SlideShare a Scribd company logo
เหตุการณ์ สาคัญของโลก
ในคริสต์ ศตวรรษที่21
เหตุการณ์ 11 กันยายน 2001
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
• เมื่อเวลา 8.45 น. ตามเวลาท้องถิ่น เครื่ องบินโดยสารโบอิ้ง 767 ของ
ั
สายการบินอเมริ กนแอร์ ไลน์ เที่ยวบินที่ 11 พุ่งเข้าชนยอดตึกเวิลด์เท
รดเซ็นเตอร์ 1 (World Trade Center I) ในมหานครนิ วยอร์ ก
อาคารเกิดการระเบิดเสี ยหายอย่างรุ นแรง

• ต่อมาในเวลา 9.06 น. เครื่ องบินโบอิ้ง 767 ของสายการบินยูไนเต็ด
แอร์ ไลน์เที่ยวบินที่ 177 ได้พุ่งเข้าชนตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ 2
ั
(World Trade Center II) ที่เป็ นอาคารที่สร้างคู่กบตึกเวิลด์เทรด
เซ็นเตอร์ 1 เกิดระเบิดสนันหวันไหว
่ ่
ภาพจาลองเหตุการณ์
ภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและความเสี ยหาย
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
• เวลา 9.30 น. ประธานาธิ บดี จอร์ จ ดับเบิลยู บุช (George W.
Bush) ได้ประกาศแถลงการณ์ว่าการระเบิดอาคารเวิลด์เทรดเซ็น เตอร์
เป็ นปฏิบติการของผูก่อการร้ายและยืนยันที่จะสื บหากลุ่มบุคคลที่
ั
้
กระทาการมาลงโทษให้จงได้
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
• เวลา 9.40 น. ที่กรุ งวอชิงตัน ดี. ซี . เมืองหลวงของสหรัฐอเมริ กา
ั
เครื่ องบินโบอิ้ง 757 สายการบินอเมริ กนแอร์ ไลน์ เที่ยวบินที่ 77 ได้พุ่ง
เข้าชนอาคารเพนตากอน (Pentagon) กระทรวงกลาโหม อาคารเกิด
ระเบิดและเพลิงไหม้อย่างรุ นแรง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
• ในเวลาไล่เลี่ยกันได้เกิดเหตุการณ์เครื่ องบินตกในมลรัฐเพนซิ ลเว
เนี ย เครื่ องบินที่ตกคือเครื่ องบินสายการบินยูไนเต็ดแอร์ ไลน์
เที่ยวบินที่ 73 ซึ่ งมีขอมูลว่าเครื่ องบินลาดังกล่าวถูกสกัดอากาศจี้
้
• ต่อมาอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ท้ งสองก็ถล่มลงมา ทาให้พนักงาน
ั
้ ั
ดับเพลิงและเจ้าหน้าที่หน่วยกูภยที่เข้าไปช่วยเหลือผูประสบ
้
เคราะห์ร้ายต้องได้รับบาดเจ็บและเสี ยชีวิตเป็ นจานวนมาก รัฐบาล
สหรัฐอเมริ กาได้ประกาศมาตรการฉุกเฉิ น มีการอพยพผูคนออก
้
จากสถานที่สาคัญ ยกเลิกเที่ยวบินทัวประเทศ กองทัพ
่
สหรัฐอเมริ กาประกาศเตรี ยมพร้อมรบ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้ น
• รัฐบาลสหรัฐอเมริ กาได้ทาการระดมกาลังเจ้าหน้าที่สานักงานสอบสวน
กลาง(FBI)ออกสื บหาผูก่อการวินาศกรรมในครั้งนี้ ในวันต่อมา
้
สหรัฐอเมริ กาได้มุ่งเป้ าไปที่โอซามา บินลาเดน (Osama bin Laden)
หัวหน้าขบวนการอัลเคดา (Al Qaida) และสรุ ปว่าเป็ นผูบงการให้เกิด
้
เหตุการณ์ดงกล่าว
ั
สถานที่ที่โดนโจมตี

ตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์
แหล่งที่ต้ งของสถาบันการเงินระหว่างประเทศเป็ นจานวนมาก
ั
เป็ นสัญลักษณ์ของระบบทุนนิยมโลก
เพนตากอน
ที่ต้ งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริ กา เป็ นศูนย์กลางอานาจทาง
ั
ทหารของชาติอภิมหาอานาจอันดับหนึ่งของโลก
การที่สามารถโจมตีได้น้ นเป็ นการทาลายความน่าเชื่อถืออเมริ กาใน
ั
ฐานะชาติอภิมหาอานาจและเป็ นศูนย์กลางระบบทุนนิยมโลก
สาเหตุของเหตุการณ์
• นักวิชาการส่ วนใหญ่วิเคราะห์ว่ามาจากระบบสังคมโลกโดยรวมที่
สหรัฐอเมริ กาเป็ นชาติอภิมหาอานาจทุนนิ ยมอันดับหนึ่ งตลอด
ระยะเวลาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริ กาได้ดาเนิ น
นโยบายต่างประเทศในลักษณะแผ่ขยายอานาจไปทัวโลก
่
โดยเฉพาะอย่างยิ่งดินแดนตะวันออกกลางซึ่ งมีทรัพยากรน้ ามันที่
สาคัญมาก
• สหรัฐอเมริ กาเข้าไปแผ่อิทธิ พลแทนที่ดวยการแทรกแซงสนับสนุ นการ
้
ก่อตั้งรัฐอิสราเอลขึ้นในดินแดนปาเลสไตน์ ในค.ศ. 1948 หลังจากนั้น
สหรัฐอเมริ กาก็ดาเนิ นนโยบายสนับสนุนอิสราเอลมาโดยตลอด และ
ขณะเดียวกันสหรัฐอเมริ กาก็ให้การสนับสนุนรัฐบาลของกลุ่มประเทศ
อาหรับที่เป็ นมิตรกับสหรัฐอเมริ กา
• ผลของการดาเนินนโยบายของสหรัฐอเมริ กาได้สร้างความรู ้สึกไม่พอใจ
ให้เกิดขึ้นในหมู่ชาวอาหรับ เห็นว่าการแทรกแซงในภูมิภาคตะวันออก
กลางเป็ นไปเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกลุ่มทุนของสหรัฐอเมริ กาซึ่ งเข้า
ไปลงทุนในภูมิภาคนี้ เป็ นสาคัญ เช่น อุตสาหกรรมน้ ามัน
• การแทรกแซงของสหรัฐอเมริ กาที่มีต่อภูมิภาคนี้ นามาซึ่ งความขัดแย้ง
ของชาติต่าง ๆ หลายครั้ง ก่อให้เกิดผลประโยชน์การค้าอาวุธของบริ ษท
ั
ผลิตอาวุธของสหรัฐอเมริ กาเอง
ผลกระทบต่อสหรัฐอเมริ กา
• ทาให้สหรัฐอเมริ กาต้องสู ญเสี ยชีวิตพลเมืองและทรัพย์สินจานวน
มาก

