SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

การวัดการกระจายของข้ อมูล
การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ พสัย
ิ
ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้พิสย สามารถหาพิสยของข้อมูล
ั
ั
ได้ ดังนี้
1. พิสยของข้อมูล หาได้จากการนาข้อมูลที่มีค่าสูงสุดลบด้วยข้อมูลที่มีค่าต่าสุ ด หรื อ
ั
พิสยของข้อมูล คือ ค่าที่ใช้วดการกระจายของข้อมูลที่ได้จากผลต่าง
ั
ั
ระหว่างข้อมูลที่มีค่าสูงสุด และข้อมูลที่มีค่าต่าสุด
ถ้าให้ x1 , x2 , x3 ,…,xn เป็ นข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ จะเขียนพิสยอยูในรู ป
ั ่
สัญลักษณ์ได้ ดังนี้
2.

พิสย =
ั

xmax – xmin

เมือ
่

xmax แทน ข้อมูลที่มีค่าสูงสุด
xmin แทน ข้อมูลที่มีค่าต่าสุด

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

1
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนหาพิสยของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ เติมลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
ั
ั
ข้อ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

ข้อมูล

ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด

1 , 5 , 7 , 11 , 15
20 , 38 , 12 , 28 , 42
10 , 20 , 30 , 40 , 50 , 60 , 70
9, 11 , 13 , 15 , 17 , 21 , 33 , 43
2 , 6 , 8 , 90 , 12 , 14 , 16 , 18 , 20 , 22
53 , 56 , 58 , 69 , 65 , 63 , 71 , 74
110 , 112 , 118 , 162 , 142, 153 , 158
153 , 156 , 154 , 162 , 165, 172 , 145 , 165 ,
145 , 157
9. 2.5 , 3.5 , 4.5 , 8.5 , 9.5 , 10.5 , 12.5
10. 11.2 , 8.2 , 7.2 , 12.2 , 14.2 , 13.2 , 16.2 ,
17.2 , 18.2 , 6.2 , 5.2 , 4.2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

พิสย
ั

2
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

พิสัย
พิสย เป็ นค่าที่ใช้วดการกระจายของข้อมูล ที่หาได้จากการนาข้อมูลที่มีค่าสูงสุด ลบด้วยข้อมูล ที่มี
ั
ั
ค่าต่าสุด และเป็ นการวัดการกระจายของข้อมูลที่ค่อนข้างหยาบ เพราะเป็ นค่าที่คานวณจากค่าเพียงสองค่า
เท่านั้น แต่การวัดการกระจายโดยใช้พิสย สามารถวัดได้สะดวก และรวดเร็วกว่าวิธีอื่น ๆ
ั
การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ พสัย
ิ
ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้พิสย สามารถหาพิสยของ
ั
ั
ข้อมูลได้ ดังนี้
1.

พิสยของข้อมูล หาได้จากการนาข้อมูลที่มีค่าสูงสุดลบด้วยข้อมูลที่มีค่าต่าสุด หรื อ
ั
พิสย คือ ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีค่าสูงสุด – ขอบล่างของ
ั
อันตรภาคชั้นที่มีค่าต่าสุด

2.

จากข้อ 1 อาจเขียนแทนพิสยในรู ปสัญลักษณ์ ได้ดงนี้
ั
ั
พิสย = U – L
ั
เมือ
่

U
L

แทน ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีค่าสูงสุด
แทน ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มค่าต่าสุด
ี

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

3
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
ั
ู
ข้อ
1.

2.

3.

ข้อมูล
2–4

คะแนน
ความถี่

U

5 – 7 8 – 10

5

3

L

11 –13

2

8

60–62 63 –65 66 –68 69 –71
น้ าหนัก
18
42
27
จานวน น.ร. 3
น้ าหนัก
จานวน น.ร.

130–135 136–141 142–147 148–153

10

15

25

5

4.

คะแนน
ความถี่

10–19 20 –29 30 –39 40 –49

5.

