SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ห น้ า | 1
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์
โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2
รายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
โดย
นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ตาแหน่ง ครูค.ศ.1
วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
ห น้ า | ก
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ของ
นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 รายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย
สารพัดช่างนครราชสีมา และ เพื่อวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้วยด้วยบัตรคา
รูปภาพ (Flash card) โดยกลุ่มตัวอย่าง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.95 ระดับความพึงพอใจ
มากที่สุดได้แก่ ได้รับความรู้ใหม่ๆ มีค่าเฉลี่ย 4.31, ระดับความพึงพอใจรอง ลงมาคือ สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย 4.23 และระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ช่วยให้ผู้เรียนได้ข้อสรุปที่
ถูกต้อง ค่าเฉลี่ย 3.62 ซึ่งมากกว่าค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5
ดังนั้นผู้วิจัยคิดว่าการศึกษาในอนาคตควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนใช้บัตรคารูปภาพ
(Flash card) ในการช่วยจดจาคาศัพท์และึกกการสะกดคามากขึ้น โดยเฉพาะคาศัพท์ในหมวดคอมพิวเตอร์ซึ่ง
เป็นคาศัพท์ที่ผู้เรียนจะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในอนาคต จากการวิจัยนี้เองจึงเป็นประโยชน์กับทางผู้วิจัย
และผู้สอนท่านอื่นในการนาความรู้จากการวิจัยนี้ไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนได้
คาสาคัญ : ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ / บัตรคารูปภาพ (Flash card) / พัฒนา
ห น้ า | ข
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เนื่องด้วยความกรุณา และการให้การสนับสนุนเกี่ยวกับงานวิจัยอย่าง
ดียิ่งจากึ่ายงานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ทั้งหลักการทฤษฎีแนวคิด และให้คาปรึกษา
รวมทั้งข้อปฏิบัติต่างๆ สาหรับการดาเนินการวิจัย ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง จนงานวิจัยเสร็จสมบูรณ์และ
ถูกต้องที่สุด อันเป็นประโยชน์ต่องานวิจัย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบพระคุณอาจารย์สุทัศน์ สังข์สนิท หัวหน้าแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา ที่ให้คาปรึกษา แนวทางและคาแนะนาต่างๆ ช่วยเหลือในการตรวจสอบความสมบูรณ์และความ
ถูกต้อง เพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพมากขึ้น และสุดท้ายนี้ผู้วิจัย ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การอุปการะ
ส่งเสริมสนับสนุน จนทาให้งานวิจัยเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้
นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ผู้วิจัย
ห น้ า | ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ.........................................................................................................................................................ก
กิตติกรรมประกาศ..........................................................................................................................................ข
สารบัญ...........................................................................................................................................................ค
สารบัญตาราง .................................................................................................................................................จ
สารบัญรูปภาพ................................................................................................................................................จ
บทที่ 1 บทนา ................................................................................................................................................1
๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา..............................................................................................1
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย....................................................................................................................1
๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย.......................................................................................................................1
๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย........................................................................................................................1
๑.๕ กรอบแนวคิดในการวิจัย......................................................................................................................2
๑.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้......................................................................................2
๑.7 ขอบเขตของการวิจัย...........................................................................................................................2
๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ................................................................................................................................3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง..........................................................................................................4
2.๑ สื่อกับระบบการเรียนการสอน (Media & Instructional System)................................................4
2.๑.1 ความสาคัญของสื่อกับกระบวนการเรียนการสอน........................................................................5
2.๑.2 ความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน..........................................................................................5
2.๑.3 ประโยชน์และความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน....................................................................5
2.๑.4 ประเภทของสื่อการสอน..............................................................................................................6
2.๑.๕ หลักการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน..........................................................................................6
2.๑.๖ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ..........................................................................................6
2.๑.๗ หลักการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ...............................................................................7
2.๑.๘ ขั้นใช้สื่อการเรียนการสอน.........................................................................................................8
2.2 การใช้รูปภาพเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน.......................................................................8
2.2.1 คุณค่าของรูปภาพ.......................................................................................................................8
2.2.2 หลักการเลือกรูปภาพประกอบการสอน ...................................................................................10
2.2.3 การใช้แฟลชการ์ด (Flashcards)............................................................................................11
2.๓ ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน..................................................................................................12
2.3.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ ....................................................................12
ห น้ า | ง
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง...........................................................................................................................13
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย .....................................................................................................................14
3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ..............................................................................................14
3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ............................................................................................14
3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ....................................................................................................14
3.3.1 การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้................................................................................................14
๓.๓.๒ สร้างแบบวัดความพึงพอใจต่อการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์
คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card)..............................................................................15
๓.๕ การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล..............................................................................16
๓.5.1 วิธีการการวิเคราะห์ผลจากแบบประเมินความพึงพอใจ...........................................................16
บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจัย.....................................................................................................................17
4.1 ผลจากการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง..........................................................................17
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล.......................................................................................................................19
5.1 สรุปผลการวิจัย................................................................................................................................19
5.1.1 ผลจากการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อความพึงพอใจที่มีต่อการพัฒนาทักษะ
การอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card)....19
5.2 อภิปรายผลการวิจัย.........................................................................................................................19
5.3.1 ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้งาน ...............................................................................................20
เอกสารอ้างอิง..............................................................................................................................................21
ภาคผนวก....................................................................................................................................................22
ภาคผนวก ก.ภาพการจัดกิจกรรม............................................................................................................23
ภาคผนวก ข.แบบประเมินความพึงพอใจ.................................................................................................26
ประวัติย่อผู้วิจัย.............................................................................................................................................. 27
ห น้ า | จ
สารบัญตาราง
เรื่อง หน้า
ตารางที่ 1 แสดงระดับค่าเฉลี่ย ( 𝐱) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความพึงพอใจที่มีต่อการ
Error! Bookmark not defined. พัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์
คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card)
ห น้ า | จ
สารบัญรูปภาพ
เรื่อง หน้า
รูปที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย ............................................................................................................2
รูปที่ 2 แผนผังแสดงโครงสร้างระบบการเรียนการสอน ..................................................................................4
รูปที่ 3 รูปภาพแสดงตัวอย่าง Flashcard บัตรคา .......................................................................................11
ห น้ า | ฉ
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตรคา
รูปภาพ (Flash card) ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 รายวิชา
ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
ผู้วิจัย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ตาแหน่ง ครูค.ศ. 1
วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ครุศาสตร์อุสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เอกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
ปริญญาโท (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ)
สถานที่ติดต่อ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย
วันที่เริ่มโครงการ 6 กันยายน 2559
วันที่คาดว่าโครงการจะเสร็จสิ้น 13 กันยายน 2559
ลักษณะผลงาน วิจัยการเรียนการสอน
ห น้ า | 1
บทที่ 1 บทนา
๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา
ภาษาอังกฤษนับว่าเป็นภาษาสากลของโลก ที่ทุกคนให้ความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะตั้งแต่ ในอดีต
จนถึงปัจจุบันภาษาอังกฤษมีความสาคัญและความจาเป็นที่ต้องใช้ โดยเฉพาะการติดต่อสื่อสารไม่ว่าจะเป็นด้าน
การเขียนหรือการพูด อีกทั้งยังเข้ามาเกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ยารักษาโรค
รายการวิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต (internet) สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร เป็นต้น (ทัศนีย์ เทศต้อม, n.d.)
ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์นั้น เป็นการนาคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ
คอมพิวเตอร์มาประยุกต์เพื่ออธิบายเรื่องต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นประวัติของคอมพิวเตอร์, ชื่ออุปกรณ์, หน้าที่และ
ความสาคัญ และขั้นตอนการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ ดังนั้นการที่จะให้นักเรียนสามารถจาคาศัพท์และการ
นาไปประยุกต์ใช้ได้ในการเรียนในแต่ละหน่วยการเรียน จึงถือเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก ดังนั้นการพัฒนา
ศักยภาพในการเรียนภาษาอังกฤษด้านคาศัพท์ของนักเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจาก
ภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา จึงมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในการที่จะทาให้นักเรียนมีความสุข
ในการเรียน สนุกกับกิจกรรม เกิดสมาธิด้วยตัวของกิจกรรม พร้อมทั้งการปฏิสัมพันธ์
ที่ดีของทั้งครูผู้สอนและนักเรียน โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมตั้งแต่เริ่ม จนจบกระบวนการเรียนรู้โดยผ่าน
สื่อที่หลากหลาย เช่น ภาพ เสียง และการเคลื่อนไหวร่างกาย (สกล สรเสนา, n.d.)
ดังนั้นผู้วิจัย จึงได้หาวิธีการในการพัฒนาและเพิ่มเต็มทักษะอ่าน และจดจาความหมายคาศัพท์
ภาษาอังกฤษคอมพิวเตอร์ของนักเรียนในครั้งนี้ ผู้วิจัยจึงเลือกวิธีการสอนการอ่าน และการจดจาความหมาย
คาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยคอมพิวเตอร์ใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) โดยให้นักเรียนสร้างบัตรคารูปภาพเพื่อ
ท่องจาคาศัพท์ ในแต่ละหน่วยเพื่อเก็บสะสมคะแนนในหน่วยนั้นๆ เพื่อหวังว่าจะทาให้นักเรียนมีความ
กระตือรือร้น และสนใจมากขั้น รวมถึงผู้สอนมีวิธีการสอนที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพเพื่อนาไปใช้ต่อไป
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้
บัตรคารูปภาพ (Flash card)
2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยการใช้รูปแบบการเรียนการสอนในการอ่านสะกด
และการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card)
๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้พัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์
คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) มีผลต่อการอ่านและการจดจาความหมาย
คาศัพท์คอมพิวเตอร์อย่างไร
๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย
การศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียน ก่อนใช้สื่อ และหลังใช้สื่อโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้
โดยใช้พัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้บัตรคา
ห น้ า | 2
รูปภาพ (Flash card) ในรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ซึ่งค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ขึ้นไป
๑.๕ กรอบแนวคิดในการวิจัย
รูปที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย
๑.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้
1. ผู้เรียนได้ึกกทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดย
ใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) มีคะแนนหลังใช้บัตรคารูปภาพ สูงกว่าก่อนใช้บัตรคารูปภาพ
2. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการเรียน ในรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
3. ครูผู้สอนได้แนวทางการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ที่ผ่านการวิจัยทดลองใช้แล้วเป็น
แนวทางในการพัฒนาการการสอนต่อไป
๑.7 ขอบเขตของการวิจัย
- ด้านเนื้อหา
การพัฒนาการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้บัตรคา
รูปภาพ (Flash card) ในรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 มีทั้งหมด 2 หน่วยการเรียน ดังนี้
1. เรื่องระบบเครือข่าย (Computer Network)
2. เรื่องอินเตอร์เน็ท (Internet) และ เรื่องจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
การใช้บัตรคารูปภาพ (Flash
card) จานวน 2 หน่วยการเรียน
ดังนี้
1. เรื่องระบบเครือข่าย
(Computer Network)
2. เรื่องอินเตอร์เน็ท
(Internet) และ เรื่องจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
ตัวแปร
ต้น
ระดับความพึงพอใจ
ของนักเรียน ก่อนใช้สื่อ
และหลังใช้สื่อโดยใช้
เทคนิคการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้พัฒนา
ทักษะการอ่านสะกด
และการจดจา
ความหมายคาศัพท์
คอมพิวเตอร์ของ
นักเรียน โดยใช้บัตรคา
รูปภาพ (Flash card)
ตัวแปร
ตาม
ห น้ า | 3
- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เป็นนักเรียนระดับชั้นคธ.2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 14 คน
- ตัวแปรที่ใช้ศึกษา
ตัวแปรต้นได้แก่ บัตรคารูปภาพ (Flash card) คาศัพท์คอมพิวเตอร์จานวน 10 คา
ตัวแปรตามได้แก่ ผลการสอบท่องจาคาศัพท์หลังใช้ บัตรคารูปภาพ (Flash card) ของ
นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50
๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ
1. สภาพการจัดการเรียนการสอน หมายถึง รูปแบบการึกกทักษะโดยใช้การึกกจากการลงมือมี
ปฏิบัติตามขั้นตอนการึกกในใบกิจกรรมหรือแบบึกก เพื่อึกกึนให้ผู้เรียนเกิดทักษะตามจุดประสงค์ของแบบึกก
ทักษะนั้น ๆ ที่ต้องการจะมุ่งเน้น โดยอาศัยรูปแบบการึกกที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิดการ
ึกกึนจากการลงมือปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาอย่างชัดเจน ซึ่งแบบึกกทักษะส่วน
ใหญ่จะสร้างขึ้นประกอบการึกกทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะการปฏิบัติกลุ่มร่วมมือ
2. การพัฒนา หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไว้แล้ว คือการทาให้
ลักษณะเดิมเปลี่ยนไปโดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้ามาแทนที่นั้นจะดีกว่าลักษณะเก่า สภาพเก่า แต่โดย
ธรรมชาติแล้วการเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดปัญหาในตัวมันเอง เพียงแต่ว่าจะมีปัญหามาก หรือปัญหาน้อย “การ
ทาสิ่งๆ หนึ่งให้ดีขึ้นในหลายด้านจนถึงทุกด้าน”
3. ทักษะ หมายถึง ความชานาญ คล่องแคล่วว่องไว ตัวอย่างของการมีทักษะ เช่น ทักษะการเดิน
ทักษะการพูด ทักษะการเคลื่อนไหวร่างกาย
4. การเรียนรู้ หมายถึง การที่ผู้เรียน ได้รับประสบการณ์แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมทั้งด้าน
ความรู้ ทักษะ ในสิ่งที่เรียน
5. บัตรคารูปภาพ (Flash card) หมายถึง แผ่นกระดาษที่มีรูปภาพและคาศัทพ์พร้อมคาอ่านที่ใช้
เป็นสื่อการสอนคาศัพท์คอมพิวเตอร์
6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของผู้เรียนที่มีต่อการใช้โปรแกรมกราฟิก เกี่ยวกับ ความ
ถูกต้องของเนื้อหา รวมทั้คุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งได้มาจากผู้เรียนตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ ซึ่ง
ค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ขึ้นไป
ห น้ า | 4
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้
บัตรคารูปภาพ (Flash card) ในรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ผู้วิจัย
ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
2.๑ สื่อกับระบบการเรียนการสอน (Media & Instructional System)
๒.๑.๑ ความสาคัญของสื่อกับกระบวนการเรียนการสอน
2.๑.๒ ความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน
2.๑.๓ ประโยชน์และความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน
2.๑.๔. ประเภทของสื่อการสอน
2.๑.๕ หลักการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน
2.1.6 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ
2.1.7 หลักการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.8 ขั้นใช้สื่อการเรียนการสอน
2.๒ การใช้รูปภาพเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน
2.2.1 คุณค่าของรูปภาพ
2.2.2 หลักการเลือกรูปภาพประกอบการสอน
2.2.3 การใช้แฟลชการ์ด (Flashcards)
2.๓ ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน
2.3.1 ความหมายของความพึงพอใจ
2.3.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.๑ สื่อกับระบบการเรียนการสอน (Media & Instructional System)
ระบบ (System) ในการนาเอาสื่อและเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการเรียนการสอน ประกอบด้วยองค์
ประกอบต่างๆ เช่น จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ ผู้เรียน สถานที่เรียน แหล่งวิทยาการ วัสดุอุปกรณ์
เป็นต้น โครงสร้างระบบการเรียนการสอนที่มักนิยมนาไปใช้มีดังนี้ (ชัยอนันทร์ นวลสุวรรณ์, n.d.)
รูปที่ 2 แผนผังแสดงโครงสร้างระบบการเรียนการสอน
จุดประสงค์
ประสงค์
การเรียนการสอน การประเมินผล
ปรับปรุงแก้ไข
ห น้ า | 5
2.๑.1 ความสาคัญของสื่อกับกระบวนการเรียนการสอน
คาว่า สื่อ (Media) แตงแต้ว ณ นคร (แตงแต้ว ณ นคร ,- : 55) โดยทั่วไป หมายถึง ตัวกลาง
หรือระหว่าง (Between) ซึ่งในที่นี้ถ้าหมายถึงการสื่อสารแล้ว สื่อจะหมายถึงสื่อต่าง ๆ ที่เป็นการแนะนา
ความรู้หรือสารสนเทศ (Information) ระหว่างผู้สื่อกับผู้รับ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ รูปภาพ วัสดุ
ฉาย สิ่งพิมพ์และอื่น ๆ สิ่งเหล่านี้ ก็คือ สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร แต่เมื่อนาสิ่งเหล่านี้มาใช้ในการเรียนการสอน
แล้ว เราเรียกสิ่งเหล่านี้ว่า สื่อการเรียนการสอน ด้วยเหตุนี้ สื่อการเรียนการสอนจึงมีหน้าที่เป็นพาหนะนา
ความรู้ไปสู่ผู้เรียนในขณะที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คาว่า สื่อการสอน ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า
Instructional Media จึงแยกคาว่าสื่อการสอนออกเป็น 2 คา คือ สื่อ
(Medium เป็นเอกพจน์ Media เป็นพหุพจน์) กับคาว่าการสอน (Instruction) สื่อ (Medium,pl.
Media) เป็นคาที่มาจากภาษาลาตินว่า “ Medium” แปลว่าระหว่าง between หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่
บรรจุข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ สามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ สื่อที่นิยมใช้ประกอบการเรียน
การสอน เช่น สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วิดีโอ แผนภูมิ ภาพนิ่ง เครื่องฉายข้ามศีรษะ (Over head) ซึ่งจะ
กล่าวถึงคุณประโยชน์ วิธีการใช้ ข้อดี ข้อเสีย และวิธีเก็บรักษาสื่อเหล่านี้ในรายละเอียดต่อไป
2.๑.2 ความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน
สื่อการสอนแต่ละชนิดนั้นมีคุณค่าต่อการเรียนการสอนเป็นอย่างยิ่ง ผู้สอนสามารถที่จะเอาสื่อใช้
ประกอบการเรียนการสอนได้ทุกระดับชั้น ตั้งแต่การศึกษาระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในระดับปฐมวัยนั้น การใช้สื่อการเรียนการสอนกับวัยเด็กยิ่งมีความจาเป็นและมีความสาคัญเป็นอย่าง
ยิ่งเพราะเป็นวัยแรกเริ่มแห่งการพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ซึ่งได้กล่าวถึงประโยชน์และความสาคัญของสื่อการ
เรียนการสอนไว้ดังนี้
2.๑.3 ประโยชน์และความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน
1. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้มากและจดจาได้นาน
2. ช่วยให้ผู้เรียนสนใจและมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในกระบวนการเรียนการสอน
3. ช่วยส่งเสริมการคิดเป็นและการแก้ปัญหาใจกระบวนการเรียนของผู้เรียน
4. ช่วยอธิบายสิ่งที่ยากสลับซับซ้อนให้เข้าใจได้ง่าย
5. ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของเอกลักษณ์บุคคลไม่ว่าจะเป็นเด็กเก่งหรือเด็กเรียนช้า
6. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสอนโดยประหยัดเวลาและแรงงาน
7. ทาให้ครูสามารถปับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนได้หลายรูปแบบ
8. ช่วยเพิ่มประสบการณ์ของผู้เรียนให้กว้างขวางมากขึ้น
9. ช่วยแก้ปัญหาข้อจากัดในการเรียนการสอนบางประการ อาทิ เช่น
9.1 ทาสิ่งที่ซับซ้อนให้ง่ายขึ้น
9.2 ทาสิ่งเคลื่อนไหวเร็วให้ช้าลง
9.3 ทาสิ่งเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงช้าให้เร็วขึ้น
9.4 ทาสิ่งที่ใหญ่ให้ย่อขนาดลง
9.5 ทาสิ่งที่เล็กมากให้ขยายใหญ่ขึ้น
9.6 นาอดีตมาศึกษาได้
9.7 ทาสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
ห น้ า | 6
9.8 นาสิ่งที่อยู่ใกล้หรือลี้ลับมาศึกษาได้
10. ช่วยให้นักเรียนเรียนสาเร็จเร็วขึ้นและสอบได้คะแนนมากขึ้น
11. ช่วยให้ความหมายของศัพท์เพิ่มขึ้น
12. พัฒนาความคิดได้ต่อเนื่อง เช่น ภาพยนตร์
13. ถ้าใช้สื่อการสอนอย่างสม่าเสมอ จะสามารถเปลี่ยนความคิด ทัศนคติ ทั้งยังช่วยสร้างทัศนคติ
ให้มั่นคงได้
14. ช่วยให้ผู้เรียนนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
2.๑.4 ประเภทของสื่อการสอน
เอดการ์ เดล (Edgar Dale, 1965, 42 – 43) ได้แบ่งประเภทของสื่อการสอนไว้ 3 ประเภท คือ
1. สื่อประเภทวัสดุ (Software) หมายถึง สื่อที่เก็บความรู้อยู่ในตัวเอง ซึ่งจาแนกย่อยเป็น
2 ลักษณะ คือ
1.1 วัสดุประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยไม่จาเป็นจะต้องอาศัย
อุปกรณ์อื่นช่วย เช่น แผ่นเสียง ลูกโลก รูปภาพ หุ่นจาลอง ฯลฯ
1.2 วัสดุที่ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง จาเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์อื่นช่วย เช่น
แผ่นฟิล์ม ภาพยนต์ สไลด์
2. สื่อประเภทอุปกรณ์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวกลางหรือตัวผ่าน ทาให้ข้อมูลหรือความรู้
ที่บันทึกในวัสดุที่สามารถถ่ายทอดออกมาให้เห็นหรือได้ยิน เช่น เครื่องฉายแผ่นโปร่งใส่เครื่องฉาย
3. สื่อประเภทเทคนิคและวิธีการ (Techniques and Methods) หมายถึง สื่อที่มีลักษณะเป็น
แนวความคิดหรือรูปแบบขั้นตอนในการเรียนการสอน โดยสามารถนาสื่อวัสดุและอุปกรณ์มาใช้ช่วยในการ
สอนได้ เช่น เกม สถานการณ์จาลอง บทบาทสมมุติ และการสาธิต เป็นต้น
2.๑.๕ หลักการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน
การเลือกสื่อในการเรียนการสอนนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญ เป็นหน้าที่ของผู้สอนโดยตรงที่จะต้องใช้
วิจารณญาณ ตัดสินใจเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และเนื้อหาที่จะสอน เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่
ผู้เรียนมากที่สุด โดยผู้สอนจะต้องดาเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ศึกษาเนื้อหาที่จะสอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
2. ตั้งวัตถุประสงค์ในการสอนเนื้อหานั้น ๆ ให้ชัดเจน
3. กาหนดเทคนิคหรือวิธีที่จะสอน
4. กาหนดกิจกรรมในการเรียนการสอน
5. กาหนดชนิดของสื่อที่จะใช้ประกอบการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและเนื้อหาที่จะ
สอน
2.๑.๖ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ
1. สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของบทเรียน
2. ตรงกับเนื้อหาที่จะสอน
3. น่าสนใจ
4. เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
5. สะดวกต่อการใช้ การเคลื่อนย้าย และการเก็บรักษา
ห น้ า | 7
6. สื่อต้องอยู่ในสภาพใช้การได้ดี ไม่ชารุดเสียหาย
7. ต้องมีความถูกต้องตรงกับความเป็นจริง
8. สัมพันธ์กับความเดิมของผู้เรียน
9. เหมาะสมกับเวลา สถานการณ์ และสถานที่
10. ประหยัด ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง คุ้มค่าถ้าจะนามาใช้
11. หาง่าย
12. ปลอดภัย ไม่มีอันตราย ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย
13. แข็งแรงทนทาน
14. ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
15. ถ้าเป็นเครื่องมือ ต้องง่ายต่อการรักษาซ่อมแซมหาอะไหล่ง่าย
2.๑.๗ หลักการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเลือกสื่อหรือผลิตสื่อได้แล้ว มิได้หมายความว่าสื่อนั้น ๆ จะช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุ
เป้าหมายได้ สื่อการสอนที่ถูกคัดเลือกมาอย่างถูกต้อง จะมีคุณค่ายิ่งก็ต่อเมื่อครูมีวิธีการใช้อย่างถูกต้อง
เพราะสื่อแต่ละชนิดมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันออกไป ผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการใช้ จึงจะ
เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน ซึ่งสิริรัตน์ เบาใจ (สิริรัตน์ เบาใจ, 2529 : 161) ได้กล่าวถึงการวางแผน
เตรียมการใช้สื่อ ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้
1. เตรียมตัวผู้สอน
- พิจารณาวัตถุประสงค์ของเนื้อหาก่อนที่จะสอน
- พิจารณาความต้องการและความสนใจของผู้สอน
- ทาความรู้จักกับสื่อแต่ละชนิดที่จะนามาใช้
- วางแผนการใช้สื่อว่า จะใช้อย่างไร ใช้เมื่อใด โดยกาหนดขั้นตอนการใช้อย่างชัดเจน
- ทดลองใช้เพื่อกันการผิดพลาดและเพื่อความมั่นใจ
2. เตรียมตัวผู้เรียน
- การใช้สื่อบางชนิดผู้เรียนอาจต้องเตรียมบางสิ่งบางอย่างมาด้วย หรือเตรียมตนเองก่อนเรียน ซึ่ง
ผู้สอนต้องบอกให้ทราบล่วงหน้า
- เตรียมอ่านเอกสารล่วงหน้า
- การใช้สื่อบางประเภทผู้สอนต้องอธิบายชี้แจง แนะนา เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม หรือสังเกต เช่น
ชี้แจงให้รู้จักเครื่องมือทดลองชี้แจงการบันทึกข้อมูล การระวังอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการทดลอง
ภารกิจที่ต้องทา
- บอกให้ผู้เรียนทราบว่า จะต้องทาอะไรหลังการใช้สื่อนั้น ๆ
3. เตรียมสถานที่
- เตรียมสภาพห้องให้เหมาะสมกับการใช้สื่อ เช่น ถ้าสาธิตควรจะจัดที่นั่งอย่างไร ถ้าเรียนแบบ
ศูนย์การเรียนจะจัดอย่างไร
- ตรวจสภาพความพร้อมต่าง ๆ เช่น ห้องฉาย ระบบไฟ ระบบระบายอากาศ การควบคุมแสง
ภายในห้อง ระบบเสียง
4. จัดเตรียมสื่อ
- ในบทเรียนหนึ่ง ไม่ควรใช้สื่อมากเกินไป ควรใช้เท่าที่จาเป็น
ห น้ า | 8
- ตรวจสอบสภาพของสื่อให้พร้อมก่อนที่จะนาออกใช้
- ตรวจสอบจานวนการใช้งาน
- ทดลองใช้สื่อดูก่อน
- จัดลาดับสื่อที่จะใช้ก่อนหลัง
- สื่อที่นามาใช้ควรมีขนาดใหญ่ เห็นได้ชัดเจน ได้ยินอย่างชัดเจน
- ตัวอักษะ รูปภาพ ข้อวาม ควรมีขนาดเหมาะสม เห็นได้ชัดเจนสวยงาม ชวนดู
2.๑.๘ ขั้นใช้สื่อการเรียนการสอน
- นาเสนอสื่อตามขั้นตอนที่เตรียมไว้ก่อนหลัง ในเวลาที่พอเหมาะไม่เร็วและไม่ช้าจนเกินไป
- พยายามให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้สื่อ
- การอธิบายของครูต้องชัดเจน
- ควบคุมเวลาตามแผนที่วางไว้
- สังเกตการตอบสนองของผู้เรียน
- กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด
- ให้โอกาสผู้เรียนซักถามข้อข้องใจ
- ให้เวลาเผื่อทาความเข้าใจพอสมควร
- ให้ทุกคนมองเห็นอย่างชัดเจน
- พยายามเน้นจุดที่น่าสนใจ
- สอดคล้องกับเรื่องที่กาลังดาเนินการสอนอยู่อย่างแท้จริง
- ขณะที่ใช้อย่ายืนบัง ควรยืนอยู่ด้านข้าง
- การชี้อุปกรณ์ ให้ใช้ไม้ชี้
- เมื่อยังไม่ถึงเวลา ไม่ควรติดหรือแสดงสื่อการสอน เปิดทิ้งไว้ให้เห็นอาจทาให้ความสนใจของ
ผู้เรียนลดลง
- การนาสื่อออกแสดงไม่ควรให้ผู้เรียนรอนานเกินไปเพราะอาจหมดความสนใจเสียก่อน
- เมื่อใช้ผ่านไปแล้วควรเก็บลง เพื่อจะได้ไม่แย่งความสนใจ ในขณะที่ใช้สื่อการสอนอื่น
2.2 การใช้รูปภาพเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน
รูปภาพ (Flat picture) เป็นอุปกรณ์การสอนที่หาได้ง่าย ราคาถูก ครูอาจหารูปภาพได้จากนิตยสาร
หนังสือพิมพ์ ภาพโฆษณา ปฏิทิน ซึ่งมีทั้งภาพสีและขาวดา จัดเป็นทัศนะวัสดุที่มีประโยชน์ต่อการเรียนการ