• เศรษฐกิจสหรัฐอเมริ กาได้รับผลกระทบอย่างรุ นแรง เศรษฐกิจที่เริ่ ม
ชะลอมาตั้งแต่ก่อนหน้าเกิดวิกฤตการณ์ก็ประสบปั ญหามากขึ้น
ั
• ขวัญกาลังใจของประชาชนชาวอเมริ กนตกต่าลงและเกิดแนวความคิด
แบบชาตินิยมขึ้นมาแทนที่

• ทาให้นโยบายการปกครองในประเทศของรัฐบาลสหรัฐอเมริ กา
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยหันมาเน้นด้านความมันคงเป็ นหลัก
่
แทนที่สิทธิ เสรี ภาพในระบบประชาธิ ปไตย
• เหตุการณ์การก่อวินาศกรรมวันที่ 11 กันยายน ได้ถูกรัฐบาล
สหรัฐอเมริ กานาไปใช้ในการสร้างความชอบธรรมในการโต้กลุ่มก่อ
การร้ายด้วยความรุ นแรง เช่น การทาสงครามยึดครองอัฟกานิ สถานใน
ปลาย ค.ศ. 2001 หรื อการรุ กรานและยึดครองอิรักในปั จจุบนเป็ นต้น
ั
ผลกระทบที่มีต่อสังคมโลก
• ก่อให้เกิดสงครามและการก่อการร้ายมากขึ้นหลังจากเหตุการณ์การ
ก่อวินาศกรรม สหรัฐอเมริ กาได้ประกาศสงครามกับกลุ่มก่อการร้าย
และพร้อมจะทาลายกลุ่มองค์กรเหล่านี้ รวมทั้งรัฐบาลที่ให้แหล่งพัก
พิงและสนับสนุ นการก่อการร้าย
ผลกระทบที่มีต่อสังคมโลก
• ประธานาธิ บดีบุชประกาศให้ประเทศต่าง ๆ ทัวโลกต้องตัดสิ นใจว่า
่
่ ้
่ ้
ประเทศเหล่านั้นจะอยูขางสหรัฐอเมริ กาหรื ออยูขางฝ่ ายก่อการร้าย ทา
ให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ดาเนิ นนโยบายต่างประเทศอย่างระมัดระวัง
ต้องหลีกเลี่ยงปั ญหาความขัดแย้งทั้งจากสหรัฐอเมริ กาและกลุ่มก่อการ
ร้าย รวมถึงประชาชนภายในประเทศที่มีแนวโน้มขัดแย้งกับนโยบาย
ของรัฐบาลที่ดาเนิ นนโยบายเข้าข้างสหรัฐอเมริ กา
การก่ อการร้ าย
จุดมุ่งหมายของผูก่อการร้าย
้
• ทาให้เป็ นที่รู้จกและสร้างการยอมรับ
ั