คะแนน
ความถี่

6–10 11 –15 16 –20 21 –25

5

8

หมายเหตุ

7

8

10

3

50–59
15
26–30

12

10

7

U
L

แทน ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีค่าสูงสุด
แทน ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มค่าต่าสุด
ี

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

ค่าพิสยของ
ั
ข้อมูล

4
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6
ส่ วนเบียงเบนควอร์ ไทล์
่
การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนควอร์ ไทล์
่
ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
ของข้อมูล สามารถหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลได้ ดังนี้
1. ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ หาได้โดยเอาค่า Q3 ลงด้วย Q1 แล้วหารด้วย 2 หรื อ
ส่ วนเบียงเบนควอร์ ไทล์ คือ ค่าที่ใช้วดการกระจายของข้อมูล ซึ่งเท่ากับ
่
ั
ครึ่ งหนึ่งของผลต่างระหว่างควอร์ไทล์ที่ 3 กับควอร์ไทล์ที่ 1
2. ถ้าให้ Q.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ จะได้
Q.D. =

Q 3  Q1
2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

5
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
ั
ู
ข้อ

ข้อมูล

Q1

Q3

1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

10 , 2 , 6 , 8 , 4, 12 , 16 , 20 , 18
5 , 10 , 15 , 20, 25 , 30 , 35
3 , 7 , 11 , 15 , 5 , 9 , 13
3 , 5 , 9 , 14 , 18
4 , 24 , 12 , 18 , 26 , 30 , 42
50 , 53 , 52 , 55 , 60 , 54 , 51
5 , 10 , 15 , 20, 25 , 30 , 35 , 40 , 45 , 50, 55
, 60
8. 9 , 11 , 13 , 17 , 15 , 21 , 19
9. 8 , 10 , 12 , 20 , 24 , 30 , 26 , 22
10. 2 , 6 , 8 , 10 , 16 , 14 , 12

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
(Q.D.)

6
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6
การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนควอร์ ไทล์
่
ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูล
สามารถหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลได้ ดังนี้
1. หาค่าของ Q1 และ Q3 จากสูตร Qr =

L

rN
F
4
I
f

2. หาผลต่างระหว่าง Q3 และ Q1
3. นา 2 หาร หาผลต่างระหว่าง Q3 และ Q1 ในข้อ 2 จะได้ค่าของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
ตามต้องการ (Q.D.)
4. สรุ ปสูตรในการหาส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ได้ดงนี้
ั
Q.D =

Q3  Q1
2

เมือ
่
Q.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
Q3 แทน ควอร์ไทล์ที่ 3
Q1

แทน ควอร์ไทล์ที่ 1

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

7
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
ั
ู
ข้อ

ข้อมูล

1.

คะแนน
ความถี่

30–39
5

2.

คะแนน
ความถี่

1–3
2

3

คะแนน
ความถี่

40–45
12

4

คะแนน
ความถี่

5

คะแนน
ความถี่

40–49
3
4– 6
4

Q1

50–59
6
7– 9
6

46–51
8

60-69 70-79 80-89
7
9
10

10 - 12
8

52–57
10

13 – 15
13

78-63
16

16 – 18
7

64-69
4

160-165

166 –171

172 –177

178 –183

3

7

8

22

95–100 89–94
2
5

83 – 88
13

77 – 82
10

71 – 76
10

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

Q3

ส่วนเบี่ยงเบน
ควอร์ไทล์ (Q.D.)

8
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลีย
่
การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนเฉลีย
่
่
ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ส่วนเบี่ ยงเบนเฉลี่ย
สามารถหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลได้ ดังนี้

1. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต 
X 

N

X






i

i 1






N

2. หาผลรวมค่าสัมบูรณ์ของความแตกต่าง ระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่า กับค่าเฉลี่ย
เลขคณิ ต

N

x
i 1

i

x

3. นาจานวนข้อมูลหารผลลัพธ์ที่ได้ในข้อ 2 จะได้ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูล
ตามต้องการ
4. ถ้าให้ M.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย จะได้ว่า
N

M.D. =

x
i 1

i

x

N

หรื อเขียนในรู ปย่อได้ดงนี้
ั
x
M.D. = 

x

N

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

9
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
ั
ู
ข้ อ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ข้ อมูล

X

x

x

4 , 5 , 8 , 12
1,3,6,4,8,3,5,2
6,3,8,5,3
2 , 4 , 14 , 15 , 20 , 53 , 71 , 101
20 , 20 , 22 , 35 , 40 , 40 , 101
3,5,7,9
6,8,4,2,7,3
5 , 7 , 9 , 11 , 4 , 12
5.2 , 1.8 , 7.1 , 7.1
157 , 156 , 160 , 156 , 175 , 160 , 156

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
(M.D.)

