างแบบทดสอบ
สาหรับงานวิจัย
3 นักเรียนฝึกปฏิบัติทดลองอ่านออกเสียง
บันทึกกิจกรรมการทดสอบ
4 เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
5 สรุปและอภิปรายผล
6 จัดทารูปเล่ม
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. แบบทดสอบการอ่าน จากวารสารหรือหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ
2. แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ
3. แบบประเมินการอ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐานตั้งแต่ 1 – 5
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนกำรดำเนินกำร
ในการดาเนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียนระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
โดยใช้กิจกรรมการอ่านข่าวภาษาอังกฤษช่วงเวลาพักกลางวันโดยฝึกอ่านทีละคน
และทาการบันทึกคะแนนการอ่านของนักเรียนในแต่ละวัน ผู้วิจัยได้วางแผนดาเนินการศึกษา
สร้างแบบทดสอบการอ่าน โดยยึดคาศัพท์ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ
และได้ดาเนินการซึ่งมีรายละเอียดเป็นขั้นตอนดังนี้
1.ขั้นวิเครำะห์ (Analysis)
1.1 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนได้กาหนดไว้ดังนี้
กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้น ปวช.ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย มีจานวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 48 คน
8
1.2 วิเครำะห์สภาพปัญหาการเรียน การสอนในแต่ละคาบเรียน
โดยการรวบรวมข้อมูลเป็นรายบุคคลจากการสังเกตของผู้วิจัย
บทที่ 4
ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์วารสาร หนังสือพิมพ์
ผู้วิจัยขอเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับ ดังนี้
สัญลักษณ์ที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองและแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยจึงกาหนดสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
( X ) แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน
S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
N แทน ผลรวมคะแนนทั้งหมด
=
ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์
พัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นปวช. 3/4 ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
หลังจากการใช้แนวทางการอ่านวารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ข่าว ภาษาอังกฤษ
ผู้วิจัยขอเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับ ดังนี้
1.
นักเรียนมีความสามารถในการอ่านข่าวภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มทักษะการอ่านให้คล่องแคล่วและตีความภาษาอังกฤษ
ได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ สูงขึ้น
หลังจากใช้แนวทางการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ ซึ่งปรากฏดังแสดงในตารางที่ 4.1
9
ตำรำงที่ 4.1 แสดงผลคะแนนการอ่านข่าวภาษาอังกฤษหลังจากใช้วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ข่าวภาษาอังกฤษ
เมื่อเปรียบเทียบการอ่านภาษาอังกฤษ ก่อนการทดลองวิจัย
เกณฑ์การอ่านตามหัวข้อที่กาหนด คะแนนเต็ม 5 คะแนน
คะแนน เกณฑ์กำรให้คะแนน
การออกเสียง
2 2 หมายถึง ออกเสียงถูกต้องตามหลักการออกเสียง มีเสียงเน้นหนักในคา/ประโยคอย่างสมบูรณ์
1 หมายถึง ออกเสียงคา/ประโยคได้ถูกต้อง มีเสียงเน้นหนักในคา/ประโยคเป็นส่วนใหญ่
ความคล่องแคล่ว
2 2 หมายถึง อ่านต่อเนื่อง ไม่ติดขัด
1 หมายถึง อ่านเป็นคาๆ หยุดเป็นระยะๆ
ความเข้าใจบทอ่าน
1 1 หมายถึง เข้าใจและตีความบทอ่านโดยถ่ายโอนเป็นข้อความที่ใช้ถ้อยคาตนเอง
เลขที่ รายชื่อนักเรียน คะแนนก่อนทดสอบ คะแนนหลังทดสอบ
1 นายวุฒิพงษ์ สมบัติ 2 3
2 นายศิริวุฒิ หมวดไธสง 2 3
3 นางสาวรจนา แฝกสิน 2 3
4 นางสาวปิยะธิดา จิตต์บุญธรรม 1 3
5 นางสาวสุวนันท์ ปั้นนอก 3 5
6 นางสาวปิยะนันท์ สุรักษ์ 1 3
7 นางสาวอัญธิกา บุพชาติ 3 5
8 นางสาวรัชนก วงค์คา 3 5
9 นางสาวณัฐธิดา จันทะเสน 2 4
10 นางสาววันวิสาข์ บทมาตย์ 1 2
11 นางสาวศิริลักษณ์ ดรโท 2 4
10
12 นางสาวเพชรรัตน์ ธาตุไพบูรณ์ 3 5
13 นางสาววริศรา มะณีสี 2 3
14 นางสาวสุนิษา อินทะสีดา 2 4
15 นางสาวพาริณี พันธ์ทอง 2 3
เลขที่ รายชื่อนักเรียน คะแนนก่อนทดสอบ คะแนนหลังทดสอบ
16 นางสาวลาไพร พินิจเจริญ 2 3
17 นายธันญ์ยาภัทร อุติเนตร 1 3
18 นายศราวุธ พินิจเจริญ 1 3
19 นายวุฒิพงษ์ มาลาศรี 1 2
20 นางสาววิราวัลย์ ศิริธร 2 3
21 นางสาววราภรณ์ ใจเบา 3 5
22 นายสุเทพ กุตัน 2 4
23 นางสาวปัทมา ขาวกระจ่าง 2 3
24 นายชยณัฐ อินทะชัย 3 5
25 นางสาวอภิญญา ด่านกระโทก 1 2
26 นางสาวเจนจิรา นามชารี 1 2
27 นางสาวการติกา พวงเสียง 1 2
28 นางสาวอมรรัตน์ ก้อนแก้ว 2 4
29 นางสาวขวัญฤทัย เสมอใจ 3 5
30 นางสาวนัฏธิดา ภูศิฤทธิ์ 2 3
31 นางสาวจิรประภา ผิวผ่อง 1 3
32 นางสาวธิติมา ผาโคตร 2 3
33 นางสาวณัฐธิณี คุณานิล 2 4
34 นางสาววรรณรดา วัฒนะ 3 5
35 นางสาวนิสาชล หงษ์สุนา 2 4
36 นางสาวภานุชนาถ ดวงจันทร์ 2 3
37 นางสาวจิตรานุช สิงห์น้อย 1 2
38 นางสาววัชราภรณ์ ภูตินันท์ 2 3
39 นางสาวดาราวรรณ คาสด 2 4
40 นางสาวมินทร์ธิตา นามวงศ์ 1 2
41 นายศราวุฒิ อุฏะมาร 1 2
11
42 นางสาวมีนา โพธิ์ชัยเลิศ 1 2
43 นางสาวสาลินี ชาญสมร 3 4
44 นางสาวระติกาน ขันแข็ง 2 3
45 นางสาวณัฐธิดา อุภัยพรม 2 3
46 นายศักดิ์สิทธิ์ โพนหลวง 1 2
เลขที่ รายชื่อนักเรียน คะแนนก่อนทดสอบ คะแนนหลังทดสอบ
47 นางสาวทิวาภรณ์ วรรณโส 2 3
48 นางสาวรัศมี เวสสาพรม 1 2
เกณฑ์ที่ใช้ในการแปลความหมายข้อมูล แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