• บีบบังคับโดยการต่อต้านนโยบายหรื อการกระทาของรัฐ มุ่งให้รัฐบาลทบทวน
หรื อแก้ไขนโยบายบางอย่าง
• บีบบังคับโดยการต่อต้านกลุ่มหรื อตัวบุคคล
• สร้างสถานการณ์ให้รัฐบาลตอบโต้ เพื่อให้ประชาชนเกิดความเห็นใจและให้การ
สนับสนุน
• สนับสนุนการกบฏ การปฏิวติหรื อการก่อการร้ายอื่นๆ เพื่อต้องการกระจาย
ั
สถานการณ์ความวุ่นวายให้ทวประเทศ
ั่
• องค์กรการก่อการร้ายหลักๆ ที่เป็ นที่รู้จก มีดงนี้
ั ั
1. Palestinian Liberation Organization (PLO) กลุ่ม PLO
การรวมตัวของชนที่มีเชื้ อชาติ ศาสนา และมีประเพณีเดียวกัน เพื่อ
ปลดปล่อยดินแดนปาเลสไตน์จากการยึดครองของประเทศอิสราเอล ถูก
รวมเข้าด้วยกันโดยไม่สมัครใจ แต่เกิดจากผลของสงคราม และข้อตกลง
ระหว่างประเทศมหาอานาจ ประกอบด้วยกลุ่มองค์กรเล็กๆ หลายกลุ่ม
หัวหน้ากลุ่ม PLO คือนาย Yasser Arafat
2. Hizballah (Islamic Jihad)
ก่อตั้งขึ้ นในประเทศเลบานอน เคร่งครัดในคาสอนของศาสนา และใช้
ศาสนาเป็ นเครื่องชี้ นาในทางการเมือง ได้รบการสนับสนุ นจากรัฐบาล
ั
อิหร่าน มีเปาหมายในการจัดตั้งสาธารณรัฐอิสลามที่ปกครองตาม
้
อิหร่านขึ้ นในประเทศเลบานอน และผลักดันกลุ่มชนที่มิใช่อิสลามที่แพร่
อิทธิพลออกไปจากพื้ นที่ เป็ นกลุ่มที่ต่อต้านกลุ่มประเทศตะวันตกและ
ประเทศอิสราเอล
3. Hamas (Islamic Resistance Movement)
นับเป็ นกลุ่มทางการเมืองหลักกลุ่มหนึ่งใน PLO มีเป้ าหมายในการจัดตั้งรัฐ
อิสลามของชาวปาเลสไตน์ข้ ึนในพื้นที่ของประเทศอิสราเอล ส่ วนใหญ่เป็ น
กองกาลังทหารติดอาวุธที่นิยมใช้ความรุ นแรง ถนัดในการใช้ระเบิดและการ
ลอบสังหาร บางครั้งยังปฏิบติการต่อกลุ่มที่ขดแย้งภายใน PLO ด้วยกันเอง
ั
ั
4. Al Queda
เครื อข่ายก่อการร้ายนานาชาติ ก่อกาเนิดโดยนายโอซามา บิน ลาเดน
จุดมุ่งหมายคือการกวาดล้างอิทธิ พลตะวันตกออกจากประเทศมุสลิม ขับไล่
การปกครองรัฐบาลมุสลิมและอาหรับที่ต่อต้านอิสลามซึ่ งมีประเทศ
สหรัฐอเมริ กาหรื อชาติตะวันตกให้การหนุนหลัง โดยเปลี่ยนการปกครองให้
เป็ นมุสลิมแบบหนึ่งเดียว ปกครองอย่างเข้มงวดตามกฎหมายอิสลาม
ตัวอย่างการก่อการร้าย
เหตุระเบิดในบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย (12 ตุลาคม ค.ศ.2002)

ในย่านท่องเที่ยวคูตา (Kuta) เกี่ยวข้องกับการจุดระเบิดสามลูกด้วยกัน ลูกหนึ่ง
มือระเบิดพลีชีพนาติดตัว ลูกหนึ่งเป็ นคาร์ บอมบ์ขนาดใหญ่ ทั้งสองลูกถูกจุด
ั
ระเบิดในหรื อใกล้กบไนท์คลับที่ได้รับความนิยม ระเบิดลูกสุ ดท้าย เป็ น
อุปกรณ์ขนาดเล็กกว่ามาก จุดระเบิดนอกสถานกงสุ ลสหรัฐอเมริ กา ก่อให้เกิด
ความเสี ยหายเพียงเล็กน้อย
สมาชิกหลายคนของกลุ่มญะมาอะห์ อิสลามียะห์ กลุ่มอิสลามหัวรุ นแรง ถูก
พิพากษาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุระเบิด โดยมีสามคนถูกตัดสิ นประหารชีวิต
โดยกลุ่มนี้มีเป้ าหมายจะก่อตั้งรัฐอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้

นักโทษสามคนที่ถกประหารชีวิต
ู
เหตุระเบิดในลอนดอน สหราชอาณาจักร (7 กรกฎาคม ค.ศ.2005)
เกิดระเบิดขึ้นสี่ ครั้งต่อเนื่อง รถไฟใต้ดินสามขบวนถูกวางระเบิดภายในช่วงเวลา
ครึ่ งชัวโมง จากนั้นอีกครึ่ งชัวโมงรถเมล์สองชั้นอีกหนึ่งคันก็ถกระเบิด คาดว่า
ู
่
่
เป็ นฝี มือของกลุ่มอัลเคด้า เหตุระเบิดคราวนี้มีลกษณะใกล้เคียงกับ เหตุการณ์
ั
ระเบิดรถไฟที่มาดริ ด ประเทศสเปน ซึ่งเป็ นลักษณะการโจมตีของ อัลเคด้า
โดยหลักฐานสาคัญคือ เว็บไซต์ของอัลเคด้า มีขอความเกี่ยวกับเหตุการณ์
้
ระเบิด โดยเขียนเป็ นภาษาอาหรับ เนื้อความประกาศเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่
อังกฤษได้รุกรานประเทศอิรักและ ประเทศอัฟกานิสถานในปี พ.ศ. 2546 และ
ได้กล่าวอ้างอิงถึง ประเทศเดนมาร์ ก และประเทศอิตาลี ให้ถอนกาลังทหาร
อย่างไรก็ตามจดหมายที่เขียนไว้มีการใช้คาสะกดผิด และใช้ไวยกรณ์ที่ไม่
ถูกต้อง

ประกาศจากเว็บไซต์ของอัลเคด้า
การก่อการร้ายในศรี ลงกา
ั
เกิดจากความขัดแย้งทางเชื้อชาติและศาสนาระหว่างชาวทมิฬกับชาวสิ งหล
ชาวทมิฬต้องการแบ่งแยกดินแดนทางภาคเหนือและภาคตะวันออกของ
ประเทศ จึงตั้งกลุ่มกบฏแบ่งแยกดินแดนพยัคฆ์ทมิฬอีแลม และพัฒนามาสู่
สงครามกลางเมือง
ปฏิบติการ
ั
ใช้การสูรบแบบกองโจร เพื่อทาลายเป้ าหมายสาคัญของศรี ลงกา นิยมใช้
้
ั
ระเบิดพลีชีพ

การสนับสนุ น
กลุ่มนี้เปิ ดเผยตัวเองอย่างชัดแจ้งในการสนับสนุนการแบ่งแยกดินแดนทมิฬ
และวิ่งเต้นขอความช่วยเหลือจากประเทศต่างๆรวมทั้งสหประชาชาติ ได้รับ
ความช่วยเหลือจากชาวทมิฬที่อาศัยในยุโรป อเมริ กาเหนือและเอเชีย
ระเบิดพลีชีพในศรี ลงกา
ั