10
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6
การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนเฉลีย
่
่
ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
สามารถหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลได้ ดังนี้
1. หาจุดกึ่งกลางของแต่ละชั้น (xi)
k

2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต จากสูตร

x



 fx
i 1

N

3. หาผลต่างของ xi กับ x โดยไม่คิดเครื่ องหมาย
4. นา fi คูณกับ
5. หาผลบวกของ

x

i

ของแต่ละชั้น f i x i  x 
ของแต่ละชั้น   f x

x


x



ในแต่ละชั้น

xi x

k

fi x i

 i 1

i

 x



6. นาผลลัพธ์ในข้อ 5 หารด้วยจานวนข้อมูล (N) ก็จะได้ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยตามต้องการ
ถ้าให้ M.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย จะได้ว่า
k

M .D . 

f
i 1

x

i

i

x

N

หรื อเขียนในรู ปย่อได้ดงนี้
ั
M .D . 

f

x x
N

ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่าง การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย โดยละเอียด
ตัวอย่าง

จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของคะแนนและความถี่ ต่อไปนี้
คะแนน
ความถี่

30–39 40–49 50–59 60–69 70–79
2
3
11
20
32

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

80–89
25

90 – 99
7

11
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6
วิธีทา
คะแนน
30–39
40–49
50–59
60–69
70–79
80–89
90 – 99

f
2
3
11
20
32
25
7
N = 100

x
34.5
44.5
54.5
64.5
74.5
84.5
94.5

จากสูตร

x

แทนค่าจะได้ x

fx
69.0
133.5
599.5
1,290.0
2,384.0
2,112.5
661.5
fx = 7,250

=

และ จากสูตร

f x x

34.5 – 72.5= 38

76
84
198
160
64
300
154

44.5 – 72.5= 28
54.5 – 72.5= 18
64.5 – 72.5=

8
74.5 – 72.5= 2
84.5 – 72.5= 12
94.5 – 72.5= 22

 fx
N

=
=

x x

7 ,250
100

72.5

M .D . 

แทนค่า M.D. =

f

x x
N

1,036
100

= 10.36

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

f

x  x  1,036

12
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
ั
ู
ข้อ
1.

2.

ข้อมูล
คะแนน
ความถี่
คะแนน
ความถี่

3

คะแนน
ความถี่

4

คะแนน
ความถี่

5

คะแนน
ความถี่

10–14
3

15–19
7

0-2
8

34 – 40
2

115–119 120–124
2
4

2-14 5-7
10

20–24
8

27 - 33
5

20–26
3

110–114
8

x

3

3–5
7

8–10 11–13

25-29
2
41 – 47
10

125-–129 130-–134
6
12
14 —16 17-19

7

8

2

6-8
5

9–11
3

12 – 14
8

20- 22

9

1

15 –17
9

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

f

x x

ส่วนเบี่ยงเบน
เฉลี่ย

13
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6
ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน
่
การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน
่
1. ความหมายของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ ค่าที่ใช้วดการกระจายที่ได้จากการหาร
ั
รากที่สอง ของค่าเฉลี่ยกาลังสอง ของผลต่างระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่า
กับค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดนั้น
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะใช้สญลักษณ์ S และ S.D.
ั
2. การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
จากความหมายของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะสามารถหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ได้ตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
1. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ( x )
2. หาผลต่างระหว่างข้อมูลกับค่าเฉลี่ยเลขคณิต x i  x 
2
3. หารกาลังสองของผลต่าง ในข้อ x i  x 
4. หาผลบวกของกาลังสองของผลต่าง ในข้อ 3  x  x  