ค่าเฉลี่ย 3.01 – 5.00 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง ดีมาก
ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.00 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง ดี
ค่าเฉลี่ย 2.01 – 2.50 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง ปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.00 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง พอใช้
ค่าเฉลี่ย 0 – 1.50 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง น้อย
ตำรำงที่ 4.2 แสดงผลการวิเคราะห์ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก่อนและหลังการทดสอบ
ผลรวมคะแนนทั้งหมด
N แปลผล หมายเหตุ
ก่อนทดสอบ 86 1.79 พอใช้
หลังทดสอบ 153 3.18 ดีมาก
จากตาราง สรุปได้ว่า นักศึกษามีผลคะแนนเฉลี่ยก่อนทดสอบการอ่าน เท่ากับ 1.79 และแปลผลได้ว่าอยู่ใน
พอใช้ หลังจากทดลองอ่านข่าวภาษาอังกฤษจากวารสารสื่อสิ่งพิมพ์ พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่
3.18 แ ป ล ผ ล ไ ด้ ว่ า อ ยู่ ใ น เ ก ณ ฑ์ ดี ม า ก จึ ง ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
จ า ก ก า ร ท ด ล อ ง ใ ช้ ว า ร ส า ร สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ใ น ก า ร อ่ า น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ
สามารถทาให้นักเรียนมีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสูงขึ้นกว่าเดิมที่ 1.79 เป็น 3.18
12
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ
การวิจัยเรื่อง “กำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำนภำษำอังกฤษโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์วำรสำร หนังสือพิมพ์”
ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 3/4 สาขาวิชา ภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย
จานวนทั้งหมด 48 คน
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
1. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นปวช. 3/4 ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
2. เพื่อเพิ่มระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ ให้สูงขึ้น
กำรกำหนดประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นปวช. 3/4 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ที่เรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์
จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 48 คน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองและแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยจึงกาหนดสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
( X ) แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน
S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
N แทน ผลรวมคะแนนทั้งหมด
=
13
สรุปผลกำรวิจัย พบว่า นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการทดลองใช้แบบฝึกอ่านข่าวภาษาอังกฤษอยู่ที่ 1.79
และแปลผลได้ว่าอยู่ในเกณฑ์ พอใช้ หลังจากทดลองใช้แบบฝึกการอ่านข่าวภาษาอังกฤษจากวารสารแล้ว พบว่า
นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ยหลังทดลองอยู่ที่ 3.18 ซึ่งแปลผลได้ว่า นักเรียนมีความสามารถหรือทักษะในการอ่าน
ข่าวภาษาอังกฤษอยู่ที่ระดับคะแนน 3.18 ซึ่งแปลผลได้ว่า อยู่ในระดับดีมาก
อภิปรำยผล จากการทาวิจัย เรื่อง “กำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำนภำษำอังกฤษโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์วำรสำร หนังสือพิมพ์”
ทาให้นักเรียนระดับชั้น ปวช. 3/4 สาขาวิชา ภาษาต่างประเทศ ที่เรียนในรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการอ่านเพิ่มสูงขึ้นจากการทาข้อสอบ สามารถอ่านภาษาอังกฤษและทาความเข้าใจ
เนื้อหาข้อสอบได้ดีขึ้น
ข้อเสนอแนะ
ในการทาวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. ควรมีคาศัพท์ สานวน ที่ง่ายต่อการอ่านข่าว เพราะข่าวภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาศัพท์
เฉพาะทางของข่าว ซึ่งนักเรียนไม่คุ้นเคยกับคาศัพท์หรือสานวนเหล่านั้น เช่น ออกเสียงลาบากในบางคาศัพท์
ประโยคภาษาอังกฤษในข่าวมีความซับซ้อน จึงอยากให้มีการนาข่าวสั้นๆ ที่เข้าใจง่ายต่อการอ่าน คิด วิเคราะห์
14
ภำคผนวก
15
ตัวอย่ำงแบบฝึกชุดกำรอ่ำนข่ำวภำษำอังกฤษจำกวำรสำรสื่อสิ่งพิมพ์
16
ประวัติย่อผู้วิจัย
ชื่อ – นามสกุล นายกฤษฎิน ยอดคาตัน
วัน เดือน ปีเกิด 5 กรกฎาคม 2529
ที่อยู่ปัจจุบัน 48 หมู่ 2 บ้านเดื่อ ตาบลบ้านเดื่อ อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000
เบอร์โทรที่สามารถติดต่อได้ 086-2544842
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2552 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
พ.ศ. 2547 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.6 )
จากโรงเรียนปรางค์กู่ อาเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ
พ.ศ. 2544 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ( ม.3 )
จากโรงเรียนบ้านตาเปียง ตาบลสาโรงปราสาท อาเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ
ปัจจุบัน
ประวัติการทางาน
พ.ศ. 2553 – 2554 ตาแหน่ง Night Auditor, Sea San Sun Hotel, Pattaya
พ.ศ. 2555 – 2556 ตาแหน่ง ครูสอนภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอุดรธานี
จังหวัดอุดรธานี
ปัจจุบัน ตาแหน่ง ครูสอนภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย

More Related Content

What's hot

การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...Mjjeje Mint
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1Utsani Yotwilai
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะสมใจ จันสุกสี
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านTeacher Sophonnawit
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีmina612
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
 
Present perfect tense
Present  perfect  tensePresent  perfect  tense
Present perfect tense
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 

Viewers also liked

งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษNontaporn Pilawut
 
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษChicharito Iamjang
 
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนworapong jinwong
 
แผนการสอน Reading
แผนการสอน Readingแผนการสอน Reading
แผนการสอน ReadingSuccess SC Slac
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านWanida Keawprompakdee
 
แผนการอ่าน
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่านSerena Sunisa
 
Reading for comprehension
Reading for comprehensionReading for comprehension
Reading for comprehensionruttiporn
 
Reading Lesson Plan
Reading Lesson PlanReading Lesson Plan
Reading Lesson PlanMaenie Nrm
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)นางสาวอารียา แย้มภู
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษAlis Sopa
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้อภิญญา คำเหลือ
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษTapanee Sumneanglum
 

Viewers also liked (14)

งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
 
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
 
แผนการสอน Reading
แผนการสอน Readingแผนการสอน Reading
แผนการสอน Reading
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
 
แผนการอ่าน
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่าน
 
Reading for comprehension
Reading for comprehensionReading for comprehension
Reading for comprehension
 
Reading Lesson Plan
Reading Lesson PlanReading Lesson Plan
Reading Lesson Plan
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
 

Similar to วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
Strategies enhancing english language skills by tciap
Strategies enhancing english language skills by tciapStrategies enhancing english language skills by tciap
Strategies enhancing english language skills by tciapThai Cooperate in Academic
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6kruchaily
 

Similar to วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ (20)

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
E-Book_Intensive_Reading_Chapter1E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
 
Strategies enhancing english language skills by tciap
Strategies enhancing english language skills by tciapStrategies enhancing english language skills by tciap
Strategies enhancing english language skills by tciap
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 4
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่  3 จุดเน้นที่  3
จุดเน้นที่ 3
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
 

วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทาให้โลกมีวิวัฒนาการและมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารอย่างไร้พรมแดน ประเทศไทย เป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศจานวนมหาศาลหลั่งไหล เข้าสู่ประเทศไทย สังคมไทย และคนไทย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นภาษาอังกฤษ จึงจาเป็นที่การจัดการศึกษา ของประเทศต้องเร่งพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคนในประเทศ ให้มีศักยภาพเพียงพอต่อการ ดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ ในการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษให้ความสาคัญในเรื่องทักษะการอ่าน ซึ่งผู้สอนพบปัญหาว่า นักเรียนชั้นปวช. 3/4 สาขาภาษาต่างประเทศ มีปัญหาด้านการอ่าน เนื่องจากนักเรียนอ่านคาศัพท์หรือสานวน ประโยค ไม่ถูกต้อง และสรุปใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านได้น้อย ไม่สอดคล้องกับแนวทางที่ผู้สอนตั้งเป้ าหมายไว้หรืออ่านข้อความแล้วไม่สามารถปฏิบัติตามคาสั่งได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวทาให้ ผู้วิจัยมีความสนใจในการนาเอกสารในวารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ข่าวภาษาอังกฤษ มาพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพในการอ่านสูงขึ้น และรู้คุณค่าของการเรียนภาษาอังกฤษ สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิต ทั้งในด้านการศึกษาค้นคว้าในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น วัตถุประสงค์กำรวิจัย 1. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นปวช. 3/4 ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. เพื่อเพิ่มระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ ให้สูงขึ้น ขอบเขตของกำรวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นปวช. 3/4 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ที่เรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 48 คน ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. นักเรียนสามารถอ่านภาษาอังกฤษได้คล่องแคล่ว มีประสิทธิภาพการอ่านมากขึ้น 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษหลังทดลองใช้แบบฝึกการอ่านข่าวภาษาอังกฤษดีขึ้น
  • 2. 2 สมมุติฐำนของกำรวิจัย นักเรียนชั้นปวช. 3 ห้อง 4 มีความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษสูงขึ้น หลังจากได้ทดลองอ่านข่าวภาษาอังกฤษจากวารสารหนังสือพิมพ์ ระยะเวลำในกำรวิจัย การวิจัยดาเนินการทดลองเป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 คาบเรียน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้คัดเลือกบทความข่าวจากหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ โดยมีระดับความยากง่ายของคาศัพท์ และโครงสร้างไวยากรณ์เหมาะสมกับระดับความรู้ความสามารถของนักเรียน นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถทางด้านการแปลความ ตีความ บอกรายละเอียด จับใจความสาคัญ และสรุปเรื่องที่อ่าน ซึ่งวัดได้จากคะแนนการอ่านก่อนและหลังการทดลอง ที่ผู้วิจัยนามาใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 2. วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ข่าว หมายถึง บทความที่กาหนด โดยนามาจากหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ Bangkok Post, Washington Post ฯลฯ ตัวแปรที่ศึกษำ 1. ตัวแปรต้น (Primary Variable) นักเรียนระดับประกาศนียบัตร (ปวช.) ชั้นปีที่ 3/4 สาขาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน 2. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษจากหนังสือพิมพ์ Bangkok Post, Washington Post ฯลฯ 3. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ ที่ประกอบด้วยประโยคซับซ้อน (Compound and Complex Sentences) 3.2 ความสามารถในการตีความ แปลความ จากบทความเนื้อเรื่องในรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์
  • 3. 3 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่สาคัญในการติดต่อสื่อสาร ทักษะที่สาคัญในการแสวงหาความรู้ คือทักษะการอ่าน ดังที่ วีรชาติ ชัยเนตร (2541 : 4) กล่าวว่า การอ่านเป็นทักษะที่มีความสาคัญต่อการ ดารงชีวิตในโลกปัจจุบัน ผู้ที่อ่านมากย่อมมีความรู้มาก สอดคล้องกับพรรณศรี ปทุมสิริ (2541 : 2) กล่าวว่า ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษจัดว่าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันของคนยุคใหม่ การอ่านเป็นเครื่องมือ สาคัญยิ่งสาหรับการแสวงหาความรู้ เพราะการอ่านจะช่วยสร้างเสริมความรู้ความคิดของคนให้เพิ่มพูน ยิ่งขึ้น การอ่านมีบทบาทสาคัญในการเรียนทุกระดับ วิสาข์ จัติวัตร์ ( 2528 : 15) กล่าวว่า