การสูญเสี ยการสนับสนุนทางการเงิน
และการส่ งบารุ งกาลังจากต่างประเทศ
รวมถึงการสูญเสี ยศูนย์การส่ งบารุ ง
กาลังทางน้ า ทาให้กลุ่มกบฏพยัคฆ์
ทมิฬต้องถอยร่ นและพ่ายแพ้การสูรบ
้
ความขัดแย้ งทางศาสนา
ความขัดแย้งทางศาสนา
• เกิดขึ้นเนื่ องจากผูนบถือนั้นเห็นว่าศาสนาหรื อลัทธิ ที่ตนนับถือดีกว่า
้ ั
ของผูอื่นและไม่ยอมรับคนต่างศาสนาต่างลัทธิ มักเกิดได้จาก ความ
้
แตกต่างทางพิธีกรรม ทางความเชี่อ ด้านศาสนา ด้านคาสอน และ
การถือตัวของแต่ละศาสนา เป็ นต้น ส่ วนใหญ่ความขัดแย้งทาง
ศาสนามักจะมีความรุ นแรง และพร้อมจะสละชี วิตเพื่อความยึดมัน
่
ของตน
ความขัดแย้งในศาสนาเดียวกัน
ความขัดแย้งทางศาสนาในประเทศอินเดีย
ั
• ระหว่างชาวฮินดูกบชาวมุสลิม ทาให้แยกเป็ นประเทศปากีสถานใน ค.ศ. 1947
ปั ญหาเกิดจากความแตกต่างในด้านต่างๆดังนี้
• ความแตกต่างทางการเมือง ที่ผนับถือ
ู้
ศาสนาอิสลามหรือชาวมุสลิมที่มีจานวน
น้อยกว่า จึงได้รบสิทธิทางการเมืองน้อย
ั
• ความแตกต่างทางศาสนา ที่ชาวมุสลิม
นับถือพระเจ้าองค์เดียว ส่วนชาวฮินดูนับ
ถือพระเจ้าหลายองค์
• ความแตกต่างทางสังคม ที่ชาวมุสลิม
เชื่อว่าทุกคนมีความเท่าเทียมกัน แต่
สังคมชาวฮินดูมีระบบวรรณะ
• ปั ญหาระหว่างชาวมุสลิมและชาวฮินดูเพิ่มมากขึ้นจนถึงขั้นปะทะกัน
อย่างรุ นแรง ในที่สุดอังกฤษจึงให้เอกราชกับอินเดียและปากีสถาน
แต่อินเดียกับปากีสถานก็ไม่ราบรื่ นนัก ไม่ว่าจะเป็ นปั ญหาพรมแดน
ปั ญหาแคว้นแคชเมียร์ และการแข่งขันการสะสมและพัฒนาอาวุธ
นิ วเคลียร์ เพื่อ ข่มขู่ฝ่ายตรงกันข้าม นอกจากนี้ ความขัดแย้งระหว่าง
ชาวมุสลิมกับชาวฮินดูในอินเดียก็ยงคงดาเนินเรื่ อยมา
ั
ความขัดแย้งภายในศาสนาเดียวกัน
ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมในประเทศปากีสถาน

• นาไปสู่ การแยกเป็ นประเทศปากีสถานกับบังกลาเทศเมื่อ ค.ศ.1971
สาเหตุสาคัญมี 2 ประการ
1. สภาพทางภูมิศาสตร์ ที่แยกปากีสถานออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ปากีสถาน
ตะวันตกและปากีสถาน ตะวันออก โดยมีอินเดียคันกลาง
่
แผนที่ประเทศปากีสถาน

ปากีสถานตะวันตก

ปากีสถานตะวันออก(บังคลาเทศ)
• อีกประการหนึ่ งที่ สาคัญ คือไม่พอใจความไม่เท่าเทียมกัน เนื่ องจาก
ประชากรในปากีสถานตะวันออกส่ วนใหญ่มากกว่าครึ่ งหนึ่ งของ
ประชากรทั้งหมดของประเทศปากีสถาน แต่รัฐบาลกลับให้ความ
สนใจในการพัฒนาปากีสถานตะวันตกมากกว่า ชาวปากีสถาน
ตะวันออกจึงพยายามที่จะแยกตัว ชาวปากีสถานตะวันออกหลบหนี
่
ไปอาศัยอยูในอินเดีย อินเดียถูกโจมตีว่าให้การสนับสนุนปากีสถาน
ตะวันออกและสุ ดท้ายก็สามารถแยกประเทศได้สาเร็ จและจัดตั้ง
ประเทศใหม่ในชื่อว่า บังกลาเทศ
ความขัดแย้งระหว่างอิรักและอิหร่ าน

สาเหตุสาคัญ ได้แก่
• ปั ญหาเรื่ องเขตแดน การแย่งชิ งสิ ทธิ เหนื อร่ องน้ าอัล-อาหรับ เป็ น
เขตแดนตอนใต้ระหว่างอิรัก-อิหร่ าน มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
คือ เป็ นที่ต้ งท่าเรื อที่ใหญ่ที่สุดและเป็ นที่ส่งน้ ามัน รวมถึงเป็ นแหล่ง
ั
น้ ามันของอิหร่ าน
• ปั ญหาชนกลุ่มน้ อยชาวเคิร์ด ที่ได้เรี ยกร้องการปกครองตนเองมาเป็ น
เวลายาวนาน โดยเฉพาะในอิรัก ที่มีความแตกต่างจากอิรักทั้งเชื้ อชาติ
และศาสนา นับถือมุสลิมเหมือนกันแต่คนละนิ กาย โดยชาวอิรักนับถือ
นิ กายชี อะห์ ชาวเคิร์ดนับถือนิ กายสุ หนี่ ชาวเคิร์ดมักใช้วิธีการก่อ
จราจลและการต่อสู ้ดวยกาลังอาวุธโดยได้รับการสนับสนุ นจากอิหร่ าน
้
ส่ วนทางอิรักก็ใช้กาลังรุ นแรงในการปราบปราม

