SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
แบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ภาษาเป็นเรื่องทักษะ ซึ่งจาแนกได้เป็น 2 ทาง คือ ทักษะการ
รับเข้า ได้แก่ การอ่านและการฟัง และทักษะการแสดงออก ได้แก่ กา
รพูดและเขียน ทักษะทางภาษาจาเป็นต้องฝึกฝนอยู่เสมอ แบบฝึกเสริม
ทักษะนับว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างหนึ่งสาหรับการเรียนภาษาได้มีผู้รู้และผู้
เชี่ยวชาญทางภาษา ให้ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะไว้ ดังนี้
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2535 :
16) ให้ความหมาย แบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง สิ่งที่นักเรียนต้อง
ใช้ควบคู่กับการเรียน ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบฝึกที่ครอบคลุมกิจกรรมที่นั
กเรียนพึงกระทา อาจกาหนดแยกเป็นแต่ละหน่วย หรืออาจรวมเล่มก็ไ
ด้
ลักษณา อินทะจักร (2538 :
161) ให้ความหมาย แบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง
แบบฝึกที่ครูสร้างขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่า
งแท้จริง
ศศิธร ธัญลักษณานันท์ (2542 :
375) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง แบบฝึกเสริมทักษ
ะที่ใช้ฝึกความเข้าใจ ฝึกทักษะต่าง ๆ
และทดสอบความสามารถของนักเรียนตามบทเรียนที่ครูสอนว่า นักเรีย
นเข้าใจและสามารถนาไปใช้ได้มากน้อยเพียงใด
กู๊ด (Good 1973 : 224,
อ้างถึงใน ลักษณา อินทะจักร 2538 :
160) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง งานหรือการบ้าน
ที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทา เพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมาแล้ว และ
เป็นการฝึกทักษะการใช้กฎใช้สูตรต่าง ๆ ที่เรียนไป
พจนานุกรม เวบสเตอร์ (Webster 1981 :
64) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่าหมายถึง โจทย์ปัญหา หรือตั
วอย่างที่ยกมาจากหนังสือ เพื่อนามาใช้สอนหรือให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะ
ต่าง ๆ ให้ดีขึ้น หลังจากที่เรียนบทเรียนไปแล้ว
ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง งานหรือ
กิจกรรมที่ครู สร้างขึ้น โดยมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อฝึกให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น และช่วยฝึก
ทักษะต่าง ๆ
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง อาจจะให้นักเรียนทาแบบฝึกขณะ
เรียนหรือหลังจากจบบทเรียนไปแล้วก็ได้
ความสาคัญของแบบฝึกเสริมทักษะ
ภายหลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไปแล้วการเรีย
นการสอนนั้นย่อม ไม่เกิดผลอย่างเต็มที่ถ้าไม่ได้รับการฝึกทักษะให้เกิด
ความชานาญและเข้าใจอย่างแท้จริงโดยเฉพาะวิชาภาษาไทยเพราะภา
ษาไทยเป็นวิชาทักษะซึ่งเป็นวิชาที่ต้องอาศัยการฝึกฝนเพื่อเป็นเครื่องมื
อในการเรียนรู้วิชาอื่น ๆ
และการดาเนินชีวิตประจาวันตามที่หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช
2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2533) ต้องการ ดังนั้นในการสอนภาษาไทยจึงต้องมีการฝึกฝนให้เกิดค
วามชานาญคล่องแคล่ว เพื่อช่วยให้เด็กเกิดพัฒนาการทางภาษาเพิ่มขึ้น
ตามวัยและความสามารถของตนที่จะทาได้ และเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้