ในบรรดาทักษะ ภาษาอังกฤษอันประกอบด้วยทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนนั้น ทักษะที่จาเป็นมากที่สุดคือ ทักษะการอ่าน ซึ่งต้องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การอ่านฉลากยา การอ่านป้ ายโฆษณา ตลอดจนวิธีการใช้ ผลิตภัณฑ์ที่มาจากต่างประเทศ ตลอดจนความจาเป็นในการอ่านตาราภาษาอังกฤษของนักศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโท ดังนั้นทักษะการอ่านจึงเป็นทักษะที่นักเรียนต้องการและควรได้รับการส่งเสริมเป็นอย่างยิ่ง สอดคล้องกับสุภัทรา อักษรานุเคราะห์ (2530 : 50) ให้ความคิดเห็นว่า ในกระบวนการเรียนการสอนทักษะ ต่าง ๆ ในวิชาภาษาอังกฤษ นับว่าทักษะอ่านเป็นทักษะที่สาคัญและมีประโยชน์มากทักษะหนึ่ง ผู้เรียนมี โอกาสใช้ทักษะการฟัง การพูด และการเขียน น้อยกว่าการอ่าน และในทานองเดียวกัน แฮริสและซเพย์ (Harris and Spay. 1979: 2) เชื่อว่าการอ่านเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ข่าวสาร และการ บันเทิง การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การฟัง การพูด และ การเขียน ดังที่ กัญญา ปัญญสุทธ์ ( 2522 : 3) กล่าวว่า ในการสอนทักษะจาเป็นต้องฝึกช้า ๆ ทบทวนบ่อย ๆ จึงจะใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้องแม่นยามากขึ้น การอ่านเป็นสิ่งจาเป็นต้องฝึกให้มีความชานาญ เพื่อฝึกฝนประสบการณ์ทาให้เกิดความคิดกว้างขวาง มีความคิดเฉียบแหลม การอ่านภาษาอังกฤษไม่สามารถ แยกออกจากทักษะอื่นๆ ดังที่ ไวท์ (White. 1981: 89) กล่าวว่าการอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นและใช้ใน ชีวิตประจาวันมากกว่าทักษะอื่น ๆ เมื่อเรียนในระดับที่สูงขึ้นไป ผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าตาราทางวิชาการ เป็นภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ผู้ที่มีทักษะการอ่านสูงย่อมมีโอกาสมากกว่าในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม ได้เป็นอย่างดี การที่ผู้เรียนจะมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ครูผู้สอนภาษาอังกฤษจะต้องมีความรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ต้องสามารถเป็นผู้นาในการใช้สื่อและ นวัตกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการหนึ่ง ในการจัดการเรียนการสอน
  • 4. 4 ภาษาอังกฤษ (พูนทรัพย์นาคนาคา. 2539: 3) โดยเฉพาะในสังคมที่เรียนรู้ภาษาต่างประเทศในสภาพแวดล้อมส่วนใหญ่ที่ไม่ได้ใช้ภาษานั้นเป็นภาษาแม่ และไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการ สื่อสารในชีวิตประจาวัน ดังเช่นในประเทศไทย จึงเป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยในการใช้ภาษาน้อยที่สุด (กิตติพงษ์ ทวีวงษ์. 2538: 3) รวมทั้งการขาดสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน (ดวงเดือน แสงชัย. 2533) ใน การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง นอกจากครูสอนภาษาอังกฤษจะต้องรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่าง ดีแล้ว เครื่องมือที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งของครูภาษาต่างประเทศ ก็คือสื่อการเรียนที่ดี และการมีตาราอย่าง เพียงพอ ซึ่งจะเป็นคู่มือที่ช่วยในการสอน สื่อการเรียนจะเป็นตัวกาหนดส่วนสาคัญของการเรียนการสอนใน ห้องเรียน เพราะสื่อการเรียนนั้นผู้สอนจะกาหนดไว้เรียบร้อยแล้วว่าจะให้ผู้เรียนทาอะไร เรียนอะไร และตอนใดที่ควรเน้นเป็นพิเศษ เพื่อสอนเนื้อหาให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ แบบเรียนหรือสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย ประพันธ์ จูมคามูล (2532 : 19) และ สุไร พงษ์ทองเจริญ (2526 : 15) ได้กล่าวไว้ว่า สื่อการเรียนภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนไทยนั้นยาก เกินกว่าระดับสมองของผู้เรียน เช่น เนื้อหา คาศัพท์ยากหรือมากเกินไป ดังนั้น หนังสือหรือสื่อการเรียน จะต้องมีลักษณะสอดคล้องกับสิ่งที่ผู้เรียนต้องการ กล่าวคือ บทเรียนควรจะมุ่งทางด้านให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ มีกิจกรรมกลุ่มให้ผู้เรียนได้กระทาร่วมกัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกว่าบทเรียนน่าสนุก น่าเรียนรู้ของใหม่ และ เป็นบทเรียนที่ไม่ยากหรือง่ายเกินไปจนทาให้ผู้เรียนเกิดการท้อแท้เบื่อหน่าย ทาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติไม่ดีต่อ การเรียนภาษาอังกฤษ และที่สาคัญที่สุดคือ ผู้เรียนมีโอกาสนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จุดอ่อนอีกประการ หนึ่งของสื่อการเรียนภาษาอังกฤษคือ มีแบบฝึกและแบบฝึกหัดไม่เพียงพอและไม่มีคุณภาพ สื่อการเรียน ภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยไม่ตอบสนองต่อความต้องการของนักเรียนไทยในบางโรงเรียน สื่อการสอน ไม่สัมพันธ์กัน มีระดับความยากง่ายต่างระดับกันมาก ผู้เรียนจึงเกิดปัญหาและต่อต้านการเรียนภาษาอังกฤษ และเพื่อให้สอดคล้องกับความคิดของโรเจอร์ (Rogers. 