ชาวเคิร์ด
• ความขัดแย้ งระหว่ างผู้นาประเทศ อิหร่ านเปลี่ยนการปกครองเป็ น
สาธารณรัฐอิสลามที่มีโคไมนี เป็ นผูนา ประเทศในภูมิภาคกลัวว่า อิหร่ าน
้
จะเผยแพร่ แนวคิดรัฐอิสลามและกระทบต่อการเมือง ทาให้อิรักที่มี
พรมแดนติดกับอิหร่ านมีความขัดแย้งกันรุ นแรงมากขึ้น โคไมนี พยายาม
เรี ยกร้องให้ชาวมุสลิมนิกายชีอะห์โค่นล้มรัฐบาลประธานาธิ บดีอิรัก
ซัดดัม ฮุสเซน ซึ่ งเป็ นชาวมุสลิมนิ กายสุ หนี่ ที่จะขยายอานาจเข้ามาใน
อิหร่ าน ทาให้เกิดการปะทะกันตามพรมแดน กลายเป็ นสงครามยืดเยื้อ
โดยสหรัฐอเมริ กาสนับสนุ นอิรัก ส่ วนรัสเซี ยสนับสนุนอิหร่ าน
อยาตอลลาห์ โคไมนี
ผู้นาอิหร่ าน

ซัดดัม ฮุสเซน
ประธานาธิบดีอิรัก

• จนกระทังองค์การ สหประชาชาติและประเทศที่เป็ นกลางพยายาม
่
เจรจาและยุติสงครามใน ค.ศ. 1988
รายชื่อสมาชิก
1. นางสาวกมลรักษ์ จันทร์ หอม

ม.6.5 เลขที่ 2

2. นางสาวปิ ยะธิ ดา

ม.6.5 เลขที่ 24

รัตนสุ วรรณ

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
Warodom Techasrisutee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
jinjuthabam
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
chanon leedee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
BoomCNC
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

What's hot (20)

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Viewers also liked

Aunmuay
AunmuayAunmuay
Aunmuay
aunmuay
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21pareboon
 
History
HistoryHistory
History
wnwan
 
September 11 slides
September 11 slidesSeptember 11 slides
September 11 slides
Madeleine Badaraco
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
11 กันยา 2001
11 กันยา 200111 กันยา 2001
11 กันยา 2001
Nuttaya Taveesakpoj
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
Kasidet Srifah
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
Kittayaporn Changpan
 
Human2.3
Human2.3Human2.3
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 
Human3
Human3Human3
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
mintra_duangsamorn
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
Kittayaporn Changpan
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติthnaporn999
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
Kittayaporn Changpan
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
Kittayaporn Changpan
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
Witsarut Hongkeaw
 

Viewers also liked (20)

Aunmuay
AunmuayAunmuay
Aunmuay
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
 
History
HistoryHistory
History
 
September 11 slides
September 11 slidesSeptember 11 slides
September 11 slides
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
 
11 กันยา 2001
11 กันยา 200111 กันยา 2001
11 กันยา 2001
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1
 
Human2.3
Human2.3Human2.3
Human2.3
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
Human3
Human3Human3
Human3
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
 

More from Pannaray Kaewmarueang

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
Pannaray Kaewmarueang
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Pannaray Kaewmarueang
 

More from Pannaray Kaewmarueang (17)

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โอเปก
โอเปกโอเปก
โอเปก
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21