ฝึกทักษะทางภาษาให้ได้ผลดีก็คือ แบบฝึกเสริมทักษะ ดังที่นักวิชาการห
ลายท่านได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกเสริมทักษะไว้ดังนี้
กมล ดิษฐกมล (2526 : 18,
อ้างถึงใน ลักษณา อินทะจักร 2538 :
163) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะเป็นหัวใจของการสอนวิชาทักษะอยู่
ที่การฝึก การฝึกอย่างถูกวิธีเท่านั้นจะทาให้เกิดความชานิชานาญ คล่
องแคล่วว่องไวและทาได้โดยอัตโนมัติ
วีระ ไทยพานิช (2528 :
11) ได้อธิบายว่า แบบฝึกเสริมทักษะทาให้เกิดการเรียนรู้จากการกระ
ทาจริง เป็นประสบการณ์ตรงที่ผู้เรียนมีจุดประสงค์แน่นอน ทาให้สามา
รถรู้และจดจาสิ่งที่เรียนได้ดี จนนาไปใช้ในสถานการณ์เช่นเดียวกันได้
เพตตี้ (Petty 1963 :
269) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกเสริมทักษะไว้อย่างชัดเจนว่าแ
บบฝึกเสริมทักษะเป็นส่วนเพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทัก
ษะ เป็นอุปกรณ์การสอนที่ช่วยลดภาระของครูได้มาก ช่วยส่งเสริมให้ทั
กษะทางภาษาคงทน ช่วยในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล เพราะก
ารให้นักเรียนทาแบบฝึกเสริมทักษะที่เหมาะสมกับความสามารถของตนเ
อง จะทาให้ประสบผลสาเร็จทางด้านจิตใจมาก ทั้งยังช่วยให้นักเรียนสา
มารถทบทวนสิ่งที่เรียนได้ด้วยตนเองและใช้เป็นเครื่องมือวัดผลการเรีย
นได้อีกด้วย
ดังนั้น แบบฝึกเสริมทักษะจึงเป็นเครื่องมือสาคัญ ที่จะช่วยให้ผ
ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น แบบฝึกเสริมทักษะจึงนับว่ามี
ความสาคัญและจาเป็นต่อการเรียนวิชาที่ต้องการฝึกฝนเพื่อให้เกิดควา
มชานาญ มีความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนมากยิ่งขึ้น
ลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะ
การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักในกา
รสร้างที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะด้วย ซึ่งมีผู้รู้ได้
เสนอแนะไว้ดังนี้
การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักในกา
รสร้างที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะด้วย ซึ่งมีผู้รู้ได้
เสนอแนะไว้ดังนี้
นิตยา ฤทธิ์โยธี (2520 :
1) ได้กล่าวถึงลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะไว้ว่า แบบฝึกเสริมทัก
ษะต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนมาแล้ว เหมาะสมกับระดับ วัย หรือความ
สามารถของเด็ก มีคาชี้แจงสั้น ๆ
ที่ทาให้เด็กเข้าใจวิธีทาได้ง่าย ใช้เวลาเหมาะสมหรือใช้เวลาไม่นาน แล
ะเป็นสิ่งที่น่าสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ
สามารถ มีศรี (2530 :
28) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีต้องเกี่ยวกับบทเรียนที่เรียนมาแล้วเ
หมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีคาสั่งและคาอธิบาย มีคาแนะนาการใช้แบ
บฝึกเสริมทักษะ มีรูปแบบที่น่าสนใจและมีกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ
โรจนา แสงรุ่งระวี (2531 :
22) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีนอกจากมีคาอธิบายชัดเจนแล้วคว
รเป็นแบบฝึกสั้น ๆ ใช้เวลาในการฝึกไม่นานเกินไปและมีหลายรูปแบบ
ฉะนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดี ครูผู้สร้างจะต้อ
งยึดหลักจิตวิทยา ใช้สานวนภาษาที่ง่าย เหมาะสมกับวัย ความสามาร
ถของผู้เรียน มีกิจกรรมหลากหลาย มีคาสั่ง คาอธิบาย และคาแนะนา
การใช้แบบฝึกเสริมทักษะที่ชัดเจนเข้าใจง่าย ใช้เวลาในการฝึกไม่นาน
และที่สาคัญมีความหมายต่อชีวิต เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
หลักการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ
การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักการสร้า
งที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะด้วย ซึ่งในเรื่องนี้ได้
มีผู้เสนอแนะไว้ดังนี้
วรนาถ พ่วงสุวรรณ (2518 : 34 –
37) ได้ให้หลักการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะไว้ดังนี้
1. ตั้งจุดประสงค์
2. ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา
3. ขั้นต่าง ๆ ในการสร้าง
3.1 ศึกษาปัญหาในการเรียนการสอน
3.2 ศึกษาหลักจิตวิทยาของเด็กและจิตวิทยาการเรียนการสอน
3.3 ศึกษาเนื้อหาวิชา
3.4 ศึกษาลักษณะของแบบฝึกเสริมทักษะ
3.5 วางโครงเรื่องและกาหนดรูปแบบให้สัมพันธ์กับโครงเรื่อง
3.6 เลือกเนื้อหาต่าง ๆ
ที่เหมาะสมมาบรรจุในแบบฝึกเสริมทักษะให้ครบตามที่กาหนด
เกสร รองเดช (2522 : 36-
37) ได้เสนอแนะแนวทางในการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะดังนี้
1. สร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้เหมาะสมกับวัยของนักเรียน
คือ ไม่ง่ายไม่ยากจนเกินไป
2. เรียงลาดับแบบฝึกเสริมทักษะจากง่ายไปหายาก โดยเริ่
มจากการฝึกออกเสียงเป็นพยางค์ คา วลี ประโยค และคาประพันธ์
3. แบบฝึกเสริมทักษะบางแบบควรใช้ภาพประกอบ เพื่อดึง
ดูดความสนใจของนักเรียน ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนประสบความสาเร็จใน
การฝึก และจะช่วยยั่วยุให้ติดตามต่อไปตามหลักของการจูงใจ
4. แบบฝึกเสริมทักษะที่สร้างขึ้นเป็นแบบฝึกสั้น ๆ ง่าย ๆ
ใช้เวลาในการฝึกประมาณ 30 ถึง 45 นาที
5. เพื่อป้องกันความเบื่อหน่าย แบบฝึกต้องมีลักษณะต่าง ๆ
เช่น ประสมคาจากภาพ เล่นกับบัตรภาพ เติมคาลงในช่องว่าง อ่านคา
ประพันธ์ ฝึกร้องเพลง และใช้เกมต่าง ๆ ประกอบ
หลักจิตวิทยาที่นามาใช้ในการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ
การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพ สาหรับนาไปใช้
กับนักเรียนนั้น ต้องอาศัยหลักจิตวิทยาในการเรียนรู้ และทฤษฎีที่ถือว่
าเป็นแนวความคิดพื้นฐานของการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะเข้าช่วย เพื่
อให้สอดคล้องกับความสนใจและความสามารถของนักเรียน
เดโช สวนานนท์ (2521 : 159 –
163) ได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้ของ ธอร์นไดค์ และสกินเนอร์ (Th
orndike and Skinner) ดังนี้
ธอร์นไดค์ ได้ตั้งกฎการเรียนรู้ขึ้น 3 กฎ ซึ่งนามาใช้ในการสร้างแบบ
ฝึกเสริมทักษะ ได้แก่
1. กฎแห่งผล (Law of Effect) มีใจความว่าการเชื่อมโยงกั
นระหว่างสิ่งเร้ากับการ
ตอบสนองจะดียิ่งขึ้นเมื่อผู้เรียนแน่ใจว่าพฤติกรรมตอบสนองของตนถูก
ต้อง การให้รางวัลจะช่วยส่งเสริมการแสดงพฤติกรรมนั้น ๆ อีก
2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) มีใจความว่า การที่มีโ
อกาสได้กระทาซ้า ๆ ในพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งนั้น ๆ
จะมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น การฝึกหัดที่มีการควบคุมที่ดีจะส่งเสริมผลต่อก
ารเรียนรู้

More Related Content

What's hot

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 

What's hot (20)

แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 

Similar to ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ

การสอน Writing
การสอน Writingการสอน Writing
การสอน WritingYoo Ni
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Krudoremon
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...aphithak
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
การศึกษาร่วมสมัย
การศึกษาร่วมสมัยการศึกษาร่วมสมัย
การศึกษาร่วมสมัยWutdy Kbu
 

Similar to ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ (16)

E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
E-Book_Intensive_Reading_Chapter1E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
E-Book_Intensive_Reading_Chapter1
 
การสอน Writing
การสอน Writingการสอน Writing
การสอน Writing
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
การศึกษาร่วมสมัย
การศึกษาร่วมสมัยการศึกษาร่วมสมัย
การศึกษาร่วมสมัย
 

More from สมใจ จันสุกสี

ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every dayใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVสมใจ จันสุกสี
 
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4สมใจ จันสุกสี
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการสมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตสมใจ จันสุกสี
 
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59สมใจ จันสุกสี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1สมใจ จันสุกสี
 
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์สมใจ จันสุกสี
 

More from สมใจ จันสุกสี (20)

ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every dayใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
 
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
 
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่ Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
 
Asking and giving personal information
Asking and giving personal informationAsking and giving personal information
Asking and giving personal information
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
 
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
 
Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint
 
Present continuous tense 1
Present continuous tense 1Present continuous tense 1
Present continuous tense 1
 
Singular and plural
Singular and pluralSingular and plural
Singular and plural
 
This, that , these , those
This, that , these , thoseThis, that , these , those
This, that , these , those
 
there is / there and prepositions
there is / there and prepositionsthere is / there and prepositions
there is / there and prepositions
 
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
 
Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3
 
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
 

ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ

  • 1. แบบฝึกเสริมทักษะ ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ ภาษาเป็นเรื่องทักษะ ซึ่งจาแนกได้เป็น 2 ทาง คือ ทักษะการ รับเข้า ได้แก่ การอ่านและการฟัง และทักษะการแสดงออก ได้แก่ กา รพูดและเขียน ทักษะทางภาษาจาเป็นต้องฝึกฝนอยู่เสมอ แบบฝึกเสริม ทักษะนับว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างหนึ่งสาหรับการเรียนภาษาได้มีผู้รู้และผู้ เชี่ยวชาญทางภาษา ให้ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะไว้ ดังนี้ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2535 : 16) ให้ความหมาย แบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง สิ่งที่นักเรียนต้อง ใช้ควบคู่กับการเรียน ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบฝึกที่ครอบคลุมกิจกรรมที่นั กเรียนพึงกระทา อาจกาหนดแยกเป็นแต่ละหน่วย หรืออาจรวมเล่มก็ไ ด้ ลักษณา อินทะจักร (2538 : 161) ให้ความหมาย แบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง แบบฝึกที่ครูสร้างขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่า งแท้จริง ศศิธร ธัญลักษณานันท์ (2542 : 375) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง แบบฝึกเสริมทักษ ะที่ใช้ฝึกความเข้าใจ ฝึกทักษะต่าง ๆ และทดสอบความสามารถของนักเรียนตามบทเรียนที่ครูสอนว่า นักเรีย นเข้าใจและสามารถนาไปใช้ได้มากน้อยเพียงใด กู๊ด (Good 1973 : 224, อ้างถึงใน ลักษณา อินทะจักร 2538 : 160) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง งานหรือการบ้าน ที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทา เพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมาแล้ว และ เป็นการฝึกทักษะการใช้กฎใช้สูตรต่าง ๆ ที่เรียนไป
  • 2. พจนานุกรม เวบสเตอร์ (Webster 1981 : 64) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่าหมายถึง โจทย์ปัญหา หรือตั วอย่างที่ยกมาจากหนังสือ เพื่อนามาใช้สอนหรือให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะ ต่าง ๆ ให้ดีขึ้น หลังจากที่เรียนบทเรียนไปแล้ว ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง งานหรือ กิจกรรมที่ครู สร้างขึ้น โดยมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย มีจุดมุ่งหมาย เพื่อฝึกให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น และช่วยฝึก ทักษะต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง อาจจะให้นักเรียนทาแบบฝึกขณะ เรียนหรือหลังจากจบบทเรียนไปแล้วก็ได้ ความสาคัญของแบบฝึกเสริมทักษะ ภายหลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไปแล้วการเรีย นการสอนนั้นย่อม ไม่เกิดผลอย่างเต็มที่ถ้าไม่ได้รับการฝึกทักษะให้เกิด ความชานาญและเข้าใจอย่างแท้จริงโดยเฉพาะวิชาภาษาไทยเพราะภา ษาไทยเป็นวิชาทักษะซึ่งเป็นวิชาที่ต้องอาศัยการฝึกฝนเพื่อเป็นเครื่องมื อในการเรียนรู้วิชาอื่น ๆ และการดาเนินชีวิตประจาวันตามที่หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ต้องการ ดังนั้นในการสอนภาษาไทยจึงต้องมีการฝึกฝนให้เกิดค วามชานาญคล่องแคล่ว เพื่อช่วยให้เด็กเกิดพัฒนาการทางภาษาเพิ่มขึ้น ตามวัยและความสามารถของตนที่จะทาได้ และเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ ฝึกทักษะทางภาษาให้ได้ผลดีก็คือ แบบฝึกเสริมทักษะ ดังที่นักวิชาการห ลายท่านได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกเสริมทักษะไว้ดังนี้ กมล ดิษฐกมล (2526 : 18, อ้างถึงใน ลักษณา อินทะจักร 2538 :
  • 3. 163) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะเป็นหัวใจของการสอนวิชาทักษะอยู่ ที่การฝึก การฝึกอย่างถูกวิธีเท่านั้นจะทาให้เกิดความชานิชานาญ คล่ องแคล่วว่องไวและทาได้โดยอัตโนมัติ วีระ ไทยพานิช (2528 : 11) ได้อธิบายว่า แบบฝึกเสริมทักษะทาให้เกิดการเรียนรู้จากการกระ ทาจริง เป็นประสบการณ์ตรงที่ผู้เรียนมีจุดประสงค์แน่นอน ทาให้สามา รถรู้และจดจาสิ่งที่เรียนได้ดี จนนาไปใช้ในสถานการณ์เช่นเดียวกันได้ เพตตี้ (Petty 1963 : 269) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกเสริมทักษะไว้อย่างชัดเจนว่าแ บบฝึกเสริมทักษะเป็นส่วนเพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทัก ษะ เป็นอุปกรณ์การสอนที่ช่วยลดภาระของครูได้มาก ช่วยส่งเสริมให้ทั กษะทางภาษาคงทน ช่วยในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล เพราะก ารให้นักเรียนทาแบบฝึกเสริมทักษะที่เหมาะสมกับความสามารถของตนเ อง จะทาให้ประสบผลสาเร็จทางด้านจิตใจมาก ทั้งยังช่วยให้นักเรียนสา มารถทบทวนสิ่งที่เรียนได้ด้วยตนเองและใช้เป็นเครื่องมือวัดผลการเรีย นได้อีกด้วย ดังนั้น แบบฝึกเสริมทักษะจึงเป็นเครื่องมือสาคัญ ที่จะช่วยให้ผ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น แบบฝึกเสริมทักษะจึงนับว่ามี ความสาคัญและจาเป็นต่อการเรียนวิชาที่ต้องการฝึกฝนเพื่อให้เกิดควา มชานาญ มีความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนมากยิ่งขึ้น ลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักในกา รสร้างที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะด้วย ซึ่งมีผู้รู้ได้ เสนอแนะไว้ดังนี้
  • 4. การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักในกา รสร้างที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะด้วย ซึ่งมีผู้รู้ได้ เสนอแนะไว้ดังนี้ นิตยา ฤทธิ์โยธี (2520 : 1) ได้กล่าวถึงลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะไว้ว่า แบบฝึกเสริมทัก ษะต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนมาแล้ว เหมาะสมกับระดับ วัย หรือความ สามารถของเด็ก มีคาชี้แจงสั้น ๆ ที่ทาให้เด็กเข้าใจวิธีทาได้ง่าย ใช้เวลาเหมาะสมหรือใช้เวลาไม่นาน แล ะเป็นสิ่งที่น่าสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ สามารถ มีศรี (2530 : 28) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีต้องเกี่ยวกับบทเรียนที่เรียนมาแล้วเ หมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีคาสั่งและคาอธิบาย มีคาแนะนาการใช้แบ บฝึกเสริมทักษะ มีรูปแบบที่น่าสนใจและมีกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ โรจนา แสงรุ่งระวี (2531 : 22) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีนอกจากมีคาอธิบายชัดเจนแล้วคว รเป็นแบบฝึกสั้น ๆ ใช้เวลาในการฝึกไม่นานเกินไปและมีหลายรูปแบบ ฉะนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดี ครูผู้สร้างจะต้อ งยึดหลักจิตวิทยา ใช้สานวนภาษาที่ง่าย เหมาะสมกับวัย ความสามาร ถของผู้เรียน มีกิจกรรมหลากหลาย มีคาสั่ง คาอธิบาย และคาแนะนา การใช้แบบฝึกเสริมทักษะที่ชัดเจนเข้าใจง่าย ใช้เวลาในการฝึกไม่นาน และที่สาคัญมีความหมายต่อชีวิต เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน หลักการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ
  • 5. การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักการสร้า งที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะด้วย ซึ่งในเรื่องนี้ได้ มีผู้เสนอแนะไว้ดังนี้ วรนาถ พ่วงสุวรรณ (2518 : 34 – 37) ได้ให้หลักการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะไว้ดังนี้ 1. ตั้งจุดประสงค์ 2. ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา 3. ขั้นต่าง ๆ ในการสร้าง 3.1 ศึกษาปัญหาในการเรียนการสอน 3.2 ศึกษาหลักจิตวิทยาของเด็กและจิตวิทยาการเรียนการสอน 3.3 ศึกษาเนื้อหาวิชา 3.4 ศึกษาลักษณะของแบบฝึกเสริมทักษะ 3.5 วางโครงเรื่องและกาหนดรูปแบบให้สัมพันธ์กับโครงเรื่อง 3.6 เลือกเนื้อหาต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาบรรจุในแบบฝึกเสริมทักษะให้ครบตามที่กาหนด เกสร รองเดช (2522 : 36- 37) ได้เสนอแนะแนวทางในการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะดังนี้ 1. สร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้เหมาะสมกับวัยของนักเรียน คือ ไม่ง่ายไม่ยากจนเกินไป 2. เรียงลาดับแบบฝึกเสริมทักษะจากง่ายไปหายาก โดยเริ่ มจากการฝึกออกเสียงเป็นพยางค์ คา วลี ประโยค และคาประพันธ์ 3. แบบฝึกเสริมทักษะบางแบบควรใช้ภาพประกอบ เพื่อดึง ดูดความสนใจของนักเรียน ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนประสบความสาเร็จใน การฝึก และจะช่วยยั่วยุให้ติดตามต่อไปตามหลักของการจูงใจ
  • 6. 4. แบบฝึกเสริมทักษะที่สร้างขึ้นเป็นแบบฝึกสั้น ๆ ง่าย ๆ ใช้เวลาในการฝึกประมาณ 30 ถึง 45 นาที 5. เพื่อป้องกันความเบื่อหน่าย แบบฝึกต้องมีลักษณะต่าง ๆ เช่น ประสมคาจากภาพ เล่นกับบัตรภาพ เติมคาลงในช่องว่าง อ่านคา ประพันธ์ ฝึกร้องเพลง และใช้เกมต่าง ๆ ประกอบ หลักจิตวิทยาที่นามาใช้ในการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพ สาหรับนาไปใช้ กับนักเรียนนั้น ต้องอาศัยหลักจิตวิทยาในการเรียนรู้ และทฤษฎีที่ถือว่ าเป็นแนวความคิดพื้นฐานของการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะเข้าช่วย เพื่ อให้สอดคล้องกับความสนใจและความสามารถของนักเรียน เดโช สวนานนท์ (2521 : 159 – 163) ได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้ของ ธอร์นไดค์ และสกินเนอร์ (Th orndike and Skinner) ดังนี้ ธอร์นไดค์ ได้ตั้งกฎการเรียนรู้ขึ้น 3 กฎ ซึ่งนามาใช้ในการสร้างแบบ ฝึกเสริมทักษะ ได้แก่ 1. กฎแห่งผล (Law of Effect) มีใจความว่าการเชื่อมโยงกั นระหว่างสิ่งเร้ากับการ ตอบสนองจะดียิ่งขึ้นเมื่อผู้เรียนแน่ใจว่าพฤติกรรมตอบสนองของตนถูก ต้อง การให้รางวัลจะช่วยส่งเสริมการแสดงพฤติกรรมนั้น ๆ อีก 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) มีใจความว่า การที่มีโ อกาสได้กระทาซ้า ๆ ในพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งนั้น ๆ จะมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น การฝึกหัดที่มีการควบคุมที่ดีจะส่งเสริมผลต่อก ารเรียนรู้