1988: 467) ที่กล่าวว่า ถ้าผู้เรียนจะต้องใช้ ภาษาต่างประเทศเพื่อใช้ในการสื่อสารในชีวิตจริงในอนาคตแล้ว ผู้เรียนควรเริ่มเผชิญกับภาษาที่ใช้สื่อสาร ในชีวิตจริงตั้งแต่ในห้องเรียน ซึ่งการใช้เอกสารจริงในกระบวนการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง การเรียนการสอนภาษาอังกฤษจึงควรเสนอเนื้อหาตลอดจนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถให้ ผู้เรียนได้ใช้ภาษาจริงภายใต้สถานการณ์จริง เกี่ยวกับเนื้อหาที่ใช้ในการสอนนั้น การนาเอกสารจริงมาใช้ใน การเรียนการสอนก็เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (Robinson. 1980: 35) เพราะการที่ ผู้เรียนพบภาษาที่ใช้จริงในชีวิตประจาวัน ก็จะมองเห็นความสาคัญของการเรียนภาษาว่าสามารถนาไปใช้ใน การสื่อสารจริงได้ทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและแรงจูงใจในการเรียนสูงขึ้น
  • 5. 5 สุมิตรา อังวัฒนกุล (2536 : 115 - 116) ได้เสนอให้มีการนาสื่อที่เป็นของจริงมาใช้ในการเรียนการ สอนว่า วิธีการสอนเพื่อการสื่อสารโดยใช้สื่อที่เป็นเอกสารจริงนั้นสามารถช่วยแก้ปัญหา ทาให้นักเรียน สามารถนาความรู้ในชั้นเรียนไปใช้ภายนอกได้โดยผู้สอนอาจจะนาสื่อที่ปรากฏในสิ่งพิมพ์มาสอน หรือให้ นักเรียนฟังจากวิทยุโทรทัศน์ เบญจวรรณ ผ่องแผ้ว และอรอนงค์ หิรัญบูรณะ (2526 : 65) ได้กล่าวถึงตัวอย่างของเอกสารจริงที่ พบในชีวิตประจาวันว่ามีอยู่หลายประเภท เช่น ข่าว บทความ ป้ายโฆษณา การ์ตูน เป็นต้น และข้อดีของการ นาเอกสารจริงมาใช้ในการเรียนการสอนจะทาให้ผู้เรียนได้คุ้นเคยกับบทความที่เขาจะได้พบเห็นใน ชีวิตประจาวัน ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นและสนใจการอ่านมากขึ้น
  • 6. 6 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์วารสาร หนังสือพิมพ์ ครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research ) โดยใช้วิจัยเชิงปฏิบัติ (Practical Research) และวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกสถิติ (Statistical Record) ซึ่งผู้วิจัยได้กาหนดแนวทางในการดาเนินการวิจัย โดยมีรายละเอียดในเรื่อง การกาหนดประชากร การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทาและการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าหรือกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้น ปวช.3/4 สาขาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย จานวน 48 คน ระยะเวลาในการวิจัย วันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 – 28 กุมภาพันธ์ 2557 วันเดือนปี กิจกรรม หมำยเหตุ 4 – 16 พฤศจิกายน 2556 - ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา 19 – 23 พฤศจิกายน 2556 - เขียนแผนโครงงานวิจัยในชั้นเรียน - ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบทดลอง - ออกแบบและสร้างแบบทดสอบสาหรับงานวิจัย 26 พ.ย. 2556 – 31 ม.ค. 2557 - นักเรียนฝึก ปฏิบัติ การทดลองอ่านออกเสียง บันทึกกิจกรรมการทดสอบ ผู้วิจัยบันทึกข้อมูล 4 – 15 กุมภาพันธ์ 2557 - เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยบันทึกข้อมูล 18 – 28 กุมภาพันธ์ 2557 - สรุปและอภิปรายผล - จัดทารูปเล่ม
  • 7. 7 ลำดับ กิจกรรม ระยะเวลำดำเนินงำน พ.ย 56 ธ.ค. 56 ม.ค.57 ก.พ. 57 หมำยเหตุ 1 ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา 2 เขียนแผนโครงงานวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบทดลอง ออกแบบและสร้างแบบทดสอบ สาหรับงานวิจัย 3 นักเรียนฝึกปฏิบัติทดลองอ่านออกเสียง บันทึกกิจกรรมการทดสอบ 4 เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล 5 สรุปและอภิปรายผล 6 จัดทารูปเล่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. แบบทดสอบการอ่าน จากวารสารหรือหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ 2. แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ 3. แบบประเมินการอ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐานตั้งแต่ 1 – 5 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนกำรดำเนินกำร ในการดาเนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 โดยใช้กิจกรรมการอ่านข่าวภาษาอังกฤษช่วงเวลาพักกลางวันโดยฝึกอ่านทีละคน และทาการบันทึกคะแนนการอ่านของนักเรียนในแต่ละวัน ผู้วิจัยได้วางแผนดาเนินการศึกษา สร้างแบบทดสอบการอ่าน โดยยึดคาศัพท์ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และได้ดาเนินการซึ่งมีรายละเอียดเป็นขั้นตอนดังนี้ 1.ขั้นวิเครำะห์ (Analysis) 1.1 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนได้กาหนดไว้ดังนี้ กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้น ปวช.ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย มีจานวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 48 คน