  • 3. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น • เมื่อเวลา 8.45 น. ตามเวลาท้องถิ่น เครื่ องบินโดยสารโบอิ้ง 767 ของ ั สายการบินอเมริ กนแอร์ ไลน์ เที่ยวบินที่ 11 พุ่งเข้าชนยอดตึกเวิลด์เท รดเซ็นเตอร์ 1 (World Trade Center I) ในมหานครนิ วยอร์ ก อาคารเกิดการระเบิดเสี ยหายอย่างรุ นแรง • ต่อมาในเวลา 9.06 น. เครื่ องบินโบอิ้ง 767 ของสายการบินยูไนเต็ด แอร์ ไลน์เที่ยวบินที่ 177 ได้พุ่งเข้าชนตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ 2 ั (World Trade Center II) ที่เป็ นอาคารที่สร้างคู่กบตึกเวิลด์เทรด เซ็นเตอร์ 1 เกิดระเบิดสนันหวันไหว ่ ่
  • 6. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น • เวลา 9.30 น. ประธานาธิ บดี จอร์ จ ดับเบิลยู บุช (George W. Bush) ได้ประกาศแถลงการณ์ว่าการระเบิดอาคารเวิลด์เทรดเซ็น เตอร์ เป็ นปฏิบติการของผูก่อการร้ายและยืนยันที่จะสื บหากลุ่มบุคคลที่ ั ้ กระทาการมาลงโทษให้จงได้
  • 7. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น • เวลา 9.40 น. ที่กรุ งวอชิงตัน ดี. ซี . เมืองหลวงของสหรัฐอเมริ กา ั เครื่ องบินโบอิ้ง 757 สายการบินอเมริ กนแอร์ ไลน์ เที่ยวบินที่ 77 ได้พุ่ง เข้าชนอาคารเพนตากอน (Pentagon) กระทรวงกลาโหม อาคารเกิด ระเบิดและเพลิงไหม้อย่างรุ นแรง
  • 8. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น • ในเวลาไล่เลี่ยกันได้เกิดเหตุการณ์เครื่ องบินตกในมลรัฐเพนซิ ลเว เนี ย เครื่ องบินที่ตกคือเครื่ องบินสายการบินยูไนเต็ดแอร์ ไลน์ เที่ยวบินที่ 73 ซึ่ งมีขอมูลว่าเครื่ องบินลาดังกล่าวถูกสกัดอากาศจี้ ้ • ต่อมาอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ท้ งสองก็ถล่มลงมา ทาให้พนักงาน ั ้ ั ดับเพลิงและเจ้าหน้าที่หน่วยกูภยที่เข้าไปช่วยเหลือผูประสบ ้ เคราะห์ร้ายต้องได้รับบาดเจ็บและเสี ยชีวิตเป็ นจานวนมาก รัฐบาล สหรัฐอเมริ กาได้ประกาศมาตรการฉุกเฉิ น มีการอพยพผูคนออก ้ จากสถานที่สาคัญ ยกเลิกเที่ยวบินทัวประเทศ กองทัพ ่ สหรัฐอเมริ กาประกาศเตรี ยมพร้อมรบ
  • 9. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้ น • รัฐบาลสหรัฐอเมริ กาได้ทาการระดมกาลังเจ้าหน้าที่สานักงานสอบสวน กลาง(FBI)ออกสื บหาผูก่อการวินาศกรรมในครั้งนี้ ในวันต่อมา ้ สหรัฐอเมริ กาได้มุ่งเป้ าไปที่โอซามา บินลาเดน (Osama bin Laden) หัวหน้าขบวนการอัลเคดา (Al Qaida) และสรุ ปว่าเป็ นผูบงการให้เกิด ้ เหตุการณ์ดงกล่าว ั
  • 11. เพนตากอน ที่ต้ งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริ กา เป็ นศูนย์กลางอานาจทาง ั ทหารของชาติอภิมหาอานาจอันดับหนึ่งของโลก การที่สามารถโจมตีได้น้ นเป็ นการทาลายความน่าเชื่อถืออเมริ กาใน ั ฐานะชาติอภิมหาอานาจและเป็ นศูนย์กลางระบบทุนนิยมโลก
  • 12. สาเหตุของเหตุการณ์ • นักวิชาการส่ วนใหญ่วิเคราะห์ว่ามาจากระบบสังคมโลกโดยรวมที่ สหรัฐอเมริ กาเป็ นชาติอภิมหาอานาจทุนนิ ยมอันดับหนึ่ งตลอด ระยะเวลาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริ กาได้ดาเนิ น นโยบายต่างประเทศในลักษณะแผ่ขยายอานาจไปทัวโลก ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งดินแดนตะวันออกกลางซึ่ งมีทรัพยากรน้ ามันที่ สาคัญมาก
  • 13. • สหรัฐอเมริ กาเข้าไปแผ่อิทธิ พลแทนที่ดวยการแทรกแซงสนับสนุ นการ ้ ก่อตั้งรัฐอิสราเอลขึ้นในดินแดนปาเลสไตน์ ในค.ศ. 1948 หลังจากนั้น สหรัฐอเมริ กาก็ดาเนิ นนโยบายสนับสนุนอิสราเอลมาโดยตลอด และ ขณะเดียวกันสหรัฐอเมริ กาก็ให้การสนับสนุนรัฐบาลของกลุ่มประเทศ อาหรับที่เป็ นมิตรกับสหรัฐอเมริ กา
  • 14. • ผลของการดาเนินนโยบายของสหรัฐอเมริ กาได้สร้างความรู ้สึกไม่พอใจ ให้เกิดขึ้นในหมู่ชาวอาหรับ เห็นว่าการแทรกแซงในภูมิภาคตะวันออก กลางเป็ นไปเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกลุ่มทุนของสหรัฐอเมริ กาซึ่ งเข้า ไปลงทุนในภูมิภาคนี้ เป็ นสาคัญ เช่น อุตสาหกรรมน้ ามัน • การแทรกแซงของสหรัฐอเมริ กาที่มีต่อภูมิภาคนี้ นามาซึ่ งความขัดแย้ง ของชาติต่าง ๆ หลายครั้ง ก่อให้เกิดผลประโยชน์การค้าอาวุธของบริ ษท ั ผลิตอาวุธของสหรัฐอเมริ กาเอง
  • 15. ผลกระทบต่อสหรัฐอเมริ กา • ทาให้สหรัฐอเมริ กาต้องสู ญเสี ยชีวิตพลเมืองและทรัพย์สินจานวน มาก • เศรษฐกิจสหรัฐอเมริ กาได้รับผลกระทบอย่างรุ นแรง เศรษฐกิจที่เริ่ ม ชะลอมาตั้งแต่ก่อนหน้าเกิดวิกฤตการณ์ก็ประสบปั ญหามากขึ้น
  • 16. ั • ขวัญกาลังใจของประชาชนชาวอเมริ กนตกต่าลงและเกิดแนวความคิด แบบชาตินิยมขึ้นมาแทนที่ • ทาให้นโยบายการปกครองในประเทศของรัฐบาลสหรัฐอเมริ กา เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยหันมาเน้นด้านความมันคงเป็ นหลัก ่ แทนที่สิทธิ เสรี ภาพในระบบประชาธิ ปไตย
  • 17. • เหตุการณ์การก่อวินาศกรรมวันที่ 11 กันยายน ได้ถูกรัฐบาล สหรัฐอเมริ กานาไปใช้ในการสร้างความชอบธรรมในการโต้กลุ่มก่อ การร้ายด้วยความรุ นแรง เช่น การทาสงครามยึดครองอัฟกานิ สถานใน ปลาย ค.ศ. 2001 หรื อการรุ กรานและยึดครองอิรักในปั จจุบนเป็ นต้น ั
  • 18. ผลกระทบที่มีต่อสังคมโลก • ก่อให้เกิดสงครามและการก่อการร้ายมากขึ้นหลังจากเหตุการณ์การ ก่อวินาศกรรม สหรัฐอเมริ กาได้ประกาศสงครามกับกลุ่มก่อการร้าย และพร้อมจะทาลายกลุ่มองค์กรเหล่านี้ รวมทั้งรัฐบาลที่ให้แหล่งพัก พิงและสนับสนุ นการก่อการร้าย
  • 19. ผลกระทบที่มีต่อสังคมโลก • ประธานาธิ บดีบุชประกาศให้ประเทศต่าง ๆ ทัวโลกต้องตัดสิ นใจว่า ่ ่ ้ ่ ้ ประเทศเหล่านั้นจะอยูขางสหรัฐอเมริ กาหรื ออยูขางฝ่ ายก่อการร้าย ทา ให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ดาเนิ นนโยบายต่างประเทศอย่างระมัดระวัง ต้องหลีกเลี่ยงปั ญหาความขัดแย้งทั้งจากสหรัฐอเมริ กาและกลุ่มก่อการ ร้าย รวมถึงประชาชนภายในประเทศที่มีแนวโน้มขัดแย้งกับนโยบาย ของรัฐบาลที่ดาเนิ นนโยบายเข้าข้างสหรัฐอเมริ กา
  • 21. จุดมุ่งหมายของผูก่อการร้าย ้ • ทาให้เป็ นที่รู้จกและสร้างการยอมรับ ั • บีบบังคับโดยการต่อต้านนโยบายหรื อการกระทาของรัฐ มุ่งให้รัฐบาลทบทวน หรื อแก้ไขนโยบายบางอย่าง • บีบบังคับโดยการต่อต้านกลุ่มหรื อตัวบุคคล • สร้างสถานการณ์ให้รัฐบาลตอบโต้ เพื่อให้ประชาชนเกิดความเห็นใจและให้การ สนับสนุน • สนับสนุนการกบฏ การปฏิวติหรื อการก่อการร้ายอื่นๆ เพื่อต้องการกระจาย ั สถานการณ์ความวุ่นวายให้ทวประเทศ ั่
  • 22. • องค์กรการก่อการร้ายหลักๆ ที่เป็ นที่รู้จก มีดงนี้ ั ั 1. Palestinian Liberation Organization (PLO) กลุ่ม PLO การรวมตัวของชนที่มีเชื้ อชาติ ศาสนา และมีประเพณีเดียวกัน เพื่อ ปลดปล่อยดินแดนปาเลสไตน์จากการยึดครองของประเทศอิสราเอล ถูก รวมเข้าด้วยกันโดยไม่สมัครใจ แต่เกิดจากผลของสงคราม และข้อตกลง ระหว่างประเทศมหาอานาจ ประกอบด้วยกลุ่มองค์กรเล็กๆ หลายกลุ่ม หัวหน้ากลุ่ม PLO คือนาย Yasser Arafat
  • 23. 2. Hizballah (Islamic Jihad) ก่อตั้งขึ้ นในประเทศเลบานอน เคร่งครัดในคาสอนของศาสนา และใช้ ศาสนาเป็ นเครื่องชี้ นาในทางการเมือง ได้รบการสนับสนุ นจากรัฐบาล ั อิหร่าน มีเปาหมายในการจัดตั้งสาธารณรัฐอิสลามที่ปกครองตาม ้ อิหร่านขึ้ นในประเทศเลบานอน และผลักดันกลุ่มชนที่มิใช่อิสลามที่แพร่ อิทธิพลออกไปจากพื้ นที่ เป็ นกลุ่มที่ต่อต้านกลุ่มประเทศตะวันตกและ ประเทศอิสราเอล
  • 24. 3. Hamas (Islamic Resistance Movement) นับเป็ นกลุ่มทางการเมืองหลักกลุ่มหนึ่งใน PLO มีเป้ าหมายในการจัดตั้งรัฐ อิสลามของชาวปาเลสไตน์ข้ ึนในพื้นที่ของประเทศอิสราเอล ส่ วนใหญ่เป็ น กองกาลังทหารติดอาวุธที่นิยมใช้ความรุ นแรง ถนัดในการใช้ระเบิดและการ ลอบสังหาร บางครั้งยังปฏิบติการต่อกลุ่มที่ขดแย้งภายใน PLO ด้วยกันเอง ั ั
  • 25. 4. Al Queda เครื อข่ายก่อการร้ายนานาชาติ ก่อกาเนิดโดยนายโอซามา บิน ลาเดน จุดมุ่งหมายคือการกวาดล้างอิทธิ พลตะวันตกออกจากประเทศมุสลิม ขับไล่ การปกครองรัฐบาลมุสลิมและอาหรับที่ต่อต้านอิสลามซึ่ งมีประเทศ สหรัฐอเมริ กาหรื อชาติตะวันตกให้การหนุนหลัง โดยเปลี่ยนการปกครองให้ เป็ นมุสลิมแบบหนึ่งเดียว ปกครองอย่างเข้มงวดตามกฎหมายอิสลาม