สอนมาก ทาให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วดีกว่าการบรรยายหรืออธิบายเพียงอย่างเดียว
2.2.1 คุณค่าของรูปภาพ
จากผลการวิจัยเกี่ยวกับรูปภาพยืนยันถึงคุณค่าของรูปภาพที่มีต่อการเรียนการสอนหลายประการ คือ
1. เป็นจุดรวมความสนใจของผู้ดูและทาให้มีประสบการณ์ร่วมกัน
2. ช่วยทาให้เข้าใจบทเรียนได้ง่าย จาได้รวดเร็ว เป็นตัวเสริมแรงทาให้บทเรียนน่าสนใจ
3. ช่วยเปลี่ยนทัศนคติของผู้ดูได้ แก้รอยประทับใจที่ผิดได้
ห น้ า | 9
4. สามารถจาลองสิ่งที่เป็นจริงมาศึกษารายละเอียดได้ จะใช้เวลาศึกษานานเท่าไรก็ได้ เช่น รูปภาพ
ที่ถ่ายจากดาวอังคารหรือดวงจันทร์
5. สามารถนาสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวมาศึกษาได้
6. ช่วยทาความเข้าใจในสิ่งที่อ่านให้สมบูรณ์ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
7. ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น ได้ตอบคาถามโดยอ่านจากภาพ ช่วยทาภาพมาจัดป้าย
นิเทศ จากการเรียนเนื้อหาบางเรื่องแล้ว มีส่วนร่วมในการอภิปราย
8. ช่วยทาประสบการณ์นามธรรมให้เป็นรูปธรรม
9. ราคาถูก หาซื้อได้ง่าย สามารถดัดแปลงให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของบทเรียนได้ง่าย
10. แปรสภาพเป็นสื่อได้หลายรูปแบบ เช่น เป็นภาพผนึกเป็นชิ้นส่วนที่ใช้ติดกับแผ่นป้าย ผ้าสาลี
สมุดภาพ นาไปตกแต่งป้ายนิเทศ ฯลฯ
11. ครอบคลุมเนื้อหาหลายวิชา
12. เหมาะที่จะใช้กับผู้เรียนทั้งหลายบุคคล กลุ่มเล็ก และทั้งห้องเรียน
13. ใช้ร่วมกับสื่ออื่น ๆ ได้เกือบทุกชนิด
14. นาเรื่องราวและเหตุการณ์ในอดีตมาศึกษาได้
15. ช่วยเน้นรายละเอียดทาให้มองเห็นความซับซ้อนได้
16. ใช้ได้ทุกขั้นตอนของการเรียนการสอน (ขั้นนา ขั้นสอน สรุป วัดผล) สุดแต่จะใช้
17. เป็นแหล่งข้อมูลใช้สาหรับศึกษาค้นคว้าได้ทุกยุคสมัย
18. สามารถนาเอาสิ่งที่เร้นลับ สิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่ามาศึกษา
ข้อจากัดของรูปภาพ
1. ชารุดฉีกขาดได้ง่าย ถ้าจะเก็บไว้ในระยะยาว ต้องผนึกบนกระดาษแข็ง
2. ด้อยกว่าการใช้ของจริงหรือหุ่นจาลอง เพราะขาดมิติของความลึก
3. อยู่ในลักษณะนิ่งขาดการเคลื่อนไหว
ลักษณะของรูปภาพที่เด็กชอบดู
จากการวิจัยหลาย ๆ ชิ้นที่พยายามศึกษาถึงรูปแบบ ขนาด สี ของภาพที่เด็กชอบดู พอสรุปได้
ดังนี้
1. เด็กเล็กจะชอบภาพง่าย ๆ แต่เมื่อโตขึ้นจะสนใจภาพที่มีความสลับซับซ้อนขึ้นตามลาดับ
2. เด็กชอบภาพสีมากกว่าภาพขาวดา
3. ชอบภาพสีที่ใช้สีเลียนแบบธรรมชาติ
4. ชอบภาพที่มีการแสดงอาการเคลื่อนไหวอยู่นาน เช่น คนกาลังวิ่ง ต้นไม้กาลังล้ม คนกาลังทาท่า
น้าวธนูจะยิง
5. ชอบภาพที่เกี่ยวข้อกับประสบการณ์เดิมของตน
6. ชอบดูภาพที่มีขนาดใหญ่ เพราะเห็นชัดเจนกว่า
7. ชอบภาพที่เป็นไปตามความจริงมากกว่าภาพประดิษฐ์
8. ชอบภาพที่แสดงให้เห็นถึงการกระทาหรือเรื่องราวต่อเนื่องกัน
ลักษณะการมองภาพ
1. ทุกคนชอบมองภาพสีมากกว่าภาพขาวดา
2. ผู้ดูภาพแต่ละคนจะมองเห็นสิ่งที่อยู่ในภาพเดียวกันได้แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นกับประสบการณ์เดิม
ของผู้ดูแต่ละคน ทัศนคติ ความรู้สึกส่วนตัว
ห น้ า | 10
3. ครั้งแรกที่เห็นภาพจะมองรวม ๆ ก่อน แล้วจึงพิจารณาจุดที่น่าสนใจและรายละเอียดในลาดับ
ต่อมา
4. ผู้ดูภาพที่ได้รับการแนะนาล่วงหน้าจะเห็นในสิ่งที่ต้องการได้มากกว่าให้ดูเองโดยไม่ให้คาแนะนา
5. ส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มที่จะมองภาพบริเวณซ้ายบนมากที่สุด รองลงมาก็คือ ซ้ายล่าง ขวาบน และ
ขวาล่าง ตามลาดับ ( เพราะเราอ่านจากซ้ายไปขวานั่นเอง )
2.2.2 หลักการเลือกรูปภาพประกอบการสอน
เมื่อได้ทราบถึงลักษณะการมองภาพของตน และภาพที่เด็กชอบดูแล้วก็ควรนาความรู้หรือข้อเท็จจริง
นี้มาใช้ในการพิจารณาในการเลือกภาพ เพื่อนามาประกอบการสอน
1. ตรงกับจุดประสงค์ของเนื้อหาที่จะสอนและสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอน
2. เหมาะกับวัย ระดับชั้นของผู้เรียน
3. เกี่ยวข้องกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
4. รูปภาพที่เป็นจริง เหมือนจริง
5. แสดงเรื่องที่สาคัญเพียงอย่างเดียว
6. ถ้าเป็นสิ่งที่อยู่ไกลตัว ไม่เคยเห็นมาก่อน ควรมีสิ่งที่สามารถให้ผู้ดูเทียบเคียงขนาดที่แท้จริงของ ๆ
สิ่งนั้นอยู่ในภาพด้วย เพื่อให้ผู้ดูเข้าใจขนาดที่ถูกต้อง
7. เลือกภาพที่มีการจัดภาพหรือการประกอบภาพที่น่าสนใจ
8. เลือกใช้ภาพสีถ้าเห็นว่าภาพสีจะช่วยสื่อความหมายได้ดีกว่า
9. ภาพวาดจะเน้นรายละเอียดได้มากกว่าภาพถ่ายในกรณีที่ภาพมีความซับซ้อน
10. ถ้าใช้ในห้องเรียนควรมีขนาดใหญ่พอที่จะมองเห็นได้ทั่วห้อง(ขนาด 8x10 นิ้ว)
11. ในการสอนแต่ละครั้ง ควรเลือกใช้ภาพที่สื่อความหมายได้ดีที่สุดไม่จาเป็นต้องใช้หลาย ๆ ภาพ
12. มีความเกี่ยวพันหรือใกล้เคียงกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ยิ่งทาให้ผู้ดูอ่านความหมายได้
ถูกต้อง
เมื่อตัดสินใจว่าจะเลือกใช้ภาพใดแล้ว ก็เป็นหน้าที่ของครูที่จะหาวิธีการที่ดีที่สุดในการใช้ภาพนั้น
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด โดยใช้เกณฑ์ดังนี้
1. ไม่ควรให้ดูหลาย ๆ ภาพพร้อม ๆ กันอาจทาให้ผู้ดู สับสนและเกิดความคิดรวบยอด สู้ภาพเดียวที่
ตรงจุดหมายไม่ได้
2. ใช้ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมไม่เร็วหรือช้าจนเกินไป และอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจก่อนที่จะผ่านไปยัง
ภาพอื่น
3. พยายามพิจารณาใช้รูปภาพร่วมกับสื่อชนิดอื่นด้วย เช่น อาจใช้ควบคู่กับแผนภูมิ แผนสถิติ ของ
จริง เทป เพราะรูปภาพเพียงอย่างเดียวไม่สามารถถ่ายทอดความหมายให้กับผู้เรียนได้อย่างสมบูรณ์
4. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการใช้ภาพด้วย เช่น ได้ตอบคาถาม ได้อภิปรายได้ตอบได้
5. วางแผนการใช้ล่วงหน้าว่าจะได้ภาพนั้นเพื่ออะไร เมื่อไร อย่างไร
- ถ้าใช้นาเข้าสู่บทเรียนควรนาภาพให้นักเรียนดู แล้วใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กตอบหรือพูดคุย
เกี่ยวกับภาพนั้น
- ถ้าใช้ประกอบการเรียนการสอนให้ใช้วิธีการอธิบายแสดงภาพให้ดูให้ได้พิจารณารายละเอียด
พร้อมทั้งทาความเข้าใจไปด้วย
- ถ้าใช้รูปให้นาภาพทั้งหมดออกแสดงตามลาดับ ครูอาจเป็นผู้สรุปหรือให้นักเรียนช่วยกันสรุปได้
ห น้ า | 11
- ถ้าใช้วัดผลควรนาภาพออกแสดงแล้วให้เด็กตอบคาถาม เพื่อให้ได้คาตอบที่ครูต้องการ สังเกต
จากปฏิกิริยาตอบสนองของผู้เรียน
6. แนะนาวิธีอ่านหรือดูภาพแก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นรายละเอียดที่ต้องการ
7. ควรเลือกวิธีการดูรูปภาพให้เหมาะสมที่สุด เช่น อาจใช้วิธีติดบนกระดานถือแล้วแสดงให้ดูที่หน้า
ชั้นเรียน ให้ดูเป็นกลุ่มหรือใช้เครื่องฉายภาพทึบแสงฉายให้ดู
8. บางครั้งอาจใช้ภาพกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เช่น ให้ผู้เรียนสร้างเรื่องประกอบภาพ
9. ใช้ภาพให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้และทดสอบความเข้าใจของนักเรียนที่ได้จากรูปภาพทุกครั้งที่
ใช้ประกอบการสอน
10. ครูจะต้องระลึกอยู่เสมอว่า เฉพาะตัวรูปภาพเองไม่ช่วยให้เกิดความเข้าใจหรือความทรงจามาก
นัก แต่รูปภาพจะมีคุณค่าในการเรียนการสอนได้มากก็ต่อเมื่อครูนามาใช้ได้อย่างถูกวิธี และใช้คาพูด
คาอธิบายได้อย่างเหมาะสม
11. บอกขนาดที่แท้จริงของสิ่งที่เห็นในภาพนั้นแก่นักเรียนด้วย เพื่อความเข้าใจอันถูกต้อง
12. ภาพที่แสดงให้ดูในช่วงการเรียนการสอนแล้ว เมื่อเลิกสอนครูอาจนาไปจัดแสดงไว้บนป้ายนิเทศ
ให้นักเรียนได้ศึกษาต่อนอกเวลาเรียนก็ได้
2.2.3 การใช้แฟลชการ์ด (Flashcards)
Flashcard บัตรคา เป็นเครื่องมือช่วยจา เทคนิค Flashcard แพร่หลายมากในต่างประเทศ เพราะ
นอกจากจะช่วยจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่ยากๆ แล้ว สามารถต่อยอดไปใช้กับวิชาอื่นๆ ได้ด้วย อย่างเช่น
ช่วยจาสูตรเคมี สูตรคณิตศาสตร์ต่างๆ หรือวันเดือนปีที่สาคัญในประวัติศาสตร์ ที่อาศัยการจาบัตรคาเป็นวิธี
ท่องคาศัพท์ที่ง่ายและสามารถพกพาไปไหนสะดวก แถมยังสนุกกว่าด้วย เมื่อเทียบกับการต้องท่องศัพท์ตาม
สมุดจดคาศัพท์ หรือชีทคาศัพท์ที่ให้คาศัพท์มาทีละ 100 คา 200 คา นอกจากจะท่องคนเดียวแล้ว ยังชวน
พ่อแม่พี่น้องมาช่วยถือ ช่วยเราทายคาศัพท์ ก็สร้างความอบอุ่น สนิทสนม สนุกสนาน เป็นบรรยากาศดีๆ ทาให้
เราสนุกกับการท่องคาศัพท์ไปด้วย (“Flashcard บัตรคา เป็นเครื่องมือช่วยจา,” 2014) ดังรูปที่ 1
รูปที่ 3 รูปภาพแสดงตัวอย่าง Flashcard บัตรคา
ห น้ า | 12
2.๓ ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน
2.3.1 ความหมายของความพึงพอใจ
การจัดการเรียนการสอนให้ประสบความสาเร็จนอกจากจะวัดลักษณะด้านพุทธิพิสัยของนักเรียนแล้ว
ผู้สอนจะต้องคานึงถึงผลทางด้านจิตพิสัยซึ่งเป็นความพึงพอใจของนักเรียนด้วยเพราะถ้าผู้เรียนมีความพึงพอใจ
ต่อการเรียนการสอนแล้วย่อมส่งผลถึงประสิทธิภาพในการเรียนการสอนด้วยซึ่งจากการศึกษาเกี่ยวกับความพึง
พอใจนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ได้ดังนี้
[วอลเลอร์สเตน (Wallerstein, 1971: 112)] ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึง
พอใจหมายถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย” [กู๊ด (Good, 1973: 518)] ให้
ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึงพอใจหมายถึงคุณภาพสภาพหรือระดับความพึงพอใจซึ่งเป็นผล
จากความสนใจต่างๆและทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง”
[โวแมน (Wolman, 1973 : 217)]ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึงพอใจหมายถึง
ความรู้สึกเมื่อได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมายความต้องการหรือแรงจูงใจ” จากความหมายของความพึง
พอใจข้างต้นสรุปได้ว่าความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกของบุคคลต่อผลของสิ่งเร้าต่างๆที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ได้รับและอาจจะมีความรู้สึกหรือทัศนคติในทางที่ดีหรือไม่ดีก็ได้ดังนั้นความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนจึง
หมายถึงความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบและกิจกรรมการเรียนการสอนในด้านต่างๆเช่นบรรยากาศการ
เรียนการสอนลักษณะของกิจกรรมวิธีการประเมินผลเป็นต้น
2.3.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ
การสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งบรรยากาศที่ดีอาจ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตที่ดีมีความพึงพอใจและตั้งใจที่จะเรียนบรรยากาศในการเรียนการสอนโดยเน้นชั้น
เรียนเป็นตัวแปรที่สาคัญที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้การเรียนดีขึ้น
[พิมพันธ์เดชะคุปต์ (2544 : 257)]ได้ให้ความหมายความสาคัญของบรรยากาศในการเรียนการสอน
ไว้ 2 ประเภทคือ
1. บรรยากาศทางกายภาพคือการสร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่ดีในห้องเรียนมีผลต่อการเรียนการ
สอนและต่อเจตคติที่ดีของผู้เรียนซึ่งลักษณะของห้องเรียนที่มีบรรยากาศทางกายภาพเหมาะสมควรมีรูปแบบ
คือมีสีสันน่าดูและเหมาะสมสบายตาอากาศถ่ายเทได้ดีปราศจากเสียงรบกวนและมีขนาดกว้างเพียงพอกับจาน
วนนักเรียน
2. บรรยากาศทางจิตใจคือการเรียนการสอนจะดาเนินอย่างมีชีวิตชีวาและราบรื่นนั้นผู้เรียนกับผู้เรียน
และผู้สอนกับผู้เรียนต้องมีความสัมพันธ์และร่วมมือกันอย่างไม่มีความหวาดระแวงกันสิ่งดังกล่าวครูผู้สอนต้อง
มีวิธีการเสริมแรงอย่างเช่นการเสริมแรงทางด้านภาษาและท่าทางคือการกล่าวชมดีดีมากน่าสนใจถูกต้องควร
ปรับปรุงการตั้งใจฟังการปรบมือการใช้สายตาแสดงความสนใจความพึงพอใจและอีกอย่างหนึ่งคือการเสริมแรง
ด้วยการให้รางวัลและสัญลักษณ์ต่างๆคือการให้วัตถุสิ่งของการนาผลงานมาแสดงยกย่องและการใช้
เครื่องหมายดีเด่น
ห น้ า | 13
ดังนั้นผู้สอนจะต้องจัดหาสิ่งจูงใจต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนให้ได้รับความพึงพอใจ
เช่นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่จะส่งผลให้บรรยากาศการเรียนการสอนไม่น่าเบื่อหน่ายเป็นต้นจะเห็นได้ว่าใน
การจัดการเรียนการสอนที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนจนทาให้ประสิทธิภาพในการ
เรียนสูงขึ้นผู้สอนจะต้องคานึงถึงความต้องการของผู้เรียนด้านความรู้สึกทัศนคติที่เป็นเรื่องของจิตใจควบคู่ไป
ด้วยในการวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนสามารถวัดได้หลายวิธีเช่นการสังเกตการสัมภาษณ์การใช้
แบบสอบถามเป็นต้นสาหรับการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการ
สอนโดยการใช้บทเรียนออนไลน์
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ณภัทริน เภาพานและคณะ ได้ทาการศึกษา เรื่องการศึกษาผลของการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษโดย
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจากภาพประกอบ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา สาหรับนักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี จังหวัดร้อยเอ็ด การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก
เพื่อศึกษาผลของการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจาก
ภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา ประการที่สอง ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การจาคาศัพท์
ภาษาอังกฤษก่อนและหลังการใช้รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจากภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุ
ปัญญา และประการที่สาม ศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยการใช้
รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจากภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย
คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/6 สาขาวิชาพณิชยการ โรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี
จังหวัดร้อยเอ็ด ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จานวน 31
คน ที่ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ และแบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียน
การสอนเน้นความจาจากภาพประกอบ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา การวิจัยนี้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยค่าที ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจา
จากภาพประกอบ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.64/84.43 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่
กาหนดคือ 75/75 ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index : E.I.) ของการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียน
การสอนเน้นความจาจากภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา เท่ากับ 0.40 แสดงว่ารูปแบบการเรียนการ
สอนเน้นความจาจากภาพประกอบ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา ทาให้นักเรียนมีความสามารถในการจาคาศัพท์
ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจาก
ภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญาอยู่ในระดับมาก
ห น้ า | 14
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย
งานวิจัยครั้งนี้ เป็นงานวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์
คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2
รายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ผู้วิจัยได้ดาเนินตามขั้นตอนดังนี้
3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.2 กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล
3.5 การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.1 ศึกษาข้อมูลหนังสือเอกสารวารสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับทฤษฏีความพึงพอใจและการ
สร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ
1.2 ศึกษาหลักสูตรวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นปีที่ 2 และแผนการจัดการเรียนรู้ ทั้ง 2 หน่วยการเรียน
1.3 ศึกษาข้อมูลหนังสือ, เว็บไซต์ เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนการสอนแบบวิธีการใช้บัตรคารูปภาพ
(Flash card) ประกอบการสอน
1.4 ศึกษาหลักการและวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card)
3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้เลือกแบบเจาะจงโดยเลือกนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 แผนก
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 14 คน
3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้
1. แผนการจัดการเรียนรู้ มีจานวน 2 แผนการเรียนรู้ เวลา 12 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที 1: เรื่องระบบเครือข่าย (Computer Network)
แผนการจัดการเรียนรู้ที 2: เรื่องอินเตอร์เน็ท (Internet) และ เรื่องจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
(E-mail)
2. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนการสอน จานวน 1 ชุด
3.3.1 การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้
ซึ่งผู้วิจัยได้ ดาเนินตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ปรับปรุง
2546
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards
Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards

More Related Content

What's hot

วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slidesharenunawanna
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signskanpapruk
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง OccupationsChamchuree88
 
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...ssuserd8430c
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 

What's hot (20)

วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
 
daily routine
daily routine daily routine
daily routine
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 

More from Mjjeje Mint

การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...Mjjeje Mint
 
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...Mjjeje Mint
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...Mjjeje Mint
 
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...Mjjeje Mint
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์Mjjeje Mint
 
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLMjjeje Mint
 

More from Mjjeje Mint (7)

การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
 
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
 
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
 
Calender
CalenderCalender
Calender
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
 
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
 

Recently uploaded

Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceRoles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceSamikshaHamane
 
Full Stack Web Development Course for Beginners
Full Stack Web Development Course  for BeginnersFull Stack Web Development Course  for Beginners
Full Stack Web Development Course for BeginnersSabitha Banu
 
Incoming and Outgoing Shipments in 3 STEPS Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 3 STEPS Using Odoo 17Incoming and Outgoing Shipments in 3 STEPS Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 3 STEPS Using Odoo 17Celine George
 
What is Model Inheritance in Odoo 17 ERP
What is Model Inheritance in Odoo 17 ERPWhat is Model Inheritance in Odoo 17 ERP
What is Model Inheritance in Odoo 17 ERPCeline George
 
How to do quick user assign in kanban in Odoo 17 ERP
How to do quick user assign in kanban in Odoo 17 ERPHow to do quick user assign in kanban in Odoo 17 ERP
How to do quick user assign in kanban in Odoo 17 ERPCeline George
 
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginnersDATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginnersSabitha Banu
 
INTRODUCTION TO CATHOLIC CHRISTOLOGY.pptx
INTRODUCTION TO CATHOLIC CHRISTOLOGY.pptxINTRODUCTION TO CATHOLIC CHRISTOLOGY.pptx
INTRODUCTION TO CATHOLIC CHRISTOLOGY.pptxHumphrey A Beña
 
Earth Day Presentation wow hello nice great
Earth Day Presentation wow hello nice greatEarth Day Presentation wow hello nice great
Earth Day Presentation wow hello nice greatYousafMalik24
 
Science 7 Quarter 4 Module 2: Natural Resources.pptx
Science 7 Quarter 4 Module 2: Natural Resources.pptxScience 7 Quarter 4 Module 2: Natural Resources.pptx
Science 7 Quarter 4 Module 2: Natural Resources.pptxMaryGraceBautista27
 
Difference Between Search & Browse Methods in Odoo 17
Difference Between Search & Browse Methods in Odoo 17Difference Between Search & Browse Methods in Odoo 17
Difference Between Search & Browse Methods in Odoo 17Celine George
 
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️9953056974 Low Rate Call Girls In Saket, Delhi NCR
 
How to Add Barcode on PDF Report in Odoo 17
How to Add Barcode on PDF Report in Odoo 17How to Add Barcode on PDF Report in Odoo 17
How to Add Barcode on PDF Report in Odoo 17Celine George
 
Judging the Relevance and worth of ideas part 2.pptx
Judging the Relevance  and worth of ideas part 2.pptxJudging the Relevance  and worth of ideas part 2.pptx
Judging the Relevance and worth of ideas part 2.pptxSherlyMaeNeri
 
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTiammrhaywood
 
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptxGas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptxDr.Ibrahim Hassaan
 
Inclusivity Essentials_ Creating Accessible Websites for Nonprofits .pdf
Inclusivity Essentials_ Creating Accessible Websites for Nonprofits .pdfInclusivity Essentials_ Creating Accessible Websites for Nonprofits .pdf
Inclusivity Essentials_ Creating Accessible Websites for Nonprofits .pdfTechSoup
 

Recently uploaded (20)

Model Call Girl in Tilak Nagar Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
Model Call Girl in Tilak Nagar Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝Model Call Girl in Tilak Nagar Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
Model Call Girl in Tilak Nagar Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
 
Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in PharmacovigilanceRoles & Responsibilities in Pharmacovigilance
Roles & Responsibilities in Pharmacovigilance
 
Full Stack Web Development Course for Beginners
Full Stack Web Development Course  for BeginnersFull Stack Web Development Course  for Beginners
Full Stack Web Development Course for Beginners
 
Incoming and Outgoing Shipments in 3 STEPS Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 3 STEPS Using Odoo 17Incoming and Outgoing Shipments in 3 STEPS Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 3 STEPS Using Odoo 17
 
What is Model Inheritance in Odoo 17 ERP
What is Model Inheritance in Odoo 17 ERPWhat is Model Inheritance in Odoo 17 ERP
What is Model Inheritance in Odoo 17 ERP
 
How to do quick user assign in kanban in Odoo 17 ERP
How to do quick user assign in kanban in Odoo 17 ERPHow to do quick user assign in kanban in Odoo 17 ERP
How to do quick user assign in kanban in Odoo 17 ERP
 
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginnersDATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
 
INTRODUCTION TO CATHOLIC CHRISTOLOGY.pptx
INTRODUCTION TO CATHOLIC CHRISTOLOGY.pptxINTRODUCTION TO CATHOLIC CHRISTOLOGY.pptx
INTRODUCTION TO CATHOLIC CHRISTOLOGY.pptx
 
Earth Day Presentation wow hello nice great
Earth Day Presentation wow hello nice greatEarth Day Presentation wow hello nice great
Earth Day Presentation wow hello nice great
 
Raw materials used in Herbal Cosmetics.pptx
Raw materials used in Herbal Cosmetics.pptxRaw materials used in Herbal Cosmetics.pptx
Raw materials used in Herbal Cosmetics.pptx
 
Science 7 Quarter 4 Module 2: Natural Resources.pptx
Science 7 Quarter 4 Module 2: Natural Resources.pptxScience 7 Quarter 4 Module 2: Natural Resources.pptx
Science 7 Quarter 4 Module 2: Natural Resources.pptx
 
Difference Between Search & Browse Methods in Odoo 17
Difference Between Search & Browse Methods in Odoo 17Difference Between Search & Browse Methods in Odoo 17
Difference Between Search & Browse Methods in Odoo 17
 
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
 
How to Add Barcode on PDF Report in Odoo 17
How to Add Barcode on PDF Report in Odoo 17How to Add Barcode on PDF Report in Odoo 17
How to Add Barcode on PDF Report in Odoo 17
 
Judging the Relevance and worth of ideas part 2.pptx
Judging the Relevance  and worth of ideas part 2.pptxJudging the Relevance  and worth of ideas part 2.pptx
Judging the Relevance and worth of ideas part 2.pptx
 
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
 
LEFT_ON_C'N_ PRELIMS_EL_DORADO_2024.pptx
LEFT_ON_C'N_ PRELIMS_EL_DORADO_2024.pptxLEFT_ON_C'N_ PRELIMS_EL_DORADO_2024.pptx
LEFT_ON_C'N_ PRELIMS_EL_DORADO_2024.pptx
 
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptxGas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
Gas measurement O2,Co2,& ph) 04/2024.pptx
 
YOUVE_GOT_EMAIL_PRELIMS_EL_DORADO_2024.pptx
YOUVE_GOT_EMAIL_PRELIMS_EL_DORADO_2024.pptxYOUVE_GOT_EMAIL_PRELIMS_EL_DORADO_2024.pptx
YOUVE_GOT_EMAIL_PRELIMS_EL_DORADO_2024.pptx
 
Inclusivity Essentials_ Creating Accessible Websites for Nonprofits .pdf
Inclusivity Essentials_ Creating Accessible Websites for Nonprofits .pdfInclusivity Essentials_ Creating Accessible Websites for Nonprofits .pdf
Inclusivity Essentials_ Creating Accessible Websites for Nonprofits .pdf
 

Developing Computer Vocabulary Skills with Flashcards

  • 1. ห น้ า | 1 รายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 รายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โดย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ตาแหน่ง ครูค.ศ.1 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ห น้ า | ก บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนา ทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 รายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย สารพัดช่างนครราชสีมา และ เพื่อวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้วยด้วยบัตรคา รูปภาพ (Flash card) โดยกลุ่มตัวอย่าง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.95 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุดได้แก่ ได้รับความรู้ใหม่ๆ มีค่าเฉลี่ย 4.31, ระดับความพึงพอใจรอง ลงมาคือ สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย 4.23 และระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ช่วยให้ผู้เรียนได้ข้อสรุปที่ ถูกต้อง ค่าเฉลี่ย 3.62 ซึ่งมากกว่าค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ดังนั้นผู้วิจัยคิดว่าการศึกษาในอนาคตควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ในการช่วยจดจาคาศัพท์และึกกการสะกดคามากขึ้น โดยเฉพาะคาศัพท์ในหมวดคอมพิวเตอร์ซึ่ง เป็นคาศัพท์ที่ผู้เรียนจะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในอนาคต จากการวิจัยนี้เองจึงเป็นประโยชน์กับทางผู้วิจัย และผู้สอนท่านอื่นในการนาความรู้จากการวิจัยนี้ไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนได้ คาสาคัญ : ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ / บัตรคารูปภาพ (Flash card) / พัฒนา
  • 3. ห น้ า | ข กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เนื่องด้วยความกรุณา และการให้การสนับสนุนเกี่ยวกับงานวิจัยอย่าง ดียิ่งจากึ่ายงานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ทั้งหลักการทฤษฎีแนวคิด และให้คาปรึกษา รวมทั้งข้อปฏิบัติต่างๆ สาหรับการดาเนินการวิจัย ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง จนงานวิจัยเสร็จสมบูรณ์และ ถูกต้องที่สุด อันเป็นประโยชน์ต่องานวิจัย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณอาจารย์สุทัศน์ สังข์สนิท หัวหน้าแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ที่ให้คาปรึกษา แนวทางและคาแนะนาต่างๆ ช่วยเหลือในการตรวจสอบความสมบูรณ์และความ ถูกต้อง เพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพมากขึ้น และสุดท้ายนี้ผู้วิจัย ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การอุปการะ ส่งเสริมสนับสนุน จนทาให้งานวิจัยเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ผู้วิจัย
  • 4. ห น้ า | ค สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ.........................................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกาศ..........................................................................................................................................ข สารบัญ...........................................................................................................................................................ค สารบัญตาราง .................................................................................................................................................จ สารบัญรูปภาพ................................................................................................................................................จ บทที่ 1 บทนา ................................................................................................................................................1 ๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา..............................................................................................1 ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย....................................................................................................................1 ๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย.......................................................................................................................1 ๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย........................................................................................................................1 ๑.๕ กรอบแนวคิดในการวิจัย......................................................................................................................2 ๑.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้......................................................................................2 ๑.7 ขอบเขตของการวิจัย...........................................................................................................................2 ๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ................................................................................................................................3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง..........................................................................................................4 2.๑ สื่อกับระบบการเรียนการสอน (Media & Instructional System)................................................4 2.๑.1 ความสาคัญของสื่อกับกระบวนการเรียนการสอน........................................................................5 2.๑.2 ความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน..........................................................................................5 2.๑.3 ประโยชน์และความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน....................................................................5 2.๑.4 ประเภทของสื่อการสอน..............................................................................................................6 2.๑.๕ หลักการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน..........................................................................................6 2.๑.๖ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ..........................................................................................6 2.๑.๗ หลักการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ...............................................................................7 2.๑.๘ ขั้นใช้สื่อการเรียนการสอน.........................................................................................................8 2.2 การใช้รูปภาพเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน.......................................................................8 2.2.1 คุณค่าของรูปภาพ.......................................................................................................................8 2.2.2 หลักการเลือกรูปภาพประกอบการสอน ...................................................................................10 2.2.3 การใช้แฟลชการ์ด (Flashcards)............................................................................................11 2.๓ ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน..................................................................................................12 2.3.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ ....................................................................12
  • 5. ห น้ า | ง 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง...........................................................................................................................13 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย .....................................................................................................................14 3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ..............................................................................................14 3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ............................................................................................14 3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ....................................................................................................14 3.3.1 การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้................................................................................................14 ๓.๓.๒ สร้างแบบวัดความพึงพอใจต่อการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์ คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card)..............................................................................15 ๓.๕ การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล..............................................................................16 ๓.5.1 วิธีการการวิเคราะห์ผลจากแบบประเมินความพึงพอใจ...........................................................16 บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจัย.....................................................................................................................17 4.1 ผลจากการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง..........................................................................17 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล.......................................................................................................................19 5.1 สรุปผลการวิจัย................................................................................................................................19 5.1.1 ผลจากการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อความพึงพอใจที่มีต่อการพัฒนาทักษะ การอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card)....19 5.2 อภิปรายผลการวิจัย.........................................................................................................................19 5.3.1 ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้งาน ...............................................................................................20 เอกสารอ้างอิง..............................................................................................................................................21 ภาคผนวก....................................................................................................................................................22 ภาคผนวก ก.ภาพการจัดกิจกรรม............................................................................................................23 ภาคผนวก ข.แบบประเมินความพึงพอใจ.................................................................................................26 ประวัติย่อผู้วิจัย.............................................................................................................................................. 27
  • 6. ห น้ า | จ สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตารางที่ 1 แสดงระดับค่าเฉลี่ย ( 𝐱) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความพึงพอใจที่มีต่อการ Error! Bookmark not defined. พัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์ คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card)
  • 7. ห น้ า | จ สารบัญรูปภาพ เรื่อง หน้า รูปที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย ............................................................................................................2 รูปที่ 2 แผนผังแสดงโครงสร้างระบบการเรียนการสอน ..................................................................................4 รูปที่ 3 รูปภาพแสดงตัวอย่าง Flashcard บัตรคา .......................................................................................11
  • 8. ห น้ า | ฉ ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตรคา รูปภาพ (Flash card) ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 รายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ผู้วิจัย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ตาแหน่ง ครูค.ศ. 1 วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ครุศาสตร์อุสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เอกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์) ปริญญาโท (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ) สถานที่ติดต่อ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย วันที่เริ่มโครงการ 6 กันยายน 2559 วันที่คาดว่าโครงการจะเสร็จสิ้น 13 กันยายน 2559 ลักษณะผลงาน วิจัยการเรียนการสอน
  • 9. ห น้ า | 1 บทที่ 1 บทนา ๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา ภาษาอังกฤษนับว่าเป็นภาษาสากลของโลก ที่ทุกคนให้ความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะตั้งแต่ ในอดีต จนถึงปัจจุบันภาษาอังกฤษมีความสาคัญและความจาเป็นที่ต้องใช้ โดยเฉพาะการติดต่อสื่อสารไม่ว่าจะเป็นด้าน การเขียนหรือการพูด อีกทั้งยังเข้ามาเกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ยารักษาโรค รายการวิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต (internet) สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร เป็นต้น (ทัศนีย์ เทศต้อม, n.d.) ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์นั้น เป็นการนาคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ คอมพิวเตอร์มาประยุกต์เพื่ออธิบายเรื่องต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นประวัติของคอมพิวเตอร์, ชื่ออุปกรณ์, หน้าที่และ ความสาคัญ และขั้นตอนการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ ดังนั้นการที่จะให้นักเรียนสามารถจาคาศัพท์และการ นาไปประยุกต์ใช้ได้ในการเรียนในแต่ละหน่วยการเรียน จึงถือเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก ดังนั้นการพัฒนา ศักยภาพในการเรียนภาษาอังกฤษด้านคาศัพท์ของนักเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจาก ภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา จึงมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในการที่จะทาให้นักเรียนมีความสุข ในการเรียน สนุกกับกิจกรรม เกิดสมาธิด้วยตัวของกิจกรรม พร้อมทั้งการปฏิสัมพันธ์ ที่ดีของทั้งครูผู้สอนและนักเรียน โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมตั้งแต่เริ่ม จนจบกระบวนการเรียนรู้โดยผ่าน สื่อที่หลากหลาย เช่น ภาพ เสียง และการเคลื่อนไหวร่างกาย (สกล สรเสนา, n.d.) ดังนั้นผู้วิจัย จึงได้หาวิธีการในการพัฒนาและเพิ่มเต็มทักษะอ่าน และจดจาความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษคอมพิวเตอร์ของนักเรียนในครั้งนี้ ผู้วิจัยจึงเลือกวิธีการสอนการอ่าน และการจดจาความหมาย คาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยคอมพิวเตอร์ใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) โดยให้นักเรียนสร้างบัตรคารูปภาพเพื่อ ท่องจาคาศัพท์ ในแต่ละหน่วยเพื่อเก็บสะสมคะแนนในหน่วยนั้นๆ เพื่อหวังว่าจะทาให้นักเรียนมีความ กระตือรือร้น และสนใจมากขั้น รวมถึงผู้สอนมีวิธีการสอนที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพเพื่อนาไปใช้ต่อไป ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้ บัตรคารูปภาพ (Flash card) 2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยการใช้รูปแบบการเรียนการสอนในการอ่านสะกด และการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย เทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้พัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์ คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) มีผลต่อการอ่านและการจดจาความหมาย คาศัพท์คอมพิวเตอร์อย่างไร ๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย การศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียน ก่อนใช้สื่อ และหลังใช้สื่อโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้ โดยใช้พัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้บัตรคา
  • 10. ห น้ า | 2 รูปภาพ (Flash card) ในรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ซึ่งค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ขึ้นไป ๑.๕ กรอบแนวคิดในการวิจัย รูปที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย ๑.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้ 1. ผู้เรียนได้ึกกทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดย ใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) มีคะแนนหลังใช้บัตรคารูปภาพ สูงกว่าก่อนใช้บัตรคารูปภาพ 2. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการเรียน ในรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 3. ครูผู้สอนได้แนวทางการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ที่ผ่านการวิจัยทดลองใช้แล้วเป็น แนวทางในการพัฒนาการการสอนต่อไป ๑.7 ขอบเขตของการวิจัย - ด้านเนื้อหา การพัฒนาการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้บัตรคา รูปภาพ (Flash card) ในรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 มีทั้งหมด 2 หน่วยการเรียน ดังนี้ 1. เรื่องระบบเครือข่าย (Computer Network) 2. เรื่องอินเตอร์เน็ท (Internet) และ เรื่องจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) การใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) จานวน 2 หน่วยการเรียน ดังนี้ 1. เรื่องระบบเครือข่าย (Computer Network) 2. เรื่องอินเตอร์เน็ท (Internet) และ เรื่องจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ตัวแปร ต้น ระดับความพึงพอใจ ของนักเรียน ก่อนใช้สื่อ และหลังใช้สื่อโดยใช้ เทคนิคการจัดการ เรียนรู้โดยใช้พัฒนา ทักษะการอ่านสะกด และการจดจา ความหมายคาศัพท์ คอมพิวเตอร์ของ นักเรียน โดยใช้บัตรคา รูปภาพ (Flash card) ตัวแปร ตาม
  • 11. ห น้ า | 3 - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนระดับชั้นคธ.2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 14 คน - ตัวแปรที่ใช้ศึกษา ตัวแปรต้นได้แก่ บัตรคารูปภาพ (Flash card) คาศัพท์คอมพิวเตอร์จานวน 10 คา ตัวแปรตามได้แก่ ผลการสอบท่องจาคาศัพท์หลังใช้ บัตรคารูปภาพ (Flash card) ของ นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ 1. สภาพการจัดการเรียนการสอน หมายถึง รูปแบบการึกกทักษะโดยใช้การึกกจากการลงมือมี ปฏิบัติตามขั้นตอนการึกกในใบกิจกรรมหรือแบบึกก เพื่อึกกึนให้ผู้เรียนเกิดทักษะตามจุดประสงค์ของแบบึกก ทักษะนั้น ๆ ที่ต้องการจะมุ่งเน้น โดยอาศัยรูปแบบการึกกที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิดการ ึกกึนจากการลงมือปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาอย่างชัดเจน ซึ่งแบบึกกทักษะส่วน ใหญ่จะสร้างขึ้นประกอบการึกกทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะการปฏิบัติกลุ่มร่วมมือ 2. การพัฒนา หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไว้แล้ว คือการทาให้ ลักษณะเดิมเปลี่ยนไปโดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้ามาแทนที่นั้นจะดีกว่าลักษณะเก่า สภาพเก่า แต่โดย ธรรมชาติแล้วการเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดปัญหาในตัวมันเอง เพียงแต่ว่าจะมีปัญหามาก หรือปัญหาน้อย “การ ทาสิ่งๆ หนึ่งให้ดีขึ้นในหลายด้านจนถึงทุกด้าน” 3. ทักษะ หมายถึง ความชานาญ คล่องแคล่วว่องไว ตัวอย่างของการมีทักษะ เช่น ทักษะการเดิน ทักษะการพูด ทักษะการเคลื่อนไหวร่างกาย 4. การเรียนรู้ หมายถึง การที่ผู้เรียน ได้รับประสบการณ์แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ ในสิ่งที่เรียน 5. บัตรคารูปภาพ (Flash card) หมายถึง แผ่นกระดาษที่มีรูปภาพและคาศัทพ์พร้อมคาอ่านที่ใช้ เป็นสื่อการสอนคาศัพท์คอมพิวเตอร์ 6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของผู้เรียนที่มีต่อการใช้โปรแกรมกราฟิก เกี่ยวกับ ความ ถูกต้องของเนื้อหา รวมทั้คุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งได้มาจากผู้เรียนตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ ซึ่ง ค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ขึ้นไป
  • 12. ห น้ า | 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ของนักเรียน โดยใช้ บัตรคารูปภาพ (Flash card) ในรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ผู้วิจัย ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.๑ สื่อกับระบบการเรียนการสอน (Media & Instructional System) ๒.๑.๑ ความสาคัญของสื่อกับกระบวนการเรียนการสอน 2.๑.๒ ความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน 2.๑.๓ ประโยชน์และความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน 2.๑.๔. ประเภทของสื่อการสอน 2.๑.๕ หลักการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน 2.1.6 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ 2.1.7 หลักการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 2.1.8 ขั้นใช้สื่อการเรียนการสอน 2.๒ การใช้รูปภาพเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน 2.2.1 คุณค่าของรูปภาพ 2.2.2 หลักการเลือกรูปภาพประกอบการสอน 2.2.3 การใช้แฟลชการ์ด (Flashcards) 2.๓ ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน 2.3.1 ความหมายของความพึงพอใจ 2.3.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.๑ สื่อกับระบบการเรียนการสอน (Media & Instructional System) ระบบ (System) ในการนาเอาสื่อและเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการเรียนการสอน ประกอบด้วยองค์ ประกอบต่างๆ เช่น จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ ผู้เรียน สถานที่เรียน แหล่งวิทยาการ วัสดุอุปกรณ์ เป็นต้น โครงสร้างระบบการเรียนการสอนที่มักนิยมนาไปใช้มีดังนี้ (ชัยอนันทร์ นวลสุวรรณ์, n.d.) รูปที่ 2 แผนผังแสดงโครงสร้างระบบการเรียนการสอน จุดประสงค์ ประสงค์ การเรียนการสอน การประเมินผล ปรับปรุงแก้ไข
  • 13. ห น้ า | 5 2.๑.1 ความสาคัญของสื่อกับกระบวนการเรียนการสอน คาว่า สื่อ (Media) แตงแต้ว ณ นคร (แตงแต้ว ณ นคร ,- : 55) โดยทั่วไป หมายถึง ตัวกลาง หรือระหว่าง (Between) ซึ่งในที่นี้ถ้าหมายถึงการสื่อสารแล้ว สื่อจะหมายถึงสื่อต่าง ๆ ที่เป็นการแนะนา ความรู้หรือสารสนเทศ (Information) ระหว่างผู้สื่อกับผู้รับ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ รูปภาพ วัสดุ ฉาย สิ่งพิมพ์และอื่น ๆ สิ่งเหล่านี้ ก็คือ สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร แต่เมื่อนาสิ่งเหล่านี้มาใช้ในการเรียนการสอน แล้ว เราเรียกสิ่งเหล่านี้ว่า สื่อการเรียนการสอน ด้วยเหตุนี้ สื่อการเรียนการสอนจึงมีหน้าที่เป็นพาหนะนา ความรู้ไปสู่ผู้เรียนในขณะที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คาว่า สื่อการสอน ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Instructional Media จึงแยกคาว่าสื่อการสอนออกเป็น 2 คา คือ สื่อ (Medium เป็นเอกพจน์ Media เป็นพหุพจน์) กับคาว่าการสอน (Instruction) สื่อ (Medium,pl. Media) เป็นคาที่มาจากภาษาลาตินว่า “ Medium” แปลว่าระหว่าง between หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่ บรรจุข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ สามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ สื่อที่นิยมใช้ประกอบการเรียน การสอน เช่น สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วิดีโอ แผนภูมิ ภาพนิ่ง เครื่องฉายข้ามศีรษะ (Over head) ซึ่งจะ กล่าวถึงคุณประโยชน์ วิธีการใช้ ข้อดี ข้อเสีย และวิธีเก็บรักษาสื่อเหล่านี้ในรายละเอียดต่อไป 2.๑.2 ความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน สื่อการสอนแต่ละชนิดนั้นมีคุณค่าต่อการเรียนการสอนเป็นอย่างยิ่ง ผู้สอนสามารถที่จะเอาสื่อใช้ ประกอบการเรียนการสอนได้ทุกระดับชั้น ตั้งแต่การศึกษาระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในระดับปฐมวัยนั้น การใช้สื่อการเรียนการสอนกับวัยเด็กยิ่งมีความจาเป็นและมีความสาคัญเป็นอย่าง ยิ่งเพราะเป็นวัยแรกเริ่มแห่งการพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ซึ่งได้กล่าวถึงประโยชน์และความสาคัญของสื่อการ เรียนการสอนไว้ดังนี้ 2.๑.3 ประโยชน์และความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน 1. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้มากและจดจาได้นาน 2. ช่วยให้ผู้เรียนสนใจและมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในกระบวนการเรียนการสอน 3. ช่วยส่งเสริมการคิดเป็นและการแก้ปัญหาใจกระบวนการเรียนของผู้เรียน 4. ช่วยอธิบายสิ่งที่ยากสลับซับซ้อนให้เข้าใจได้ง่าย 5. ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของเอกลักษณ์บุคคลไม่ว่าจะเป็นเด็กเก่งหรือเด็กเรียนช้า 6. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสอนโดยประหยัดเวลาและแรงงาน 7. ทาให้ครูสามารถปับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนได้หลายรูปแบบ 8. ช่วยเพิ่มประสบการณ์ของผู้เรียนให้กว้างขวางมากขึ้น 9. ช่วยแก้ปัญหาข้อจากัดในการเรียนการสอนบางประการ อาทิ เช่น 9.1 ทาสิ่งที่ซับซ้อนให้ง่ายขึ้น 9.2 ทาสิ่งเคลื่อนไหวเร็วให้ช้าลง 9.3 ทาสิ่งเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงช้าให้เร็วขึ้น 9.4 ทาสิ่งที่ใหญ่ให้ย่อขนาดลง 9.5 ทาสิ่งที่เล็กมากให้ขยายใหญ่ขึ้น 9.6 นาอดีตมาศึกษาได้ 9.7 ทาสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
  • 14. ห น้ า | 6 9.8 นาสิ่งที่อยู่ใกล้หรือลี้ลับมาศึกษาได้ 10. ช่วยให้นักเรียนเรียนสาเร็จเร็วขึ้นและสอบได้คะแนนมากขึ้น 11. ช่วยให้ความหมายของศัพท์เพิ่มขึ้น 12. พัฒนาความคิดได้ต่อเนื่อง เช่น ภาพยนตร์ 13. ถ้าใช้สื่อการสอนอย่างสม่าเสมอ จะสามารถเปลี่ยนความคิด ทัศนคติ ทั้งยังช่วยสร้างทัศนคติ ให้มั่นคงได้ 14. ช่วยให้ผู้เรียนนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ 2.๑.4 ประเภทของสื่อการสอน เอดการ์ เดล (Edgar Dale, 1965, 42 – 43) ได้แบ่งประเภทของสื่อการสอนไว้ 3 ประเภท คือ 1. สื่อประเภทวัสดุ (Software) หมายถึง สื่อที่เก็บความรู้อยู่ในตัวเอง ซึ่งจาแนกย่อยเป็น 2 ลักษณะ คือ 1.1 วัสดุประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยไม่จาเป็นจะต้องอาศัย อุปกรณ์อื่นช่วย เช่น แผ่นเสียง ลูกโลก รูปภาพ หุ่นจาลอง ฯลฯ 1.2 วัสดุที่ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง จาเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์อื่นช่วย เช่น แผ่นฟิล์ม ภาพยนต์ สไลด์ 2. สื่อประเภทอุปกรณ์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวกลางหรือตัวผ่าน ทาให้ข้อมูลหรือความรู้ ที่บันทึกในวัสดุที่สามารถถ่ายทอดออกมาให้เห็นหรือได้ยิน เช่น เครื่องฉายแผ่นโปร่งใส่เครื่องฉาย 3. สื่อประเภทเทคนิคและวิธีการ (Techniques and Methods) หมายถึง สื่อที่มีลักษณะเป็น แนวความคิดหรือรูปแบบขั้นตอนในการเรียนการสอน โดยสามารถนาสื่อวัสดุและอุปกรณ์มาใช้ช่วยในการ สอนได้ เช่น เกม สถานการณ์จาลอง บทบาทสมมุติ และการสาธิต เป็นต้น 2.๑.๕ หลักการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน การเลือกสื่อในการเรียนการสอนนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญ เป็นหน้าที่ของผู้สอนโดยตรงที่จะต้องใช้ วิจารณญาณ ตัดสินใจเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และเนื้อหาที่จะสอน เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ ผู้เรียนมากที่สุด โดยผู้สอนจะต้องดาเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเนื้อหาที่จะสอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง 2. ตั้งวัตถุประสงค์ในการสอนเนื้อหานั้น ๆ ให้ชัดเจน 3. กาหนดเทคนิคหรือวิธีที่จะสอน 4. กาหนดกิจกรรมในการเรียนการสอน 5. กาหนดชนิดของสื่อที่จะใช้ประกอบการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและเนื้อหาที่จะ สอน 2.๑.๖ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ 1. สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของบทเรียน 2. ตรงกับเนื้อหาที่จะสอน 3. น่าสนใจ 4. เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 5. สะดวกต่อการใช้ การเคลื่อนย้าย และการเก็บรักษา
  • 15. ห น้ า | 7 6. สื่อต้องอยู่ในสภาพใช้การได้ดี ไม่ชารุดเสียหาย 7. ต้องมีความถูกต้องตรงกับความเป็นจริง 8. สัมพันธ์กับความเดิมของผู้เรียน 9. เหมาะสมกับเวลา สถานการณ์ และสถานที่ 10. ประหยัด ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง คุ้มค่าถ้าจะนามาใช้ 11. หาง่าย 12. ปลอดภัย ไม่มีอันตราย ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย 13. แข็งแรงทนทาน 14. ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 15. ถ้าเป็นเครื่องมือ ต้องง่ายต่อการรักษาซ่อมแซมหาอะไหล่ง่าย 2.๑.๗ หลักการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเลือกสื่อหรือผลิตสื่อได้แล้ว มิได้หมายความว่าสื่อนั้น ๆ จะช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุ เป้าหมายได้ สื่อการสอนที่ถูกคัดเลือกมาอย่างถูกต้อง จะมีคุณค่ายิ่งก็ต่อเมื่อครูมีวิธีการใช้อย่างถูกต้อง เพราะสื่อแต่ละชนิดมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันออกไป ผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการใช้ จึงจะ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน ซึ่งสิริรัตน์ เบาใจ (สิริรัตน์ เบาใจ, 2529 : 161) ได้กล่าวถึงการวางแผน เตรียมการใช้สื่อ ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้ 1. เตรียมตัวผู้สอน - พิจารณาวัตถุประสงค์ของเนื้อหาก่อนที่จะสอน - พิจารณาความต้องการและความสนใจของผู้สอน - ทาความรู้จักกับสื่อแต่ละชนิดที่จะนามาใช้ - วางแผนการใช้สื่อว่า จะใช้อย่างไร ใช้เมื่อใด โดยกาหนดขั้นตอนการใช้อย่างชัดเจน - ทดลองใช้เพื่อกันการผิดพลาดและเพื่อความมั่นใจ 2. เตรียมตัวผู้เรียน - การใช้สื่อบางชนิดผู้เรียนอาจต้องเตรียมบางสิ่งบางอย่างมาด้วย หรือเตรียมตนเองก่อนเรียน ซึ่ง ผู้สอนต้องบอกให้ทราบล่วงหน้า - เตรียมอ่านเอกสารล่วงหน้า - การใช้สื่อบางประเภทผู้สอนต้องอธิบายชี้แจง แนะนา เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม หรือสังเกต เช่น ชี้แจงให้รู้จักเครื่องมือทดลองชี้แจงการบันทึกข้อมูล การระวังอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการทดลอง ภารกิจที่ต้องทา - บอกให้ผู้เรียนทราบว่า จะต้องทาอะไรหลังการใช้สื่อนั้น ๆ 3. เตรียมสถานที่ - เตรียมสภาพห้องให้เหมาะสมกับการใช้สื่อ เช่น ถ้าสาธิตควรจะจัดที่นั่งอย่างไร ถ้าเรียนแบบ ศูนย์การเรียนจะจัดอย่างไร - ตรวจสภาพความพร้อมต่าง ๆ เช่น ห้องฉาย ระบบไฟ ระบบระบายอากาศ การควบคุมแสง ภายในห้อง ระบบเสียง 4. จัดเตรียมสื่อ - ในบทเรียนหนึ่ง ไม่ควรใช้สื่อมากเกินไป ควรใช้เท่าที่จาเป็น
  • 16. ห น้ า | 8 - ตรวจสอบสภาพของสื่อให้พร้อมก่อนที่จะนาออกใช้ - ตรวจสอบจานวนการใช้งาน - ทดลองใช้สื่อดูก่อน - จัดลาดับสื่อที่จะใช้ก่อนหลัง - สื่อที่นามาใช้ควรมีขนาดใหญ่ เห็นได้ชัดเจน ได้ยินอย่างชัดเจน - ตัวอักษะ รูปภาพ ข้อวาม ควรมีขนาดเหมาะสม เห็นได้ชัดเจนสวยงาม ชวนดู 2.๑.๘ ขั้นใช้สื่อการเรียนการสอน - นาเสนอสื่อตามขั้นตอนที่เตรียมไว้ก่อนหลัง ในเวลาที่พอเหมาะไม่เร็วและไม่ช้าจนเกินไป - พยายามให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้สื่อ - การอธิบายของครูต้องชัดเจน - ควบคุมเวลาตามแผนที่วางไว้ - สังเกตการตอบสนองของผู้เรียน - กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด - ให้โอกาสผู้เรียนซักถามข้อข้องใจ - ให้เวลาเผื่อทาความเข้าใจพอสมควร - ให้ทุกคนมองเห็นอย่างชัดเจน - พยายามเน้นจุดที่น่าสนใจ - สอดคล้องกับเรื่องที่กาลังดาเนินการสอนอยู่อย่างแท้จริง - ขณะที่ใช้อย่ายืนบัง ควรยืนอยู่ด้านข้าง - การชี้อุปกรณ์ ให้ใช้ไม้ชี้ - เมื่อยังไม่ถึงเวลา ไม่ควรติดหรือแสดงสื่อการสอน เปิดทิ้งไว้ให้เห็นอาจทาให้ความสนใจของ ผู้เรียนลดลง - การนาสื่อออกแสดงไม่ควรให้ผู้เรียนรอนานเกินไปเพราะอาจหมดความสนใจเสียก่อน - เมื่อใช้ผ่านไปแล้วควรเก็บลง เพื่อจะได้ไม่แย่งความสนใจ ในขณะที่ใช้สื่อการสอนอื่น 2.2 การใช้รูปภาพเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน รูปภาพ (Flat picture) เป็นอุปกรณ์การสอนที่หาได้ง่าย ราคาถูก ครูอาจหารูปภาพได้จากนิตยสาร หนังสือพิมพ์ ภาพโฆษณา ปฏิทิน ซึ่งมีทั้งภาพสีและขาวดา จัดเป็นทัศนะวัสดุที่มีประโยชน์ต่อการเรียนการ สอนมาก ทาให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วดีกว่าการบรรยายหรืออธิบายเพียงอย่างเดียว 2.2.1 คุณค่าของรูปภาพ จากผลการวิจัยเกี่ยวกับรูปภาพยืนยันถึงคุณค่าของรูปภาพที่มีต่อการเรียนการสอนหลายประการ คือ 1. เป็นจุดรวมความสนใจของผู้ดูและทาให้มีประสบการณ์ร่วมกัน 2. ช่วยทาให้เข้าใจบทเรียนได้ง่าย จาได้รวดเร็ว เป็นตัวเสริมแรงทาให้บทเรียนน่าสนใจ 3. ช่วยเปลี่ยนทัศนคติของผู้ดูได้ แก้รอยประทับใจที่ผิดได้
  • 17. ห น้ า | 9 4. สามารถจาลองสิ่งที่เป็นจริงมาศึกษารายละเอียดได้ จะใช้เวลาศึกษานานเท่าไรก็ได้ เช่น รูปภาพ ที่ถ่ายจากดาวอังคารหรือดวงจันทร์ 5. สามารถนาสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวมาศึกษาได้ 6. ช่วยทาความเข้าใจในสิ่งที่อ่านให้สมบูรณ์ชัดเจนมากยิ่งขึ้น 7. ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น ได้ตอบคาถามโดยอ่านจากภาพ ช่วยทาภาพมาจัดป้าย นิเทศ จากการเรียนเนื้อหาบางเรื่องแล้ว มีส่วนร่วมในการอภิปราย 8. ช่วยทาประสบการณ์นามธรรมให้เป็นรูปธรรม 9. ราคาถูก หาซื้อได้ง่าย สามารถดัดแปลงให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของบทเรียนได้ง่าย 10. แปรสภาพเป็นสื่อได้หลายรูปแบบ เช่น เป็นภาพผนึกเป็นชิ้นส่วนที่ใช้ติดกับแผ่นป้าย ผ้าสาลี สมุดภาพ นาไปตกแต่งป้ายนิเทศ ฯลฯ 11. ครอบคลุมเนื้อหาหลายวิชา 12. เหมาะที่จะใช้กับผู้เรียนทั้งหลายบุคคล กลุ่มเล็ก และทั้งห้องเรียน 13. ใช้ร่วมกับสื่ออื่น ๆ ได้เกือบทุกชนิด 14. นาเรื่องราวและเหตุการณ์ในอดีตมาศึกษาได้ 15. ช่วยเน้นรายละเอียดทาให้มองเห็นความซับซ้อนได้ 16. ใช้ได้ทุกขั้นตอนของการเรียนการสอน (ขั้นนา ขั้นสอน สรุป วัดผล) สุดแต่จะใช้ 17. เป็นแหล่งข้อมูลใช้สาหรับศึกษาค้นคว้าได้ทุกยุคสมัย 18. สามารถนาเอาสิ่งที่เร้นลับ สิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่ามาศึกษา ข้อจากัดของรูปภาพ 1. ชารุดฉีกขาดได้ง่าย ถ้าจะเก็บไว้ในระยะยาว ต้องผนึกบนกระดาษแข็ง 2. ด้อยกว่าการใช้ของจริงหรือหุ่นจาลอง เพราะขาดมิติของความลึก 3. อยู่ในลักษณะนิ่งขาดการเคลื่อนไหว ลักษณะของรูปภาพที่เด็กชอบดู จากการวิจัยหลาย ๆ ชิ้นที่พยายามศึกษาถึงรูปแบบ ขนาด สี ของภาพที่เด็กชอบดู พอสรุปได้ ดังนี้ 1. เด็กเล็กจะชอบภาพง่าย ๆ แต่เมื่อโตขึ้นจะสนใจภาพที่มีความสลับซับซ้อนขึ้นตามลาดับ 2. เด็กชอบภาพสีมากกว่าภาพขาวดา 3. ชอบภาพสีที่ใช้สีเลียนแบบธรรมชาติ 4. ชอบภาพที่มีการแสดงอาการเคลื่อนไหวอยู่นาน เช่น คนกาลังวิ่ง ต้นไม้กาลังล้ม คนกาลังทาท่า น้าวธนูจะยิง 5. ชอบภาพที่เกี่ยวข้อกับประสบการณ์เดิมของตน 6. ชอบดูภาพที่มีขนาดใหญ่ เพราะเห็นชัดเจนกว่า 7. ชอบภาพที่เป็นไปตามความจริงมากกว่าภาพประดิษฐ์ 8. ชอบภาพที่แสดงให้เห็นถึงการกระทาหรือเรื่องราวต่อเนื่องกัน ลักษณะการมองภาพ 1. ทุกคนชอบมองภาพสีมากกว่าภาพขาวดา 2. ผู้ดูภาพแต่ละคนจะมองเห็นสิ่งที่อยู่ในภาพเดียวกันได้แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นกับประสบการณ์เดิม ของผู้ดูแต่ละคน ทัศนคติ ความรู้สึกส่วนตัว
  • 18. ห น้ า | 10 3. ครั้งแรกที่เห็นภาพจะมองรวม ๆ ก่อน แล้วจึงพิจารณาจุดที่น่าสนใจและรายละเอียดในลาดับ ต่อมา 4. ผู้ดูภาพที่ได้รับการแนะนาล่วงหน้าจะเห็นในสิ่งที่ต้องการได้มากกว่าให้ดูเองโดยไม่ให้คาแนะนา 5. ส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มที่จะมองภาพบริเวณซ้ายบนมากที่สุด รองลงมาก็คือ ซ้ายล่าง ขวาบน และ ขวาล่าง ตามลาดับ ( เพราะเราอ่านจากซ้ายไปขวานั่นเอง ) 2.2.2 หลักการเลือกรูปภาพประกอบการสอน เมื่อได้ทราบถึงลักษณะการมองภาพของตน และภาพที่เด็กชอบดูแล้วก็ควรนาความรู้หรือข้อเท็จจริง นี้มาใช้ในการพิจารณาในการเลือกภาพ เพื่อนามาประกอบการสอน 1. ตรงกับจุดประสงค์ของเนื้อหาที่จะสอนและสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอน 2. เหมาะกับวัย ระดับชั้นของผู้เรียน 3. เกี่ยวข้องกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน 4. รูปภาพที่เป็นจริง เหมือนจริง 5. แสดงเรื่องที่สาคัญเพียงอย่างเดียว 6. ถ้าเป็นสิ่งที่อยู่ไกลตัว ไม่เคยเห็นมาก่อน ควรมีสิ่งที่สามารถให้ผู้ดูเทียบเคียงขนาดที่แท้จริงของ ๆ สิ่งนั้นอยู่ในภาพด้วย เพื่อให้ผู้ดูเข้าใจขนาดที่ถูกต้อง 7. เลือกภาพที่มีการจัดภาพหรือการประกอบภาพที่น่าสนใจ 8. เลือกใช้ภาพสีถ้าเห็นว่าภาพสีจะช่วยสื่อความหมายได้ดีกว่า 9. ภาพวาดจะเน้นรายละเอียดได้มากกว่าภาพถ่ายในกรณีที่ภาพมีความซับซ้อน 10. ถ้าใช้ในห้องเรียนควรมีขนาดใหญ่พอที่จะมองเห็นได้ทั่วห้อง(ขนาด 8x10 นิ้ว) 11. ในการสอนแต่ละครั้ง ควรเลือกใช้ภาพที่สื่อความหมายได้ดีที่สุดไม่จาเป็นต้องใช้หลาย ๆ ภาพ 12. มีความเกี่ยวพันหรือใกล้เคียงกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ยิ่งทาให้ผู้ดูอ่านความหมายได้ ถูกต้อง เมื่อตัดสินใจว่าจะเลือกใช้ภาพใดแล้ว ก็เป็นหน้าที่ของครูที่จะหาวิธีการที่ดีที่สุดในการใช้ภาพนั้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด โดยใช้เกณฑ์ดังนี้ 1. ไม่ควรให้ดูหลาย ๆ ภาพพร้อม ๆ กันอาจทาให้ผู้ดู สับสนและเกิดความคิดรวบยอด สู้ภาพเดียวที่ ตรงจุดหมายไม่ได้ 2. ใช้ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมไม่เร็วหรือช้าจนเกินไป และอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจก่อนที่จะผ่านไปยัง ภาพอื่น 3. พยายามพิจารณาใช้รูปภาพร่วมกับสื่อชนิดอื่นด้วย เช่น อาจใช้ควบคู่กับแผนภูมิ แผนสถิติ ของ จริง เทป เพราะรูปภาพเพียงอย่างเดียวไม่สามารถถ่ายทอดความหมายให้กับผู้เรียนได้อย่างสมบูรณ์ 4. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการใช้ภาพด้วย เช่น ได้ตอบคาถาม ได้อภิปรายได้ตอบได้ 5. วางแผนการใช้ล่วงหน้าว่าจะได้ภาพนั้นเพื่ออะไร เมื่อไร อย่างไร - ถ้าใช้นาเข้าสู่บทเรียนควรนาภาพให้นักเรียนดู แล้วใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กตอบหรือพูดคุย เกี่ยวกับภาพนั้น - ถ้าใช้ประกอบการเรียนการสอนให้ใช้วิธีการอธิบายแสดงภาพให้ดูให้ได้พิจารณารายละเอียด พร้อมทั้งทาความเข้าใจไปด้วย - ถ้าใช้รูปให้นาภาพทั้งหมดออกแสดงตามลาดับ ครูอาจเป็นผู้สรุปหรือให้นักเรียนช่วยกันสรุปได้
  • 19. ห น้ า | 11 - ถ้าใช้วัดผลควรนาภาพออกแสดงแล้วให้เด็กตอบคาถาม เพื่อให้ได้คาตอบที่ครูต้องการ สังเกต จากปฏิกิริยาตอบสนองของผู้เรียน 6. แนะนาวิธีอ่านหรือดูภาพแก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นรายละเอียดที่ต้องการ 7. ควรเลือกวิธีการดูรูปภาพให้เหมาะสมที่สุด เช่น อาจใช้วิธีติดบนกระดานถือแล้วแสดงให้ดูที่หน้า ชั้นเรียน ให้ดูเป็นกลุ่มหรือใช้เครื่องฉายภาพทึบแสงฉายให้ดู 8. บางครั้งอาจใช้ภาพกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เช่น ให้ผู้เรียนสร้างเรื่องประกอบภาพ 9. ใช้ภาพให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้และทดสอบความเข้าใจของนักเรียนที่ได้จากรูปภาพทุกครั้งที่ ใช้ประกอบการสอน 10. ครูจะต้องระลึกอยู่เสมอว่า เฉพาะตัวรูปภาพเองไม่ช่วยให้เกิดความเข้าใจหรือความทรงจามาก นัก แต่รูปภาพจะมีคุณค่าในการเรียนการสอนได้มากก็ต่อเมื่อครูนามาใช้ได้อย่างถูกวิธี และใช้คาพูด คาอธิบายได้อย่างเหมาะสม 11. บอกขนาดที่แท้จริงของสิ่งที่เห็นในภาพนั้นแก่นักเรียนด้วย เพื่อความเข้าใจอันถูกต้อง 12. ภาพที่แสดงให้ดูในช่วงการเรียนการสอนแล้ว เมื่อเลิกสอนครูอาจนาไปจัดแสดงไว้บนป้ายนิเทศ ให้นักเรียนได้ศึกษาต่อนอกเวลาเรียนก็ได้ 2.2.3 การใช้แฟลชการ์ด (Flashcards) Flashcard บัตรคา เป็นเครื่องมือช่วยจา เทคนิค Flashcard แพร่หลายมากในต่างประเทศ เพราะ นอกจากจะช่วยจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่ยากๆ แล้ว สามารถต่อยอดไปใช้กับวิชาอื่นๆ ได้ด้วย อย่างเช่น ช่วยจาสูตรเคมี สูตรคณิตศาสตร์ต่างๆ หรือวันเดือนปีที่สาคัญในประวัติศาสตร์ ที่อาศัยการจาบัตรคาเป็นวิธี ท่องคาศัพท์ที่ง่ายและสามารถพกพาไปไหนสะดวก แถมยังสนุกกว่าด้วย เมื่อเทียบกับการต้องท่องศัพท์ตาม สมุดจดคาศัพท์ หรือชีทคาศัพท์ที่ให้คาศัพท์มาทีละ 100 คา 200 คา นอกจากจะท่องคนเดียวแล้ว ยังชวน พ่อแม่พี่น้องมาช่วยถือ ช่วยเราทายคาศัพท์ ก็สร้างความอบอุ่น สนิทสนม สนุกสนาน เป็นบรรยากาศดีๆ ทาให้ เราสนุกกับการท่องคาศัพท์ไปด้วย (“Flashcard บัตรคา เป็นเครื่องมือช่วยจา,” 2014) ดังรูปที่ 1 รูปที่ 3 รูปภาพแสดงตัวอย่าง Flashcard บัตรคา
  • 20. ห น้ า | 12 2.๓ ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน 2.3.1 ความหมายของความพึงพอใจ การจัดการเรียนการสอนให้ประสบความสาเร็จนอกจากจะวัดลักษณะด้านพุทธิพิสัยของนักเรียนแล้ว ผู้สอนจะต้องคานึงถึงผลทางด้านจิตพิสัยซึ่งเป็นความพึงพอใจของนักเรียนด้วยเพราะถ้าผู้เรียนมีความพึงพอใจ ต่อการเรียนการสอนแล้วย่อมส่งผลถึงประสิทธิภาพในการเรียนการสอนด้วยซึ่งจากการศึกษาเกี่ยวกับความพึง พอใจนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ได้ดังนี้ [วอลเลอร์สเตน (Wallerstein, 1971: 112)] ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึง พอใจหมายถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย” [กู๊ด (Good, 1973: 518)] ให้ ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึงพอใจหมายถึงคุณภาพสภาพหรือระดับความพึงพอใจซึ่งเป็นผล จากความสนใจต่างๆและทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง” [โวแมน (Wolman, 1973 : 217)]ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกเมื่อได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมายความต้องการหรือแรงจูงใจ” จากความหมายของความพึง พอใจข้างต้นสรุปได้ว่าความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกของบุคคลต่อผลของสิ่งเร้าต่างๆที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ได้รับและอาจจะมีความรู้สึกหรือทัศนคติในทางที่ดีหรือไม่ดีก็ได้ดังนั้นความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนจึง หมายถึงความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบและกิจกรรมการเรียนการสอนในด้านต่างๆเช่นบรรยากาศการ เรียนการสอนลักษณะของกิจกรรมวิธีการประเมินผลเป็นต้น 2.3.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ การสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งบรรยากาศที่ดีอาจ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตที่ดีมีความพึงพอใจและตั้งใจที่จะเรียนบรรยากาศในการเรียนการสอนโดยเน้นชั้น เรียนเป็นตัวแปรที่สาคัญที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้การเรียนดีขึ้น [พิมพันธ์เดชะคุปต์ (2544 : 257)]ได้ให้ความหมายความสาคัญของบรรยากาศในการเรียนการสอน ไว้ 2 ประเภทคือ 1. บรรยากาศทางกายภาพคือการสร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่ดีในห้องเรียนมีผลต่อการเรียนการ สอนและต่อเจตคติที่ดีของผู้เรียนซึ่งลักษณะของห้องเรียนที่มีบรรยากาศทางกายภาพเหมาะสมควรมีรูปแบบ คือมีสีสันน่าดูและเหมาะสมสบายตาอากาศถ่ายเทได้ดีปราศจากเสียงรบกวนและมีขนาดกว้างเพียงพอกับจาน วนนักเรียน 2. บรรยากาศทางจิตใจคือการเรียนการสอนจะดาเนินอย่างมีชีวิตชีวาและราบรื่นนั้นผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้สอนกับผู้เรียนต้องมีความสัมพันธ์และร่วมมือกันอย่างไม่มีความหวาดระแวงกันสิ่งดังกล่าวครูผู้สอนต้อง มีวิธีการเสริมแรงอย่างเช่นการเสริมแรงทางด้านภาษาและท่าทางคือการกล่าวชมดีดีมากน่าสนใจถูกต้องควร ปรับปรุงการตั้งใจฟังการปรบมือการใช้สายตาแสดงความสนใจความพึงพอใจและอีกอย่างหนึ่งคือการเสริมแรง ด้วยการให้รางวัลและสัญลักษณ์ต่างๆคือการให้วัตถุสิ่งของการนาผลงานมาแสดงยกย่องและการใช้ เครื่องหมายดีเด่น
  • 21. ห น้ า | 13 ดังนั้นผู้สอนจะต้องจัดหาสิ่งจูงใจต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนให้ได้รับความพึงพอใจ เช่นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่จะส่งผลให้บรรยากาศการเรียนการสอนไม่น่าเบื่อหน่ายเป็นต้นจะเห็นได้ว่าใน การจัดการเรียนการสอนที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนจนทาให้ประสิทธิภาพในการ เรียนสูงขึ้นผู้สอนจะต้องคานึงถึงความต้องการของผู้เรียนด้านความรู้สึกทัศนคติที่เป็นเรื่องของจิตใจควบคู่ไป ด้วยในการวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนสามารถวัดได้หลายวิธีเช่นการสังเกตการสัมภาษณ์การใช้ แบบสอบถามเป็นต้นสาหรับการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการ สอนโดยการใช้บทเรียนออนไลน์ 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ณภัทริน เภาพานและคณะ ได้ทาการศึกษา เรื่องการศึกษาผลของการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษโดย ใช้รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจากภาพประกอบ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา สาหรับนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี จังหวัดร้อยเอ็ด การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก เพื่อศึกษาผลของการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจาก ภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา ประการที่สอง ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การจาคาศัพท์ ภาษาอังกฤษก่อนและหลังการใช้รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจากภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุ ปัญญา และประการที่สาม ศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยการใช้ รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจากภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/6 สาขาวิชาพณิชยการ โรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี จังหวัดร้อยเอ็ด ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จานวน 31 คน ที่ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ และแบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียน การสอนเน้นความจาจากภาพประกอบ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา การวิจัยนี้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยค่าที ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจา จากภาพประกอบ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.64/84.43 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ กาหนดคือ 75/75 ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index : E.I.) ของการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียน การสอนเน้นความจาจากภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา เท่ากับ 0.40 แสดงว่ารูปแบบการเรียนการ สอนเน้นความจาจากภาพประกอบ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา ทาให้นักเรียนมีความสามารถในการจาคาศัพท์ ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจาจาก ภาพประกอบตามแนวทฤษฎีพหุปัญญาอยู่ในระดับมาก
  • 22. ห น้ า | 14 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย งานวิจัยครั้งนี้ เป็นงานวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์ คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 รายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ผู้วิจัยได้ดาเนินตามขั้นตอนดังนี้ 3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.2 กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล 3.5 การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.1 ศึกษาข้อมูลหนังสือเอกสารวารสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับทฤษฏีความพึงพอใจและการ สร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ 1.2 ศึกษาหลักสูตรวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 2 และแผนการจัดการเรียนรู้ ทั้ง 2 หน่วยการเรียน 1.3 ศึกษาข้อมูลหนังสือ, เว็บไซต์ เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนการสอนแบบวิธีการใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) ประกอบการสอน 1.4 ศึกษาหลักการและวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ทักษะการอ่านสะกดและการจดจาความหมายคาศัพท์คอมพิวเตอร์ โดยใช้บัตรคารูปภาพ (Flash card) 3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้เลือกแบบเจาะจงโดยเลือกนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 14 คน 3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ มีจานวน 2 แผนการเรียนรู้ เวลา 12 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที 1: เรื่องระบบเครือข่าย (Computer Network) แผนการจัดการเรียนรู้ที 2: เรื่องอินเตอร์เน็ท (Internet) และ เรื่องจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) 2. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนการสอน จานวน 1 ชุด 3.3.1 การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งผู้วิจัยได้ ดาเนินตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ปรับปรุง 2546