N

2

i

 i 1

5. หารผลบวกในข้อ 4 ด้วยจานวนข้อมูล




 x  x
 i 1
N



N

6. หารากที่สองที่ไม่ใช้จานวนลบของผลหารในข้อ 5












2








 x
N

i 1

N

จากลาดับขั้น 1 – 6 สรุ ปเป็ นสูตรการหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ได้ดงนี้
ั
 x
N

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) =

i 1

i

x



2

N

N

x

หรื อ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) =

i 1

N

2
i

 

 x

หรื อ เขียนในรู ปย่อ ได้ดงนี้
ั
S =
หรื อ S =

 x

x



2

N

x
N

2

 

 x

2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

i

2

x



2








14
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6
จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
5,6,6,6,7,8

ตัวอย่างที่ 1
วิธีทา

xi
5
6
6
6
7
8
N

xi

xi x

(x i  x ) 2

- 1.3
- 0.3
- 0.3
0.3
0.7
1.7

1.69
0.09
0.09
0.09
0.49
2.89

 x

= 38

i 1

i 1



2

N

i

x

= 5.34

N

จากสูตร

x

=

แทนค่า จะได้

x

=

x
i 1

i

N
38
6

= 6.3
 x
N

จากสูตร

S =

i 1

i

x



2

N

แทนค่า จะได้

S =
S =
=

ตัวอย่างที่ 2

5 . 34
6

0 . 89

0.94

จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
1 , 2 , 4 , 7 , 9 , 12

วิธีทา
xi
1
2
4
7

xi x

(x i  x ) 2

- 4.8
- 3.8
- 1.8
1.2

23.04
14.44
3.24
1.44

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

15
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6
9
12

3.2
6.2

10.24
38.44

 x

N

 x = 35
i 1

i 1

จากสูตร

x

x

=

= 90.84

35
6

=

i

x

= xi
i 1

แทนค่า จะได้



2

N

i

5.8

N

 x
N

จากสูตร

S =

i 1

i

x



2

N

แทนค่า จะได้

S =

90 . 84
6

S =
90
=
3.90
ตัวอย่างที่ 3 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุ (ปี ) ของเด็ก 8 คน ซึ่งมีอายุ ดังนี้
15 , 14 , 12 , 10 , 10 , 9 , 8 , 6
วิธีทา ในที่น้ ีจะหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้สูตร
N

x

S =

i 1

2
i

N

xi

15

14

12

 

 x

10

2

10

9

8

6

 x = 84
N

i 1

x i2

225

196

144

100

100

81

64

36

 x = 946
N

i 1

จากสูตร

x

= xi
i 1

แทนค่า จะได้

x

=

84
8

=

10.5

N

N

จากสูตร

S =

x
i 1

N

แทนค่า จะได้

S =
S =

2
i

 

 x

2

946
2
 10 . 5 
8

118 . 25  110 . 25

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

i

2
i

16
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6
= 8
= 2.83 ปี

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

17
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6

แบบฝึ กทักษะ
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์
ั
ู
ข้อ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ข้อมูล

x

4,5,6,9
3,4,5,6,7
2,3,5,6
1,3,6,48,3,5,2
13 , 9 , 14 , 6 , 8 , 11 , 5 , 8 , 8 , 6 , 11 , 9
3,5,7,9
6,8,4,2,7,3
2 , 4 , 14 , 15 , 20 , 53 , 71 , 101
5.2 , 1.8 , 7.1 , 7.1
157 , 156 , 160 , 156 , 175 160 , 156

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

 x

x

 ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน
2

18

More Related Content

What's hot

แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
พัน พัน
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
krurutsamee
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล NOranee Seelopa
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับ
ReungWora
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
Wijitta DevilTeacher
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Kuntoonbut Wissanu
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
KruGift Girlz
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
krurutsamee
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 

What's hot (20)

แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับ
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 

Similar to การวัดการกระจายของข้อมูล

2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์othanatoso
 
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลบทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลsawed kodnara
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
tanongsak
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมnoeiinoii
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Nattanan Rassameepak
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
Parn Parai
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1
chaimate
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
อภิเทพ ทองเจือ
 
statistic_research.ppt
statistic_research.pptstatistic_research.ppt
statistic_research.ppt
SuwanPetchroong
 

Similar to การวัดการกระจายของข้อมูล (20)

2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลบทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
7 statistic
7 statistic7 statistic
7 statistic
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
statistic_research.ppt
statistic_research.pptstatistic_research.ppt
statistic_research.ppt
 
06
0606
06
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 

More from KruGift Girlz

เซต
เซตเซต
เซต
KruGift Girlz
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
KruGift Girlz
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
KruGift Girlz
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
KruGift Girlz
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
KruGift Girlz
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
KruGift Girlz
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
KruGift Girlz
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
KruGift Girlz
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
KruGift Girlz
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
KruGift Girlz
 

More from KruGift Girlz (10)

เซต
เซตเซต
เซต
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
 

การวัดการกระจายของข้อมูล

  • 1. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 การวัดการกระจายของข้ อมูล การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ พสัย ิ ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้พิสย สามารถหาพิสยของข้อมูล ั ั ได้ ดังนี้ 1. พิสยของข้อมูล หาได้จากการนาข้อมูลที่มีค่าสูงสุดลบด้วยข้อมูลที่มีค่าต่าสุ ด หรื อ ั พิสยของข้อมูล คือ ค่าที่ใช้วดการกระจายของข้อมูลที่ได้จากผลต่าง ั ั ระหว่างข้อมูลที่มีค่าสูงสุด และข้อมูลที่มีค่าต่าสุด ถ้าให้ x1 , x2 , x3 ,…,xn เป็ นข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ จะเขียนพิสยอยูในรู ป ั ่ สัญลักษณ์ได้ ดังนี้ 2. พิสย = ั xmax – xmin เมือ ่ xmax แทน ข้อมูลที่มีค่าสูงสุด xmin แทน ข้อมูลที่มีค่าต่าสุด เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนหาพิสยของข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี้ เติมลงในช่องว่างให้สมบูรณ์ ั ั ข้อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. ข้อมูล ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด 1 , 5 , 7 , 11 , 15 20 , 38 , 12 , 28 , 42 10 , 20 , 30 , 40 , 50 , 60 , 70 9, 11 , 13 , 15 , 17 , 21 , 33 , 43 2 , 6 , 8 , 90 , 12 , 14 , 16 , 18 , 20 , 22 53 , 56 , 58 , 69 , 65 , 63 , 71 , 74 110 , 112 , 118 , 162 , 142, 153 , 158 153 , 156 , 154 , 162 , 165, 172 , 145 , 165 , 145 , 157 9. 2.5 , 3.5 , 4.5 , 8.5 , 9.5 , 10.5 , 12.5 10. 11.2 , 8.2 , 7.2 , 12.2 , 14.2 , 13.2 , 16.2 , 17.2 , 18.2 , 6.2 , 5.2 , 4.2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั พิสย ั 2
  • 3. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 พิสัย พิสย เป็ นค่าที่ใช้วดการกระจายของข้อมูล ที่หาได้จากการนาข้อมูลที่มีค่าสูงสุด ลบด้วยข้อมูล ที่มี ั ั ค่าต่าสุด และเป็ นการวัดการกระจายของข้อมูลที่ค่อนข้างหยาบ เพราะเป็ นค่าที่คานวณจากค่าเพียงสองค่า เท่านั้น แต่การวัดการกระจายโดยใช้พิสย สามารถวัดได้สะดวก และรวดเร็วกว่าวิธีอื่น ๆ ั การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ พสัย ิ ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้พิสย สามารถหาพิสยของ ั ั ข้อมูลได้ ดังนี้ 1. พิสยของข้อมูล หาได้จากการนาข้อมูลที่มีค่าสูงสุดลบด้วยข้อมูลที่มีค่าต่าสุด หรื อ ั พิสย คือ ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีค่าสูงสุด – ขอบล่างของ ั อันตรภาคชั้นที่มีค่าต่าสุด 2. จากข้อ 1 อาจเขียนแทนพิสยในรู ปสัญลักษณ์ ได้ดงนี้ ั ั พิสย = U – L ั เมือ ่ U L แทน ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีค่าสูงสุด แทน ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มค่าต่าสุด ี เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 3
  • 4. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์ ั ู ข้อ 1. 2. 3. ข้อมูล 2–4 คะแนน ความถี่ U 5 – 7 8 – 10 5 3 L 11 –13 2 8 60–62 63 –65 66 –68 69 –71 น้ าหนัก 18 42 27 จานวน น.ร. 3 น้ าหนัก จานวน น.ร. 130–135 136–141 142–147 148–153 10 15 25 5 4. คะแนน ความถี่ 10–19 20 –29 30 –39 40 –49 5. คะแนน ความถี่ 6–10 11 –15 16 –20 21 –25 5 8 หมายเหตุ 7 8 10 3 50–59 15 26–30 12 10 7 U L แทน ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีค่าสูงสุด แทน ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มค่าต่าสุด ี เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั ค่าพิสยของ ั ข้อมูล 4
  • 5. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 ส่ วนเบียงเบนควอร์ ไทล์ ่ การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนควอร์ ไทล์ ่ ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ของข้อมูล สามารถหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลได้ ดังนี้ 1. ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ หาได้โดยเอาค่า Q3 ลงด้วย Q1 แล้วหารด้วย 2 หรื อ ส่ วนเบียงเบนควอร์ ไทล์ คือ ค่าที่ใช้วดการกระจายของข้อมูล ซึ่งเท่ากับ ่ ั ครึ่ งหนึ่งของผลต่างระหว่างควอร์ไทล์ที่ 3 กับควอร์ไทล์ที่ 1 2. ถ้าให้ Q.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ จะได้ Q.D. = Q 3  Q1 2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 5
  • 6. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์ ั ู ข้อ ข้อมูล Q1 Q3 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 10 , 2 , 6 , 8 , 4, 12 , 16 , 20 , 18 5 , 10 , 15 , 20, 25 , 30 , 35 3 , 7 , 11 , 15 , 5 , 9 , 13 3 , 5 , 9 , 14 , 18 4 , 24 , 12 , 18 , 26 , 30 , 42 50 , 53 , 52 , 55 , 60 , 54 , 51 5 , 10 , 15 , 20, 25 , 30 , 35 , 40 , 45 , 50, 55 , 60 8. 9 , 11 , 13 , 17 , 15 , 21 , 19 9. 8 , 10 , 12 , 20 , 24 , 30 , 26 , 22 10. 2 , 6 , 8 , 10 , 16 , 14 , 12 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ (Q.D.) 6
  • 7. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนควอร์ ไทล์ ่ ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูล สามารถหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลได้ ดังนี้ 1. หาค่าของ Q1 และ Q3 จากสูตร Qr = L rN F 4 I f 2. หาผลต่างระหว่าง Q3 และ Q1 3. นา 2 หาร หาผลต่างระหว่าง Q3 และ Q1 ในข้อ 2 จะได้ค่าของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ตามต้องการ (Q.D.) 4. สรุ ปสูตรในการหาส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ได้ดงนี้ ั Q.D = Q3  Q1 2 เมือ ่ Q.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ Q3 แทน ควอร์ไทล์ที่ 3 Q1 แทน ควอร์ไทล์ที่ 1 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 7
  • 8. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์ ั ู ข้อ ข้อมูล 1. คะแนน ความถี่ 30–39 5 2. คะแนน ความถี่ 1–3 2 3 คะแนน ความถี่ 40–45 12 4 คะแนน ความถี่ 5 คะแนน ความถี่ 40–49 3 4– 6 4 Q1 50–59 6 7– 9 6 46–51 8 60-69 70-79 80-89 7 9 10 10 - 12 8 52–57 10 13 – 15 13 78-63 16 16 – 18 7 64-69 4 160-165 166 –171 172 –177 178 –183 3 7 8 22 95–100 89–94 2 5 83 – 88 13 77 – 82 10 71 – 76 10 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั Q3 ส่วนเบี่ยงเบน ควอร์ไทล์ (Q.D.) 8
  • 9. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลีย ่ การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนเฉลีย ่ ่ ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ส่วนเบี่ ยงเบนเฉลี่ย สามารถหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลได้ ดังนี้  1. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต  X   N X     i i 1     N 2. หาผลรวมค่าสัมบูรณ์ของความแตกต่าง ระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่า กับค่าเฉลี่ย เลขคณิ ต N x i 1 i x 3. นาจานวนข้อมูลหารผลลัพธ์ที่ได้ในข้อ 2 จะได้ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูล ตามต้องการ 4. ถ้าให้ M.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย จะได้ว่า N M.D. = x i 1 i x N หรื อเขียนในรู ปย่อได้ดงนี้ ั x M.D. =  x N เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 9
  • 10. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์ ั ู ข้ อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ข้ อมูล X x x 4 , 5 , 8 , 12 1,3,6,4,8,3,5,2 6,3,8,5,3 2 , 4 , 14 , 15 , 20 , 53 , 71 , 101 20 , 20 , 22 , 35 , 40 , 40 , 101 3,5,7,9 6,8,4,2,7,3 5 , 7 , 9 , 11 , 4 , 12 5.2 , 1.8 , 7.1 , 7.1 157 , 156 , 160 , 156 , 175 , 160 , 156 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (M.D.) 10
  • 11. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนเฉลีย ่ ่ ในการวัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย สามารถหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลได้ ดังนี้ 1. หาจุดกึ่งกลางของแต่ละชั้น (xi) k 2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต จากสูตร x   fx i 1 N 3. หาผลต่างของ xi กับ x โดยไม่คิดเครื่ องหมาย 4. นา fi คูณกับ 5. หาผลบวกของ x i ของแต่ละชั้น f i x i  x  ของแต่ละชั้น   f x  x  x  ในแต่ละชั้น xi x k fi x i  i 1 i  x  6. นาผลลัพธ์ในข้อ 5 หารด้วยจานวนข้อมูล (N) ก็จะได้ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยตามต้องการ ถ้าให้ M.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย จะได้ว่า k M .D .  f i 1 x i i x N หรื อเขียนในรู ปย่อได้ดงนี้ ั M .D .  f x x N ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่าง การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย โดยละเอียด ตัวอย่าง จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของคะแนนและความถี่ ต่อไปนี้ คะแนน ความถี่ 30–39 40–49 50–59 60–69 70–79 2 3 11 20 32 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 80–89 25 90 – 99 7 11
  • 12. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 วิธีทา คะแนน 30–39 40–49 50–59 60–69 70–79 80–89 90 – 99 f 2 3 11 20 32 25 7 N = 100 x 34.5 44.5 54.5 64.5 74.5 84.5 94.5 จากสูตร x แทนค่าจะได้ x fx 69.0 133.5 599.5 1,290.0 2,384.0 2,112.5 661.5 fx = 7,250 = และ จากสูตร f x x 34.5 – 72.5= 38 76 84 198 160 64 300 154 44.5 – 72.5= 28 54.5 – 72.5= 18 64.5 – 72.5= 8 74.5 – 72.5= 2 84.5 – 72.5= 12 94.5 – 72.5= 22  fx N = = x x 7 ,250 100 72.5 M .D .  แทนค่า M.D. = f x x N 1,036 100 = 10.36 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั f x  x  1,036 12
  • 13. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์ ั ู ข้อ 1. 2. ข้อมูล คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่ 3 คะแนน ความถี่ 4 คะแนน ความถี่ 5 คะแนน ความถี่ 10–14 3 15–19 7 0-2 8 34 – 40 2 115–119 120–124 2 4 2-14 5-7 10 20–24 8 27 - 33 5 20–26 3 110–114 8 x 3 3–5 7 8–10 11–13 25-29 2 41 – 47 10 125-–129 130-–134 6 12 14 —16 17-19 7 8 2 6-8 5 9–11 3 12 – 14 8 20- 22 9 1 15 –17 9 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั f x x ส่วนเบี่ยงเบน เฉลี่ย 13
  • 14. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน ่ การวัดการกระจายของข้ อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ โดยใช้ ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ่ 1. ความหมายของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ ค่าที่ใช้วดการกระจายที่ได้จากการหาร ั รากที่สอง ของค่าเฉลี่ยกาลังสอง ของผลต่างระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่า กับค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดนั้น ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะใช้สญลักษณ์ S และ S.D. ั 2. การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากความหมายของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะสามารถหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ได้ตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ 1. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ( x ) 2. หาผลต่างระหว่างข้อมูลกับค่าเฉลี่ยเลขคณิต x i  x  2 3. หารกาลังสองของผลต่าง ในข้อ x i  x  4. หาผลบวกของกาลังสองของผลต่าง ในข้อ 3  x  x     N 2 i  i 1 5. หารผลบวกในข้อ 4 ด้วยจานวนข้อมูล    x  x  i 1 N    N 6. หารากที่สองที่ไม่ใช้จานวนลบของผลหารในข้อ 5         2        x N i 1 N จากลาดับขั้น 1 – 6 สรุ ปเป็ นสูตรการหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ได้ดงนี้ ั  x N ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) = i 1 i x  2 N N x หรื อ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) = i 1 N 2 i    x หรื อ เขียนในรู ปย่อ ได้ดงนี้ ั S = หรื อ S =  x x  2 N x N 2    x 2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั i 2 x  2       14
  • 15. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล 5,6,6,6,7,8 ตัวอย่างที่ 1 วิธีทา xi 5 6 6 6 7 8 N xi xi x (x i  x ) 2 - 1.3 - 0.3 - 0.3 0.3 0.7 1.7 1.69 0.09 0.09 0.09 0.49 2.89  x = 38 i 1 i 1  2 N i x = 5.34 N จากสูตร x = แทนค่า จะได้ x = x i 1 i N 38 6 = 6.3  x N จากสูตร S = i 1 i x  2 N แทนค่า จะได้ S = S = = ตัวอย่างที่ 2 5 . 34 6 0 . 89 0.94 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล 1 , 2 , 4 , 7 , 9 , 12 วิธีทา xi 1 2 4 7 xi x (x i  x ) 2 - 4.8 - 3.8 - 1.8 1.2 23.04 14.44 3.24 1.44 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 15
  • 16. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 9 12 3.2 6.2 10.24 38.44  x N  x = 35 i 1 i 1 จากสูตร x x = = 90.84 35 6 = i x = xi i 1 แทนค่า จะได้  2 N i 5.8 N  x N จากสูตร S = i 1 i x  2 N แทนค่า จะได้ S = 90 . 84 6 S = 90 = 3.90 ตัวอย่างที่ 3 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุ (ปี ) ของเด็ก 8 คน ซึ่งมีอายุ ดังนี้ 15 , 14 , 12 , 10 , 10 , 9 , 8 , 6 วิธีทา ในที่น้ ีจะหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้สูตร N x S = i 1 2 i N xi 15 14 12    x 10 2 10 9 8 6  x = 84 N i 1 x i2 225 196 144 100 100 81 64 36  x = 946 N i 1 จากสูตร x = xi i 1 แทนค่า จะได้ x = 84 8 = 10.5 N N จากสูตร S = x i 1 N แทนค่า จะได้ S = S = 2 i    x 2 946 2  10 . 5  8 118 . 25  110 . 25 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั i 2 i 16
  • 17. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 = 8 = 2.83 ปี เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 17
  • 18. เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 33202 เรื่ อง การวัดการกระจายของข้อมูลระดับชั้นม.6 แบบฝึ กทักษะ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถกต้องลงในช่องว่างในตารางต่อไปนี้ ให้สมบูรณ์ ั ู ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ข้อมูล x 4,5,6,9 3,4,5,6,7 2,3,5,6 1,3,6,48,3,5,2 13 , 9 , 14 , 6 , 8 , 11 , 5 , 8 , 8 , 6 , 11 , 9 3,5,7,9 6,8,4,2,7,3 2 , 4 , 14 , 15 , 20 , 53 , 71 , 101 5.2 , 1.8 , 7.1 , 7.1 157 , 156 , 160 , 156 , 175 160 , 156 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั  x x  ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 2 18