  • 8. 8 1.2 วิเครำะห์สภาพปัญหาการเรียน การสอนในแต่ละคาบเรียน โดยการรวบรวมข้อมูลเป็นรายบุคคลจากการสังเกตของผู้วิจัย บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์วารสาร หนังสือพิมพ์ ผู้วิจัยขอเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับ ดังนี้ สัญลักษณ์ที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองและแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยจึงกาหนดสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ( X ) แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน N แทน ผลรวมคะแนนทั้งหมด = ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ พัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นปวช. 3/4 ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น หลังจากการใช้แนวทางการอ่านวารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ข่าว ภาษาอังกฤษ ผู้วิจัยขอเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับ ดังนี้ 1. นักเรียนมีความสามารถในการอ่านข่าวภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มทักษะการอ่านให้คล่องแคล่วและตีความภาษาอังกฤษ ได้อย่างเข้าใจมากขึ้น 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ สูงขึ้น หลังจากใช้แนวทางการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ ซึ่งปรากฏดังแสดงในตารางที่ 4.1
  • 9. 9 ตำรำงที่ 4.1 แสดงผลคะแนนการอ่านข่าวภาษาอังกฤษหลังจากใช้วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ข่าวภาษาอังกฤษ เมื่อเปรียบเทียบการอ่านภาษาอังกฤษ ก่อนการทดลองวิจัย เกณฑ์การอ่านตามหัวข้อที่กาหนด คะแนนเต็ม 5 คะแนน คะแนน เกณฑ์กำรให้คะแนน การออกเสียง 2 2 หมายถึง ออกเสียงถูกต้องตามหลักการออกเสียง มีเสียงเน้นหนักในคา/ประโยคอย่างสมบูรณ์ 1 หมายถึง ออกเสียงคา/ประโยคได้ถูกต้อง มีเสียงเน้นหนักในคา/ประโยคเป็นส่วนใหญ่ ความคล่องแคล่ว 2 2 หมายถึง อ่านต่อเนื่อง ไม่ติดขัด 1 หมายถึง อ่านเป็นคาๆ หยุดเป็นระยะๆ ความเข้าใจบทอ่าน 1 1 หมายถึง เข้าใจและตีความบทอ่านโดยถ่ายโอนเป็นข้อความที่ใช้ถ้อยคาตนเอง เลขที่ รายชื่อนักเรียน คะแนนก่อนทดสอบ คะแนนหลังทดสอบ 1 นายวุฒิพงษ์ สมบัติ 2 3 2 นายศิริวุฒิ หมวดไธสง 2 3 3 นางสาวรจนา แฝกสิน 2 3 4 นางสาวปิยะธิดา จิตต์บุญธรรม 1 3 5 นางสาวสุวนันท์ ปั้นนอก 3 5 6 นางสาวปิยะนันท์ สุรักษ์ 1 3 7 นางสาวอัญธิกา บุพชาติ 3 5 8 นางสาวรัชนก วงค์คา 3 5 9 นางสาวณัฐธิดา จันทะเสน 2 4 10 นางสาววันวิสาข์ บทมาตย์ 1 2 11 นางสาวศิริลักษณ์ ดรโท 2 4
  • 10. 10 12 นางสาวเพชรรัตน์ ธาตุไพบูรณ์ 3 5 13 นางสาววริศรา มะณีสี 2 3 14 นางสาวสุนิษา อินทะสีดา 2 4 15 นางสาวพาริณี พันธ์ทอง 2 3 เลขที่ รายชื่อนักเรียน คะแนนก่อนทดสอบ คะแนนหลังทดสอบ 16 นางสาวลาไพร พินิจเจริญ 2 3 17 นายธันญ์ยาภัทร อุติเนตร 1 3 18 นายศราวุธ พินิจเจริญ 1 3 19 นายวุฒิพงษ์ มาลาศรี 1 2 20 นางสาววิราวัลย์ ศิริธร 2 3 21 นางสาววราภรณ์ ใจเบา 3 5 22 นายสุเทพ กุตัน 2 4 23 นางสาวปัทมา ขาวกระจ่าง 2 3 24 นายชยณัฐ อินทะชัย 3 5 25 นางสาวอภิญญา ด่านกระโทก 1 2 26 นางสาวเจนจิรา นามชารี 1 2 27 นางสาวการติกา พวงเสียง 1 2 28 นางสาวอมรรัตน์ ก้อนแก้ว 2 4 29 นางสาวขวัญฤทัย เสมอใจ 3 5 30 นางสาวนัฏธิดา ภูศิฤทธิ์ 2 3 31 นางสาวจิรประภา ผิวผ่อง 1 3 32 นางสาวธิติมา ผาโคตร 2 3 33 นางสาวณัฐธิณี คุณานิล 2 4 34 นางสาววรรณรดา วัฒนะ 3 5 35 นางสาวนิสาชล หงษ์สุนา 2 4 36 นางสาวภานุชนาถ ดวงจันทร์ 2 3 37 นางสาวจิตรานุช สิงห์น้อย 1 2 38 นางสาววัชราภรณ์ ภูตินันท์ 2 3 39 นางสาวดาราวรรณ คาสด 2 4 40 นางสาวมินทร์ธิตา นามวงศ์ 1 2 41 นายศราวุฒิ อุฏะมาร 1 2
  • 11. 11 42 นางสาวมีนา โพธิ์ชัยเลิศ 1 2 43 นางสาวสาลินี ชาญสมร 3 4 44 นางสาวระติกาน ขันแข็ง 2 3 45 นางสาวณัฐธิดา อุภัยพรม 2 3 46 นายศักดิ์สิทธิ์ โพนหลวง 1 2 เลขที่ รายชื่อนักเรียน คะแนนก่อนทดสอบ คะแนนหลังทดสอบ 47 นางสาวทิวาภรณ์ วรรณโส 2 3 48 นางสาวรัศมี เวสสาพรม 1 2 เกณฑ์ที่ใช้ในการแปลความหมายข้อมูล แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ค่าเฉลี่ย 3.01 – 5.00 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง ดีมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.00 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง ดี ค่าเฉลี่ย 2.01 – 2.50 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.00 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง พอใช้ ค่าเฉลี่ย 0 – 1.50 หมายถึง นักศึกษามีความสามารถคิด วิเคราะห์ ตีความ แปลความ ออกเสียง น้อย ตำรำงที่ 4.2 แสดงผลการวิเคราะห์ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก่อนและหลังการทดสอบ ผลรวมคะแนนทั้งหมด N แปลผล หมายเหตุ ก่อนทดสอบ 86 1.79 พอใช้ หลังทดสอบ 153 3.18 ดีมาก จากตาราง สรุปได้ว่า นักศึกษามีผลคะแนนเฉลี่ยก่อนทดสอบการอ่าน เท่ากับ 1.79 และแปลผลได้ว่าอยู่ใน พอใช้ หลังจากทดลองอ่านข่าวภาษาอังกฤษจากวารสารสื่อสิ่งพิมพ์ พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 3.18 แ ป ล ผ ล ไ ด้ ว่ า อ ยู่ ใ น เ ก ณ ฑ์ ดี ม า ก จึ ง ส รุ ป ไ ด้ ว่ า จ า ก ก า ร ท ด ล อ ง ใ ช้ ว า ร ส า ร สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ใ น ก า ร อ่ า น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ สามารถทาให้นักเรียนมีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสูงขึ้นกว่าเดิมที่ 1.79 เป็น 3.18
  • 12. 12 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่อง “กำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำนภำษำอังกฤษโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์วำรสำร หนังสือพิมพ์” ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 3/4 สาขาวิชา ภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย จานวนทั้งหมด 48 คน วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นปวช. 3/4 ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. เพื่อเพิ่มระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ ให้สูงขึ้น กำรกำหนดประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นปวช. 3/4 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ที่เรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 48 คน สัญลักษณ์ที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองและแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยจึงกาหนดสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ( X ) แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน N แทน ผลรวมคะแนนทั้งหมด =
  • 13. 13 สรุปผลกำรวิจัย พบว่า นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการทดลองใช้แบบฝึกอ่านข่าวภาษาอังกฤษอยู่ที่ 1.79 และแปลผลได้ว่าอยู่ในเกณฑ์ พอใช้ หลังจากทดลองใช้แบบฝึกการอ่านข่าวภาษาอังกฤษจากวารสารแล้ว พบว่า นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ยหลังทดลองอยู่ที่ 3.18 ซึ่งแปลผลได้ว่า นักเรียนมีความสามารถหรือทักษะในการอ่าน ข่าวภาษาอังกฤษอยู่ที่ระดับคะแนน 3.18 ซึ่งแปลผลได้ว่า อยู่ในระดับดีมาก อภิปรำยผล จากการทาวิจัย เรื่อง “กำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำนภำษำอังกฤษโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์วำรสำร หนังสือพิมพ์” ทาให้นักเรียนระดับชั้น ปวช. 3/4 สาขาวิชา ภาษาต่างประเทศ ที่เรียนในรายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับมัคคุเทศก์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการอ่านเพิ่มสูงขึ้นจากการทาข้อสอบ สามารถอ่านภาษาอังกฤษและทาความเข้าใจ เนื้อหาข้อสอบได้ดีขึ้น ข้อเสนอแนะ ในการทาวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. ควรมีคาศัพท์ สานวน ที่ง่ายต่อการอ่านข่าว เพราะข่าวภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาศัพท์ เฉพาะทางของข่าว ซึ่งนักเรียนไม่คุ้นเคยกับคาศัพท์หรือสานวนเหล่านั้น เช่น ออกเสียงลาบากในบางคาศัพท์ ประโยคภาษาอังกฤษในข่าวมีความซับซ้อน จึงอยากให้มีการนาข่าวสั้นๆ ที่เข้าใจง่ายต่อการอ่าน คิด วิเคราะห์
  • 16. 16 ประวัติย่อผู้วิจัย ชื่อ – นามสกุล นายกฤษฎิน ยอดคาตัน วัน เดือน ปีเกิด 5 กรกฎาคม 2529 ที่อยู่ปัจจุบัน 48 หมู่ 2 บ้านเดื่อ ตาบลบ้านเดื่อ อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000 เบอร์โทรที่สามารถติดต่อได้ 086-2544842 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2552 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี พ.ศ. 2547 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.6 ) จากโรงเรียนปรางค์กู่ อาเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2544 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ( ม.3 ) จากโรงเรียนบ้านตาเปียง ตาบลสาโรงปราสาท อาเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ปัจจุบัน ประวัติการทางาน พ.ศ. 2553 – 2554 ตาแหน่ง Night Auditor, Sea San Sun Hotel, Pattaya พ.ศ. 2555 – 2556 ตาแหน่ง ครูสอนภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบัน ตาแหน่ง ครูสอนภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวัดหนองคาย