SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 1
บทนำ
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
สังคมปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลของเทคโนโลยีการสื่อสารที่
มีความก้าวหน้าล้ายุคสมัยอย่างรวดเร็ว เพื่อให้มนุษย์มีความสามารถในการก้าวทันเทคโนโลยี
ทางการสื่อสารและความสามารถในการใช้ภาษาในการสื่อสาร จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาทั้งด้าน
ความรู้และความสามารถ การศึกษาจึงมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาคนซึ่งได้มีการกาหนดไว้อย่าง
ชัดเจนในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
(กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 11) ซึ่งได้กาหนดแนวการจัดการศึกษาไว้ในมาตรา 22 ว่า การจัดการ
ศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี
ความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ
เต็มตามศักยภาพการจัดการศึกษามุ่งเน้นความสาคัญทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ
คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อพัฒนาคนให้มีความสมดุล โดยยึด
หลักผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุด
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
2551ก : 3-6 ) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้ าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบน
พื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กับความเป็ นสากล เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน
ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ เป็นหลักสูตรที่สนอง
การกระจายอานาจ เป็ นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและ
การจัดการเรียน และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเป็นหลักการสาคัญของหลักสูตร มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น
คนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ โดยการพัฒนาผู้เรียน
ให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 1) ภาษาไทย
2) คณิตศาสตร์ 3) วิทยาศาสตร์ 4) สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 5) สุขศึกษาและพลศึกษา
6) ศิลปะ 7) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8) ภาษาต่างประเทศ โดยภาษาต่างประเทศเป็นสาระ
การเรียนรู้พื้นฐานซึ่งกาหนดให้เรียนตลอดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คือภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น เช่นภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุ่ น อาหรับ บาลี
และกลุ่มภาษาประเทศเพื่อนบ้าน หรือภาษาอื่น ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะจัดทารายวิชา
หรือจัดการเรียนรู้ตามความเหมาะสม การเรียนภาษาต่างประเทศมีลักษณะเฉพาะ (กรมวิชาการ.
2545 : 2) แตกต่างจากการเรียนสาระการเรียนรู้อื่นเนื่องจากผู้เรียนไม่ได้เรียนภาษาเพื่อความรู้
เกี่ยวกับภาษาเท่านั้น แต่เรียนภาษาเพื่อให้สามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารกับ
ผู้อื่นได้ตามความต้องการในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในชีวิตประจาวัน และการงานอาชีพ การที่ผู้เรียน
จะใช้ภาษาได้ถูกต้องคล่องแคล่วและเหมาะสมนั้น ขึ้นอยู่กับทักษะการใช้ภาษา ดังนั้น
ในการจัดการเรียนการสอนภาษาที่ดี ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาให้มากที่สุด
ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน การจัดกระบวนการเรียนการสอนต้องสอดคล้องกับธรรมชาติ
และลักษณะเฉพาะของภาษา การจัดการเรียนการสอนภาษาจึงควรจัดกิจกรรมให้หลากหลาย ซึ่ง
ต้องจัดกิจกรรมการฝึกทักษะทางภาษาและกิจกรรมการฝึกผู้เรียนให้รู้วิธีการเรียนภาษาด้วยตนเอง
ควบคู่ไปด้วย อันจะนาไปสู่การเป็นผู้เรียนที่พึ่งตนเองได้ (learner independence) และสามารถ
เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต (lifelong learning) โดยสามารถใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือในการ
ค้นคว้าหาความรู้ในการเรียนวิชาอื่น ในการศึกษาต่อ รวมทั้งในการประกอบอาชีพซึ่งเป็นจุดหมาย
สาคัญประการหนึ่งของการปฏิรูปการเรียนรู้
การสอนภาษาต่างประเทศในปัจจุบัน ได้ยึดแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารมากขึ้น การ
จัดการเรียนการสอนภาษาตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ที่มีการ
ฝึกปฏิบัติ ให้สามารถนาภาษาไปใช้ได้จริงตามหน้าที่ของภาษาในการสื่อความหมายโดยมีเป้ าหมาย
อยู่ที่การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตจริง การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
(learner-centered) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในชั้นเรียนให้มากที่สุด ให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้อย่างมีความหมาย ได้ฝึกใช้ภาษาในสถานการณ์จริงในชีวิตประจาวัน โดยการจัดกิจกรรมให้
เกิดการบูรณาการทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้านได้แก่ ทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการอ่าน และ
ทักษะการเขียน สื่อที่ใช้ควรเป็นสื่อที่พบจริงในชีวิตประจาวัน (authentic materials) โดยมีการวัด
และประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) และผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วย
ตนเองได้มากขึ้น
จากทักษะทางภาษาทั้ง 4 ดังกล่าวข้างต้น ทักษะการอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นและสาคัญ
อย่างยิ่ง เนื่องจากผู้เรียนต้องใช้ทักษะการอ่านในการอ่านตารา สื่อสิ่งพิมพ์ บทความ หรือการสืบค้น
ข้อมูลข่าวสารทางอินเตอร์เน็ตเพื่อแสวงหาความรู้อย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง การอ่านจึงเป็นทักษะที่
ผู้เรียนมีโอกาสใช้มากที่สุด (สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. 2532 : 83) และเป็นทักษะที่คงอยู่กับผู้เรียน
3
ไปตลอดชีวิต เพราะผู้เรียนสามารถใช้ทักษะการอ่านในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา
ทั้งในการเรียนระดับสูงหรือในการทางาน (สุมิตรา อังวัฒนกุล. 2537 : 13 ) การอ่านเป็น
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้อ่านและผู้เขียนในการให้ความรู้โดยการใช้ภาษา เป็นเครื่องมือ
เพื่อสื่อความหมาย ทักษะการอ่านเป็นทักษะที่สามารถเชื่อมโยงและบูรณาการกับทักษะทางภาษา
อื่น ๆ ได้ง่ายทั้งการฟัง การพูดและการเขียน เนื่องจากผู้อ่านสามารถนาข้อมูลที่ได้รับจากการอ่าน
มาใช้ประโยชน์ในการสื่อสารกับผู้อื่นได้ (เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. 2531 : 85) การอ่านเป็นทักษะ
ที่ต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างดี เพราะการอ่านไม่ใช่แต่เพียงอ่านตัวอักษรออกเท่านั้นแต่ต้องมี
ความเข้าใจด้วย ทักษะการอ่านจาเป็นต้องได้รับการฝึกฝนจากการเรียนในห้องเรียนจากครูผู้สอน
จนชานาญก่อนและเมื่อได้ฝึกการอ่านจนชานาญแล้วทักษะการอ่านก็จะติดตัวผู้เรียนต่อไป จึงนับว่า
ทักษะการอ่านเป็นทักษะที่ติดทนกับผู้เรียนได้นานที่สุด (เรวดี หิรัญ. 2539 : 149) และดูบิน
(Dubin. 1982 : 15) ได้กล่าวว่า การอ่านเป็นการอภิปรายร่วมกันตั้งแต่ต้นจนจบระหว่างผู้อ่านกับ
ผู้เขียน เป็นกระบวนการที่ผู้อ่านสื่อสารทางความคิดกับผู้เขียน ดังนั้นในการสอนทักษะการอ่าน
ครูผู้สอนจะต้องคานึงถึงการเลือกเนื้อหาที่จะนามาเป็นบทอ่าน ต้องมีการเตรียมการสอนและวิธี
การสอนที่ดี เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสามารถพัฒนาทักษะการอ่านให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น
ผลจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-Net) ปีการศึกษา 2554 ในวิชา
ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่าผลการประเมินระดับประเทศ มีคะแนน
เฉลี่ยเท่ากับ 21.80 โดยโรงเรียนช่องพรานวิทยา มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.53 และในปีการศึกษา
2555 ผลการประเมินระดับประเทศมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 22.13 ในขณะที่โรงเรียนช่องพรานวิทยา
มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 18.55 ซึ่งควรต้องเร่งพัฒนา (สานักทดสอบทางการศึกษา. online)
จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ต่า ในการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์นั้น
นักเรียนต้องมีความสามารถในการอ่านและเข้าใจข้อคาถามจึงจะสามารถตอบแบบทดสอบได้
จากการสัมภาษณ์นักเรียนหลังการสอบพบว่าสาเหตุหลักที่ผู้เรียนไม่สามารถทาแบบทดสอบได้
เนื่องจากนักเรียนไม่สามารถอ่านแบบทดสอบและอ่านแบบทดสอบแล้วไม่เข้าใจ อาจเป็นเพราะ
โครงสร้างเวลาเรียนภาษาอังกฤษพื้นฐานของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีเพียง 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
และต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครอบคลุมทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ทักษะการฟัง
การพูด การอ่าน และการเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศได้ตระหนักและทบทวนการ
โครงสร้างและเวลาเรียนจึงได้จัดรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่นักเรียน ซึ่งวิชาที่จัดให้
เป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คือ รายวิชาภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 โดยมี
วัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนโดยเฉพาะ
แต่ด้วยวิชาที่เป็นรายวิชาเพิ่มเติมนั้นไม่มีแบบเรียนเฉพาะเจาะจง ผู้สอนต้องทาหน้าที่ศึกษาเนื้อหา
4
และเตรียมเอกสารการสอนให้เหมาะกับระดับของนักเรียน และที่ผ่านมาครูผู้สอนใช้การสาเนา
เอกสารให้กับนักเรียน การสาเนาเอกสารนั้นเป็ นเอกสารขาวดา ไม่สามารถมีรูปภาพเป็ น
องค์ประกอบ ไม่น่าสนใจ ไม่กระตุ้นให้นักเรียนใฝ่เรียนรู้
จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น สื่อการเรียนการสอนจึงเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนา
ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ตามความมุ่งหวังของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
2551 ครูผู้สอนมีบทบาทสาคัญยิ่งในการจัดทา พัฒนา และเลือกใช้สื่อการเรียนรู้ที่ดีและ
มีประสิทธิภาพเหมาะสมตามความแตกต่างของผู้เรียน ด้วยเหตุนี้ สถานศึกษาควรให้การส่งเสริม
สนับสนุนให้มีการนาสื่อไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อผู้เรียนอย่างหลากหลายและ
เพียงพอ ค้นคว้าวิจัย พัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนตามศักยภาพของผู้เรียน
(สานักวิชาการมาตรฐานการศึกษา. 2551ข : 4) และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ให้ความสาคัญเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว้อย่างชัดเจนในหมวด 9 ว่าเทคโนโลยีจะยิ่งเพิ่มบทบาทสาคัญยิ่งขึ้น
ต่อการศึกษาสู่อนาคต จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่นักการศึกษาจะต้องทาการศึกษาในเรื่องนี้ เพื่อให้สามารถ
นาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการศึกษาและสังคม การนาสื่อและเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษามาใช้ก็นับว่าเป็ นสิ่งสาคัญยิ่ง ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดความรู้และทักษะ
ในกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ในการด้านการศึกษามีการสร้างสื่อต่าง ๆ
เก็บรวบรวมไว้ในรูปแบบดิจิตอลก่อให้เกิดการทดแทนสื่อต่าง ๆ ด้วยสื่อแบบอิเล็กทรอนิกส์
(สถาบันส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้. ม.ป.ป. : 8-9)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งของรูปแบบการให้
การศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษารูปแบบหนึ่งที่จะทาให้ผู้เรียนเข้าถึงการศึกษาได้ตาม
ความต้องการและสภาพของตนเอง e-Book มีลักษณะสาคัญที่สามารถเชื่อมโยงไปยังส่วนต่าง ๆ
ของหนังสือ สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสาร
ที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญ ก็คือ สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย
ได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป จึงอาจนับได้ว่า e-Book เป็นอีก
หนึ่งนวัตกรรมที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความต้องการและสภาพของตนเอง
จากความสาคัญของภาษาอังกฤษและจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้รายงานในฐานะผู้สอนจึง
สนใจสร้างและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อเป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนและ
เพื่อให้สื่อการเรียนการสอนใช้ผลได้ดียิ่งขึ้น ผู้รายงานจึงทาการศึกษาค้นคว้าหาวิธีการพัฒนา
ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพเพื่อปรับกิจกรรมการเรียนการ
สอนที่เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติงาน ฝึกเทคนิค
5
การอ่าน ให้สามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน ซึ่งพบว่าวิธีการสอนตามแนวทฤษฎี
การสอนภาษาแบบอรรถฐาน(Genre – Based Approach) มีความเหมาะสมในการนามาพัฒนา
ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน
ได้รับการพัฒนามาจากกลุ่มนักภาษาศาสตร์ชาวออสเตรเลียกลุ่มหนึ่ง คือ มาร์ติน และรอทเทอรี่
(Martin & Rothery) ซึ่งยึดหลักเดียวกันกับทฤษฎีภาษาศาสตร์เชิงระบบ (Systemic Linguistic
Theory) ของฮาลลิเดย์ (Halliday) ลักษณะของบริบทภาษาที่มีบทบาทในการทาให้เนื้อความ
มีความสาคัญและได้ความหมายที่ชัดเจน คือบริบทภาษาของสถานการณ์ต่าง ๆ (Context of
Situation) และบริบทของวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง (Context of Culture) อรรถลักษณะของภาษา
จะมีเป้ าหมายในตัวเองที่ชัดเจนที่จะสื่อให้ผู้ฟัง(หากเป็นภาษาพูด) และผู้อ่าน(หากเป็นภาษาเขียน)
สามารถเข้าใจเนื้อความที่ได้ฟังหรือได้อ่านชัดเจนแน่นอนขึ้นว่าผู้พูดหรือผู้เขียนมีเจตนาอย่างไร
ในการสื่อความ การเข้าใจอรรถลักษณะของเนื้อความต่าง ๆ จะทาให้การฟังหรือการอ่านชัดเจนขึ้น
การจับใจความสาคัญของเรื่องการหารายละเอียดของเรื่อง ลาดับของการดาเนินเนื้อความ
ในแต่ละอรรถลักษณะจะมีการลาดับเนื้อความแตกต่างกันไปไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ทาเนียบภาษาจะเปลี่ยนแปลงไปตามอรรถลักษณะในแต่ละเนื้อความของบริบทหนึ่ง ๆด้วย (ฉัตรชัย
อภิวันท์สนอง. 2548 : 3 ; อ้างอิงจาก เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. 2534 : 26-27) ซึ่งวิธีการสอนอ่าน
ตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานผู้เรียนจะได้ฝึ กทักษะการอ่านตามประเภท
ของเนื้อความ โดยการวิเคราะห์โครงสร้างของเรื่องและลักษณะการใช้ภาษาในเรื่องที่อ่าน
จับใจความสาคัญ หารายละเอียดของเรื่อง ลาดับการดาเนินเรื่อง โดยผู้เรียนมีโอกาสฝึกทักษะ
การอ่านเนื้อเรื่องใหม่ตามอรรถฐานเดิม ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ
ในเรื่องที่อ่านมากขึ้นและง่ายขึ้น
แนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre – Based Approach) ดังกล่าวข้างต้นได้รับ
ความสนใจอย่างกว้างขวางในต่างประเทศ ดังเช่น ฟรานซิส และฮอลแลม (Francis & Hallam.
2000) ได้ศึกษาผลกระทบของอรรถลักษณะของภาษาต่อการอ่านเนื้อความของนักเรียนที่ศึกษา
ในระดับสูงเพื่อความเข้าใจ โดยให้กลุ่มตัวอย่างอ่านบทความและตอบคาถามเกี่ยวกับการอ่านและ
ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และบันทึกเทปในขณะที่ผู้เรียนอภิปรายเกี่ยวกับคาตอบที่เหมือน
และต่างกัน พบว่าความเข้าใจในการอ่านของกลุ่มตัวอย่างที่อ่านบทความเดียวกันแตกต่างกัน
ออกไป โดยผู้เรียนให้เหตุผลว่าเนื่องมาจากความยากของภาษาและโครงสร้างของเนื้อความ โดยที่
อาไต (Atai. 2002 : 77-79) ได้ทาการศึกษาเปรียบเทียบการอ่านเพื่อความเข้าใจสาหรับภาษาอังกฤษ
เฉพาะกิจของนักศึกษาทันตแพทย์ ด้วยวิธีการสอนแบบอรรถฐาน (Genre – Based Approach) และ
6
ทฤษฎีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะกิจแบบดั้งเดิมหรือการสอนแบบแปล ผลการวิเคราะห์คะแนน
หลังการทดลองพบว่ากลุ่มทดลองที่สอนด้วยแนวการสอนแบบอรรถฐานทาได้ดีกว่ากลุ่มควบคุม
ที่สอนด้วยทฤษฎีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะกิจแบบดั้งเดิมหรือการสอนแบบแปล ทั้งนี้ยัง
สอดคล้องกับผลงานวิจัยในประเทศของณิชาภัทร วัฒน์พานิช (2543 : บทคัดย่อ) ซึ่งทาการศึกษา
เปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านและความสนใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษด้วยวิธีการสอน
ตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานด้วยสื่อหนังสือพิมพ์กับการสอนตามคู่มือครู
กลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่ได้รับ
การสอนตามแนวทฤษฎีอรรถฐานด้วยสื่อหนังสือพิมพ์กับนักเรียนที่ได้รับการสอนตามคู่มือครู
มีความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ
มนต์ชาตรี เกตุมุณี (2551 : บทคัดย่อ) ที่ทาการพัฒนาความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโดยใช้แนวทฤษฎีการสอนแบบอรรถฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาก่อนและหลังการเรียนตามแนว
ทฤษฎีการสอนแบบอรรถฐานแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
จากความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้รายงานจึงสร้างและพัฒนา
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ รายวิชาภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 และใช้หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ ตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานเพื่อพัฒนา
ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนช่องพรานวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ
การศึกษาครั้งนี้ ผู้รายงานได้กาหนดวัตถุประสงค์การศึกษาไว้ดังนี้
1. เพื่อสร้างและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ รายวิชา
ภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพื่อศึกษาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อน
เรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ ตามแนวทฤษฎีการสอน
ภาษาแบบอรรถฐาน
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง ‘Intensive Reading’
7
ขอบเขตกำรศึกษำ
1. ประชำกรกลุ่มตัวอย่ำง
1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
ช่องพรานวิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 64 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
ช่องพรานวิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย
(Simple Random Sampling)
2. ตัวแปรที่ใช้ในกำรศึกษำ
2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่
1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’
2) วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน
2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
1) ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ รายวิชา
ภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2) ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง ‘Intensive Reading’
3. เนื้อหำที่ใช้ในกำรศึกษำ
ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้รายงานได้คัดเลือกหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Famous People และ
Natural Disasters มาใช้ในการศึกษาโดยมีคาศัพท์ เนื้อหา โครงสร้างประโยคที่มีความยากง่าย
เหมาะสมกับระดับชั้นอีกทั้งเป็นเนื้อหาที่มีความน่าสนใจสอดคล้องกับชีวิตประจาวัน
4. ระยะเวลำ
ผู้รายงานดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โดยทาการทดสอบก่อน
การทดลองและปฐมนิเทศ 1 ชั่วโมง และใช้เวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง
รวม 20 ชั่วโมงแล้วจึงทาการทดสอบหลังการทดลอง 1 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 22 ชั่วโมง
8
นิยำมศัพท์เฉพำะ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง หนังสือที่จัดทาขึ้นในรูปของอิเล็กทรอนิกส์และสามารถ
อ่านได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถศึกษาเรียนรู้ได้ทุกเวลา ตามความต้องการของผู้เรียน
โดยผู้รายงานจัดทาขึ้นด้วยโปรแกรม Flip Album Vista Pro และบันทึกในรูปแบบแผ่นซีดีเพื่อ
ให้ผู้เรียนศึกษาผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์
แนวทฤษฎีกำรสอนภำษำแบบอรรถฐำน (Genre – Based Approach) หมายถึง การสอน
โดยจัดเนื้อหาตามชนิดของอรรถลักษณะทางภาษาที่แตกต่างกันโดยมีขั้นตอนการสอน 3 ขั้น
ซึ่งผู้รายงานได้ประยุกต์มาจากขั้นตอนการสอนของคาลลาแกน แน็พและโนเบิล (Callaghan ;
Knapp; & Nobel. (1993) ดังนี้
ขั้นที่ 1 การให้รูปแบบ (Modeling)
- นาเสนออรรถลักษณะของเนื้อความ การดาเนินเรื่อง
- วิเคราะห์โครงสร้างในการดาเนินเรื่องตามแผนภูมิอรรถลักษณะทางภาษา
ของเนื้อความแต่ละประเภท โดยผู้สอนชี้ให้เห็นว่ารูปแบบที่ให้นั้นผู้เขียนบทอ่านนั้น ๆ มีวิธีการ
ดาเนินเรื่องอย่างไร ซึ่งเป็นการวิเคราะห์เนื้อความร่วมกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
- วิเคราะห์ลักษณะของภาษาที่ใช้ในอรรถฐานนั้น ๆ ในขั้นตอนนี้ผู้เรียน
จะได้ทราบว่าวิธีการในการใช้รูปศัพท์หรือภาษาเป็นอย่างไร
ขั้นที่ 2 การตกลงร่วมกันเกี่ยวกับเนื้อความ (Joint Negotiation)
- เตรียมที่จะอ่านเนื้อความใหม่จากอรรถฐานเดิม ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการฝึก
ให้สังเกต (รูปแบบอรรถฐานเดิม) ค้นหา (เนื้อความใหม่ตามแนวอรรถฐาน) บันทึก (จดบันทึก
ลงแผนภูมิอรรถลักษณะ)
ขั้นที่ 3 การสร้างเนื้อความอิสระ (Independent Construction)
- นักเรียนเขียนนาเสนอเรื่องใหม่ของตนเองตามโครงสร้างอรรถฐาน
- นักเรียนนาเสนอเรื่องที่เขียนใหม่
ประสิทธิภำพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การตรวจสอบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้าง
ขึ้นให้มีค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ตามเกณฑ์ 80/80
เกณฑ์มาตรฐาน 80 ตัวแรก (E1) หมายถึง การหาประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ โดยประเมินจากคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบท้ายบทแต่ละบทเรียน จานวน4 บท
คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 80
9
เกณฑ์มาตรฐาน 80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง การหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้โดย
ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบวัดความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษ คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ
80
ควำมสำมำรถทำงกำรอ่ำนภำษำอังกฤษ หมายถึง ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษใน
ด้านการรู้ความหมายของคาศัพท์ จับใจความสาคัญ หารายละเอียด แปลความ ตีความ ลาดับ
เรื่องราวและสรุปความซึ่งวัดโดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษแบบ
เลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อซึ่งผู้รายงานสร้างขึ้นและหาคุณภาพของแบบทดสอบจาก
ค่าดัชนีความสอดคล้องโดยผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร การสอนภาษาอังกฤษและการวัดประเมินผล
จานวน 3 คน และผ่านการพัฒนาและหาคุณภาพของเครื่องมือแล้ว ซึ่งมีค่าความยากง่ายระหว่าง
0.20 – 0.80 ค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.81
ควำมพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ความคิดเห็นหรือความรู้สึกส่วนบุคคล
ที่มีต่อการเรียนจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อันเกิดจากการที่ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จากการเรียน
ผ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งวัดโดยการตอบแบบสอบถามวัดความพึงพอใจแบบประมาณค่า 5
ระดับ
สมมติฐำนกำรศึกษำ
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ รายวิชาภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80
2. ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูง
กว่าก่อนเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ ตามแนวทฤษฎีการสอน
ภาษาแบบอรรถฐาน
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
‘Intensive Reading” รายวิชาภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 โดยรวมอยู่ในระดับมาก
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. เป็นแนวทางในการจัดทาสื่อการเรียนการสอน ประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ
ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นนาไปใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา
เพิ่มเติมที่ไม่หนังสือแบบเรียนประกอบ
10
3. นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมและศึกษาได้ทุกเวลาเมื่อนักเรียน
ต้องการ

More Related Content

Similar to E-Book_Intensive_Reading_Chapter1

รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะOopip' Orranicha
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์Phiromporn Norachan
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8ฝฝ' ฝน
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
Pp chapter4
Pp chapter4Pp chapter4
Pp chapter4edk2bn
 
บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1yaowalakMathEd
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 

Similar to E-Book_Intensive_Reading_Chapter1 (20)

รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
 
241203 ed-math
241203 ed-math241203 ed-math
241203 ed-math
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทยการพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
 
Pp chapter4
Pp chapter4Pp chapter4
Pp chapter4
 
บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 

E-Book_Intensive_Reading_Chapter1

  • 1. บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ สังคมปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลของเทคโนโลยีการสื่อสารที่ มีความก้าวหน้าล้ายุคสมัยอย่างรวดเร็ว เพื่อให้มนุษย์มีความสามารถในการก้าวทันเทคโนโลยี ทางการสื่อสารและความสามารถในการใช้ภาษาในการสื่อสาร จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาทั้งด้าน ความรู้และความสามารถ การศึกษาจึงมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาคนซึ่งได้มีการกาหนดไว้อย่าง ชัดเจนในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 11) ซึ่งได้กาหนดแนวการจัดการศึกษาไว้ในมาตรา 22 ว่า การจัดการ ศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพการจัดการศึกษามุ่งเน้นความสาคัญทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อพัฒนาคนให้มีความสมดุล โดยยึด หลักผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุด หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551ก : 3-6 ) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ เรียนรู้เป็นเป้ าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบน พื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กับความเป็ นสากล เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ เป็นหลักสูตรที่สนอง การกระจายอานาจ เป็ นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและ การจัดการเรียน และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเป็นหลักการสาคัญของหลักสูตร มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ โดยการพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์ 3) วิทยาศาสตร์ 4) สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 5) สุขศึกษาและพลศึกษา 6) ศิลปะ 7) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8) ภาษาต่างประเทศ โดยภาษาต่างประเทศเป็นสาระ
  • 2. การเรียนรู้พื้นฐานซึ่งกาหนดให้เรียนตลอดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น เช่นภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุ่ น อาหรับ บาลี และกลุ่มภาษาประเทศเพื่อนบ้าน หรือภาษาอื่น ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะจัดทารายวิชา หรือจัดการเรียนรู้ตามความเหมาะสม การเรียนภาษาต่างประเทศมีลักษณะเฉพาะ (กรมวิชาการ. 2545 : 2) แตกต่างจากการเรียนสาระการเรียนรู้อื่นเนื่องจากผู้เรียนไม่ได้เรียนภาษาเพื่อความรู้ เกี่ยวกับภาษาเท่านั้น แต่เรียนภาษาเพื่อให้สามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารกับ ผู้อื่นได้ตามความต้องการในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในชีวิตประจาวัน และการงานอาชีพ การที่ผู้เรียน จะใช้ภาษาได้ถูกต้องคล่องแคล่วและเหมาะสมนั้น ขึ้นอยู่กับทักษะการใช้ภาษา ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอนภาษาที่ดี ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาให้มากที่สุด ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน การจัดกระบวนการเรียนการสอนต้องสอดคล้องกับธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของภาษา การจัดการเรียนการสอนภาษาจึงควรจัดกิจกรรมให้หลากหลาย ซึ่ง ต้องจัดกิจกรรมการฝึกทักษะทางภาษาและกิจกรรมการฝึกผู้เรียนให้รู้วิธีการเรียนภาษาด้วยตนเอง ควบคู่ไปด้วย อันจะนาไปสู่การเป็นผู้เรียนที่พึ่งตนเองได้ (learner independence) และสามารถ เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต (lifelong learning) โดยสามารถใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือในการ ค้นคว้าหาความรู้ในการเรียนวิชาอื่น ในการศึกษาต่อ รวมทั้งในการประกอบอาชีพซึ่งเป็นจุดหมาย สาคัญประการหนึ่งของการปฏิรูปการเรียนรู้ การสอนภาษาต่างประเทศในปัจจุบัน ได้ยึดแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารมากขึ้น การ จัดการเรียนการสอนภาษาตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ที่มีการ ฝึกปฏิบัติ ให้สามารถนาภาษาไปใช้ได้จริงตามหน้าที่ของภาษาในการสื่อความหมายโดยมีเป้ าหมาย อยู่ที่การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตจริง การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในชั้นเรียนให้มากที่สุด ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้อย่างมีความหมาย ได้ฝึกใช้ภาษาในสถานการณ์จริงในชีวิตประจาวัน โดยการจัดกิจกรรมให้ เกิดการบูรณาการทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้านได้แก่ ทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการอ่าน และ ทักษะการเขียน สื่อที่ใช้ควรเป็นสื่อที่พบจริงในชีวิตประจาวัน (authentic materials) โดยมีการวัด และประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) และผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วย ตนเองได้มากขึ้น จากทักษะทางภาษาทั้ง 4 ดังกล่าวข้างต้น ทักษะการอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นและสาคัญ อย่างยิ่ง เนื่องจากผู้เรียนต้องใช้ทักษะการอ่านในการอ่านตารา สื่อสิ่งพิมพ์ บทความ หรือการสืบค้น ข้อมูลข่าวสารทางอินเตอร์เน็ตเพื่อแสวงหาความรู้อย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง การอ่านจึงเป็นทักษะที่ ผู้เรียนมีโอกาสใช้มากที่สุด (สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. 2532 : 83) และเป็นทักษะที่คงอยู่กับผู้เรียน
  • 3. 3 ไปตลอดชีวิต เพราะผู้เรียนสามารถใช้ทักษะการอ่านในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา ทั้งในการเรียนระดับสูงหรือในการทางาน (สุมิตรา อังวัฒนกุล. 2537 : 13 ) การอ่านเป็น กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้อ่านและผู้เขียนในการให้ความรู้โดยการใช้ภาษา เป็นเครื่องมือ เพื่อสื่อความหมาย ทักษะการอ่านเป็นทักษะที่สามารถเชื่อมโยงและบูรณาการกับทักษะทางภาษา อื่น ๆ ได้ง่ายทั้งการฟัง การพูดและการเขียน เนื่องจากผู้อ่านสามารถนาข้อมูลที่ได้รับจากการอ่าน มาใช้ประโยชน์ในการสื่อสารกับผู้อื่นได้ (เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. 2531 : 85) การอ่านเป็นทักษะ ที่ต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างดี เพราะการอ่านไม่ใช่แต่เพียงอ่านตัวอักษรออกเท่านั้นแต่ต้องมี ความเข้าใจด้วย ทักษะการอ่านจาเป็นต้องได้รับการฝึกฝนจากการเรียนในห้องเรียนจากครูผู้สอน จนชานาญก่อนและเมื่อได้ฝึกการอ่านจนชานาญแล้วทักษะการอ่านก็จะติดตัวผู้เรียนต่อไป จึงนับว่า ทักษะการอ่านเป็นทักษะที่ติดทนกับผู้เรียนได้นานที่สุด (เรวดี หิรัญ. 2539 : 149) และดูบิน (Dubin. 1982 : 15) ได้กล่าวว่า การอ่านเป็นการอภิปรายร่วมกันตั้งแต่ต้นจนจบระหว่างผู้อ่านกับ ผู้เขียน เป็นกระบวนการที่ผู้อ่านสื่อสารทางความคิดกับผู้เขียน ดังนั้นในการสอนทักษะการอ่าน ครูผู้สอนจะต้องคานึงถึงการเลือกเนื้อหาที่จะนามาเป็นบทอ่าน ต้องมีการเตรียมการสอนและวิธี การสอนที่ดี เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสามารถพัฒนาทักษะการอ่านให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น ผลจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-Net) ปีการศึกษา 2554 ในวิชา ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่าผลการประเมินระดับประเทศ มีคะแนน เฉลี่ยเท่ากับ 21.80 โดยโรงเรียนช่องพรานวิทยา มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.53 และในปีการศึกษา 2555 ผลการประเมินระดับประเทศมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 22.13 ในขณะที่โรงเรียนช่องพรานวิทยา มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 18.55 ซึ่งควรต้องเร่งพัฒนา (สานักทดสอบทางการศึกษา. online) จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ต่า ในการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์นั้น นักเรียนต้องมีความสามารถในการอ่านและเข้าใจข้อคาถามจึงจะสามารถตอบแบบทดสอบได้ จากการสัมภาษณ์นักเรียนหลังการสอบพบว่าสาเหตุหลักที่ผู้เรียนไม่สามารถทาแบบทดสอบได้ เนื่องจากนักเรียนไม่สามารถอ่านแบบทดสอบและอ่านแบบทดสอบแล้วไม่เข้าใจ อาจเป็นเพราะ โครงสร้างเวลาเรียนภาษาอังกฤษพื้นฐานของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีเพียง 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครอบคลุมทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศได้ตระหนักและทบทวนการ โครงสร้างและเวลาเรียนจึงได้จัดรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่นักเรียน ซึ่งวิชาที่จัดให้ เป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คือ รายวิชาภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 โดยมี วัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนโดยเฉพาะ แต่ด้วยวิชาที่เป็นรายวิชาเพิ่มเติมนั้นไม่มีแบบเรียนเฉพาะเจาะจง ผู้สอนต้องทาหน้าที่ศึกษาเนื้อหา
  • 4. 4 และเตรียมเอกสารการสอนให้เหมาะกับระดับของนักเรียน และที่ผ่านมาครูผู้สอนใช้การสาเนา เอกสารให้กับนักเรียน การสาเนาเอกสารนั้นเป็ นเอกสารขาวดา ไม่สามารถมีรูปภาพเป็ น องค์ประกอบ ไม่น่าสนใจ ไม่กระตุ้นให้นักเรียนใฝ่เรียนรู้ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น สื่อการเรียนการสอนจึงเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ตามความมุ่งหวังของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ครูผู้สอนมีบทบาทสาคัญยิ่งในการจัดทา พัฒนา และเลือกใช้สื่อการเรียนรู้ที่ดีและ มีประสิทธิภาพเหมาะสมตามความแตกต่างของผู้เรียน ด้วยเหตุนี้ สถานศึกษาควรให้การส่งเสริม สนับสนุนให้มีการนาสื่อไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อผู้เรียนอย่างหลากหลายและ เพียงพอ ค้นคว้าวิจัย พัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนตามศักยภาพของผู้เรียน (สานักวิชาการมาตรฐานการศึกษา. 2551ข : 4) และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ให้ความสาคัญเกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว้อย่างชัดเจนในหมวด 9 ว่าเทคโนโลยีจะยิ่งเพิ่มบทบาทสาคัญยิ่งขึ้น ต่อการศึกษาสู่อนาคต จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่นักการศึกษาจะต้องทาการศึกษาในเรื่องนี้ เพื่อให้สามารถ นาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการศึกษาและสังคม การนาสื่อและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษามาใช้ก็นับว่าเป็ นสิ่งสาคัญยิ่ง ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดความรู้และทักษะ ในกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ในการด้านการศึกษามีการสร้างสื่อต่าง ๆ เก็บรวบรวมไว้ในรูปแบบดิจิตอลก่อให้เกิดการทดแทนสื่อต่าง ๆ ด้วยสื่อแบบอิเล็กทรอนิกส์ (สถาบันส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้. ม.ป.ป. : 8-9) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งของรูปแบบการให้ การศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษารูปแบบหนึ่งที่จะทาให้ผู้เรียนเข้าถึงการศึกษาได้ตาม ความต้องการและสภาพของตนเอง e-Book มีลักษณะสาคัญที่สามารถเชื่อมโยงไปยังส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสาร ที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญ ก็คือ สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย ได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป จึงอาจนับได้ว่า e-Book เป็นอีก หนึ่งนวัตกรรมที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความต้องการและสภาพของตนเอง จากความสาคัญของภาษาอังกฤษและจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้รายงานในฐานะผู้สอนจึง สนใจสร้างและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อเป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนและ เพื่อให้สื่อการเรียนการสอนใช้ผลได้ดียิ่งขึ้น ผู้รายงานจึงทาการศึกษาค้นคว้าหาวิธีการพัฒนา ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพเพื่อปรับกิจกรรมการเรียนการ สอนที่เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติงาน ฝึกเทคนิค
  • 5. 5 การอ่าน ให้สามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และแก้ไขปัญหาร่วมกัน เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน ซึ่งพบว่าวิธีการสอนตามแนวทฤษฎี การสอนภาษาแบบอรรถฐาน(Genre – Based Approach) มีความเหมาะสมในการนามาพัฒนา ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน ได้รับการพัฒนามาจากกลุ่มนักภาษาศาสตร์ชาวออสเตรเลียกลุ่มหนึ่ง คือ มาร์ติน และรอทเทอรี่ (Martin & Rothery) ซึ่งยึดหลักเดียวกันกับทฤษฎีภาษาศาสตร์เชิงระบบ (Systemic Linguistic Theory) ของฮาลลิเดย์ (Halliday) ลักษณะของบริบทภาษาที่มีบทบาทในการทาให้เนื้อความ มีความสาคัญและได้ความหมายที่ชัดเจน คือบริบทภาษาของสถานการณ์ต่าง ๆ (Context of Situation) และบริบทของวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง (Context of Culture) อรรถลักษณะของภาษา จะมีเป้ าหมายในตัวเองที่ชัดเจนที่จะสื่อให้ผู้ฟัง(หากเป็นภาษาพูด) และผู้อ่าน(หากเป็นภาษาเขียน) สามารถเข้าใจเนื้อความที่ได้ฟังหรือได้อ่านชัดเจนแน่นอนขึ้นว่าผู้พูดหรือผู้เขียนมีเจตนาอย่างไร ในการสื่อความ การเข้าใจอรรถลักษณะของเนื้อความต่าง ๆ จะทาให้การฟังหรือการอ่านชัดเจนขึ้น การจับใจความสาคัญของเรื่องการหารายละเอียดของเรื่อง ลาดับของการดาเนินเนื้อความ ในแต่ละอรรถลักษณะจะมีการลาดับเนื้อความแตกต่างกันไปไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทาเนียบภาษาจะเปลี่ยนแปลงไปตามอรรถลักษณะในแต่ละเนื้อความของบริบทหนึ่ง ๆด้วย (ฉัตรชัย อภิวันท์สนอง. 2548 : 3 ; อ้างอิงจาก เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. 2534 : 26-27) ซึ่งวิธีการสอนอ่าน ตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานผู้เรียนจะได้ฝึ กทักษะการอ่านตามประเภท ของเนื้อความ โดยการวิเคราะห์โครงสร้างของเรื่องและลักษณะการใช้ภาษาในเรื่องที่อ่าน จับใจความสาคัญ หารายละเอียดของเรื่อง ลาดับการดาเนินเรื่อง โดยผู้เรียนมีโอกาสฝึกทักษะ การอ่านเนื้อเรื่องใหม่ตามอรรถฐานเดิม ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องที่อ่านมากขึ้นและง่ายขึ้น แนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน (Genre – Based Approach) ดังกล่าวข้างต้นได้รับ ความสนใจอย่างกว้างขวางในต่างประเทศ ดังเช่น ฟรานซิส และฮอลแลม (Francis & Hallam. 2000) ได้ศึกษาผลกระทบของอรรถลักษณะของภาษาต่อการอ่านเนื้อความของนักเรียนที่ศึกษา ในระดับสูงเพื่อความเข้าใจ โดยให้กลุ่มตัวอย่างอ่านบทความและตอบคาถามเกี่ยวกับการอ่านและ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และบันทึกเทปในขณะที่ผู้เรียนอภิปรายเกี่ยวกับคาตอบที่เหมือน และต่างกัน พบว่าความเข้าใจในการอ่านของกลุ่มตัวอย่างที่อ่านบทความเดียวกันแตกต่างกัน ออกไป โดยผู้เรียนให้เหตุผลว่าเนื่องมาจากความยากของภาษาและโครงสร้างของเนื้อความ โดยที่ อาไต (Atai. 2002 : 77-79) ได้ทาการศึกษาเปรียบเทียบการอ่านเพื่อความเข้าใจสาหรับภาษาอังกฤษ เฉพาะกิจของนักศึกษาทันตแพทย์ ด้วยวิธีการสอนแบบอรรถฐาน (Genre – Based Approach) และ
  • 6. 6 ทฤษฎีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะกิจแบบดั้งเดิมหรือการสอนแบบแปล ผลการวิเคราะห์คะแนน หลังการทดลองพบว่ากลุ่มทดลองที่สอนด้วยแนวการสอนแบบอรรถฐานทาได้ดีกว่ากลุ่มควบคุม ที่สอนด้วยทฤษฎีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะกิจแบบดั้งเดิมหรือการสอนแบบแปล ทั้งนี้ยัง สอดคล้องกับผลงานวิจัยในประเทศของณิชาภัทร วัฒน์พานิช (2543 : บทคัดย่อ) ซึ่งทาการศึกษา เปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านและความสนใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษด้วยวิธีการสอน ตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานด้วยสื่อหนังสือพิมพ์กับการสอนตามคู่มือครู กลุ่มตัวอย่างในการทดลองคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่ได้รับ การสอนตามแนวทฤษฎีอรรถฐานด้วยสื่อหนังสือพิมพ์กับนักเรียนที่ได้รับการสอนตามคู่มือครู มีความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ มนต์ชาตรี เกตุมุณี (2551 : บทคัดย่อ) ที่ทาการพัฒนาความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโดยใช้แนวทฤษฎีการสอนแบบอรรถฐาน ผลการวิจัยพบว่า ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาก่อนและหลังการเรียนตามแนว ทฤษฎีการสอนแบบอรรถฐานแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้รายงานจึงสร้างและพัฒนา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ รายวิชาภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 และใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ ตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐานเพื่อพัฒนา ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนช่องพรานวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ การศึกษาครั้งนี้ ผู้รายงานได้กาหนดวัตถุประสงค์การศึกษาไว้ดังนี้ 1. เพื่อสร้างและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ รายวิชา ภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อศึกษาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อน เรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ ตามแนวทฤษฎีการสอน ภาษาแบบอรรถฐาน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’
  • 7. 7 ขอบเขตกำรศึกษำ 1. ประชำกรกลุ่มตัวอย่ำง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ช่องพรานวิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 64 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ช่องพรานวิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) 2. ตัวแปรที่ใช้ในกำรศึกษำ 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ 2) วิธีสอนตามแนวทฤษฎีการสอนภาษาแบบอรรถฐาน 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 1) ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ รายวิชา ภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2) ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ 3. เนื้อหำที่ใช้ในกำรศึกษำ ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้รายงานได้คัดเลือกหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Famous People และ Natural Disasters มาใช้ในการศึกษาโดยมีคาศัพท์ เนื้อหา โครงสร้างประโยคที่มีความยากง่าย เหมาะสมกับระดับชั้นอีกทั้งเป็นเนื้อหาที่มีความน่าสนใจสอดคล้องกับชีวิตประจาวัน 4. ระยะเวลำ ผู้รายงานดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โดยทาการทดสอบก่อน การทดลองและปฐมนิเทศ 1 ชั่วโมง และใช้เวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง รวม 20 ชั่วโมงแล้วจึงทาการทดสอบหลังการทดลอง 1 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 22 ชั่วโมง
  • 8. 8 นิยำมศัพท์เฉพำะ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง หนังสือที่จัดทาขึ้นในรูปของอิเล็กทรอนิกส์และสามารถ อ่านได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถศึกษาเรียนรู้ได้ทุกเวลา ตามความต้องการของผู้เรียน โดยผู้รายงานจัดทาขึ้นด้วยโปรแกรม Flip Album Vista Pro และบันทึกในรูปแบบแผ่นซีดีเพื่อ ให้ผู้เรียนศึกษาผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ แนวทฤษฎีกำรสอนภำษำแบบอรรถฐำน (Genre – Based Approach) หมายถึง การสอน โดยจัดเนื้อหาตามชนิดของอรรถลักษณะทางภาษาที่แตกต่างกันโดยมีขั้นตอนการสอน 3 ขั้น ซึ่งผู้รายงานได้ประยุกต์มาจากขั้นตอนการสอนของคาลลาแกน แน็พและโนเบิล (Callaghan ; Knapp; & Nobel. (1993) ดังนี้ ขั้นที่ 1 การให้รูปแบบ (Modeling) - นาเสนออรรถลักษณะของเนื้อความ การดาเนินเรื่อง - วิเคราะห์โครงสร้างในการดาเนินเรื่องตามแผนภูมิอรรถลักษณะทางภาษา ของเนื้อความแต่ละประเภท โดยผู้สอนชี้ให้เห็นว่ารูปแบบที่ให้นั้นผู้เขียนบทอ่านนั้น ๆ มีวิธีการ ดาเนินเรื่องอย่างไร ซึ่งเป็นการวิเคราะห์เนื้อความร่วมกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน - วิเคราะห์ลักษณะของภาษาที่ใช้ในอรรถฐานนั้น ๆ ในขั้นตอนนี้ผู้เรียน จะได้ทราบว่าวิธีการในการใช้รูปศัพท์หรือภาษาเป็นอย่างไร ขั้นที่ 2 การตกลงร่วมกันเกี่ยวกับเนื้อความ (Joint Negotiation) - เตรียมที่จะอ่านเนื้อความใหม่จากอรรถฐานเดิม ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการฝึก ให้สังเกต (รูปแบบอรรถฐานเดิม) ค้นหา (เนื้อความใหม่ตามแนวอรรถฐาน) บันทึก (จดบันทึก ลงแผนภูมิอรรถลักษณะ) ขั้นที่ 3 การสร้างเนื้อความอิสระ (Independent Construction) - นักเรียนเขียนนาเสนอเรื่องใหม่ของตนเองตามโครงสร้างอรรถฐาน - นักเรียนนาเสนอเรื่องที่เขียนใหม่ ประสิทธิภำพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การตรวจสอบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้าง ขึ้นให้มีค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ตามเกณฑ์ 80/80 เกณฑ์มาตรฐาน 80 ตัวแรก (E1) หมายถึง การหาประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการ เรียนรู้ โดยประเมินจากคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบท้ายบทแต่ละบทเรียน จานวน4 บท คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 80
  • 9. 9 เกณฑ์มาตรฐาน 80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง การหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้โดย ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบวัดความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษ คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 80 ควำมสำมำรถทำงกำรอ่ำนภำษำอังกฤษ หมายถึง ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษใน ด้านการรู้ความหมายของคาศัพท์ จับใจความสาคัญ หารายละเอียด แปลความ ตีความ ลาดับ เรื่องราวและสรุปความซึ่งวัดโดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษแบบ เลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อซึ่งผู้รายงานสร้างขึ้นและหาคุณภาพของแบบทดสอบจาก ค่าดัชนีความสอดคล้องโดยผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร การสอนภาษาอังกฤษและการวัดประเมินผล จานวน 3 คน และผ่านการพัฒนาและหาคุณภาพของเครื่องมือแล้ว ซึ่งมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20 – 0.80 ค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.81 ควำมพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ความคิดเห็นหรือความรู้สึกส่วนบุคคล ที่มีต่อการเรียนจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อันเกิดจากการที่ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จากการเรียน ผ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งวัดโดยการตอบแบบสอบถามวัดความพึงพอใจแบบประมาณค่า 5 ระดับ สมมติฐำนกำรศึกษำ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ รายวิชาภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 2. ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading’ ตามแนวทฤษฎีการสอน ภาษาแบบอรรถฐาน 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ‘Intensive Reading” รายวิชาภาษาอังกฤษแบบเข้ม 6 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. เป็นแนวทางในการจัดทาสื่อการเรียนการสอน ประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นนาไปใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา เพิ่มเติมที่ไม่หนังสือแบบเรียนประกอบ