  • 26. ตัวอย่างการก่อการร้าย เหตุระเบิดในบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย (12 ตุลาคม ค.ศ.2002) ในย่านท่องเที่ยวคูตา (Kuta) เกี่ยวข้องกับการจุดระเบิดสามลูกด้วยกัน ลูกหนึ่ง มือระเบิดพลีชีพนาติดตัว ลูกหนึ่งเป็ นคาร์ บอมบ์ขนาดใหญ่ ทั้งสองลูกถูกจุด ั ระเบิดในหรื อใกล้กบไนท์คลับที่ได้รับความนิยม ระเบิดลูกสุ ดท้าย เป็ น อุปกรณ์ขนาดเล็กกว่ามาก จุดระเบิดนอกสถานกงสุ ลสหรัฐอเมริ กา ก่อให้เกิด ความเสี ยหายเพียงเล็กน้อย
  • 27. สมาชิกหลายคนของกลุ่มญะมาอะห์ อิสลามียะห์ กลุ่มอิสลามหัวรุ นแรง ถูก พิพากษาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุระเบิด โดยมีสามคนถูกตัดสิ นประหารชีวิต โดยกลุ่มนี้มีเป้ าหมายจะก่อตั้งรัฐอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ นักโทษสามคนที่ถกประหารชีวิต ู
  • 28. เหตุระเบิดในลอนดอน สหราชอาณาจักร (7 กรกฎาคม ค.ศ.2005) เกิดระเบิดขึ้นสี่ ครั้งต่อเนื่อง รถไฟใต้ดินสามขบวนถูกวางระเบิดภายในช่วงเวลา ครึ่ งชัวโมง จากนั้นอีกครึ่ งชัวโมงรถเมล์สองชั้นอีกหนึ่งคันก็ถกระเบิด คาดว่า ู ่ ่ เป็ นฝี มือของกลุ่มอัลเคด้า เหตุระเบิดคราวนี้มีลกษณะใกล้เคียงกับ เหตุการณ์ ั ระเบิดรถไฟที่มาดริ ด ประเทศสเปน ซึ่งเป็ นลักษณะการโจมตีของ อัลเคด้า
  • 29. โดยหลักฐานสาคัญคือ เว็บไซต์ของอัลเคด้า มีขอความเกี่ยวกับเหตุการณ์ ้ ระเบิด โดยเขียนเป็ นภาษาอาหรับ เนื้อความประกาศเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ อังกฤษได้รุกรานประเทศอิรักและ ประเทศอัฟกานิสถานในปี พ.ศ. 2546 และ ได้กล่าวอ้างอิงถึง ประเทศเดนมาร์ ก และประเทศอิตาลี ให้ถอนกาลังทหาร อย่างไรก็ตามจดหมายที่เขียนไว้มีการใช้คาสะกดผิด และใช้ไวยกรณ์ที่ไม่ ถูกต้อง ประกาศจากเว็บไซต์ของอัลเคด้า
  • 31. ปฏิบติการ ั ใช้การสูรบแบบกองโจร เพื่อทาลายเป้ าหมายสาคัญของศรี ลงกา นิยมใช้ ้ ั ระเบิดพลีชีพ การสนับสนุ น กลุ่มนี้เปิ ดเผยตัวเองอย่างชัดแจ้งในการสนับสนุนการแบ่งแยกดินแดนทมิฬ และวิ่งเต้นขอความช่วยเหลือจากประเทศต่างๆรวมทั้งสหประชาชาติ ได้รับ ความช่วยเหลือจากชาวทมิฬที่อาศัยในยุโรป อเมริ กาเหนือและเอเชีย
  • 32. ระเบิดพลีชีพในศรี ลงกา ั การสูญเสี ยการสนับสนุนทางการเงิน และการส่ งบารุ งกาลังจากต่างประเทศ รวมถึงการสูญเสี ยศูนย์การส่ งบารุ ง กาลังทางน้ า ทาให้กลุ่มกบฏพยัคฆ์ ทมิฬต้องถอยร่ นและพ่ายแพ้การสูรบ ้
  • 34. ความขัดแย้งทางศาสนา • เกิดขึ้นเนื่ องจากผูนบถือนั้นเห็นว่าศาสนาหรื อลัทธิ ที่ตนนับถือดีกว่า ้ ั ของผูอื่นและไม่ยอมรับคนต่างศาสนาต่างลัทธิ มักเกิดได้จาก ความ ้ แตกต่างทางพิธีกรรม ทางความเชี่อ ด้านศาสนา ด้านคาสอน และ การถือตัวของแต่ละศาสนา เป็ นต้น ส่ วนใหญ่ความขัดแย้งทาง ศาสนามักจะมีความรุ นแรง และพร้อมจะสละชี วิตเพื่อความยึดมัน ่ ของตน
  • 35. ความขัดแย้งในศาสนาเดียวกัน ความขัดแย้งทางศาสนาในประเทศอินเดีย ั • ระหว่างชาวฮินดูกบชาวมุสลิม ทาให้แยกเป็ นประเทศปากีสถานใน ค.ศ. 1947 ปั ญหาเกิดจากความแตกต่างในด้านต่างๆดังนี้ • ความแตกต่างทางการเมือง ที่ผนับถือ ู้ ศาสนาอิสลามหรือชาวมุสลิมที่มีจานวน น้อยกว่า จึงได้รบสิทธิทางการเมืองน้อย ั • ความแตกต่างทางศาสนา ที่ชาวมุสลิม นับถือพระเจ้าองค์เดียว ส่วนชาวฮินดูนับ ถือพระเจ้าหลายองค์ • ความแตกต่างทางสังคม ที่ชาวมุสลิม เชื่อว่าทุกคนมีความเท่าเทียมกัน แต่ สังคมชาวฮินดูมีระบบวรรณะ
  • 36. • ปั ญหาระหว่างชาวมุสลิมและชาวฮินดูเพิ่มมากขึ้นจนถึงขั้นปะทะกัน อย่างรุ นแรง ในที่สุดอังกฤษจึงให้เอกราชกับอินเดียและปากีสถาน แต่อินเดียกับปากีสถานก็ไม่ราบรื่ นนัก ไม่ว่าจะเป็ นปั ญหาพรมแดน ปั ญหาแคว้นแคชเมียร์ และการแข่งขันการสะสมและพัฒนาอาวุธ นิ วเคลียร์ เพื่อ ข่มขู่ฝ่ายตรงกันข้าม นอกจากนี้ ความขัดแย้งระหว่าง ชาวมุสลิมกับชาวฮินดูในอินเดียก็ยงคงดาเนินเรื่ อยมา ั
  • 37. ความขัดแย้งภายในศาสนาเดียวกัน ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมในประเทศปากีสถาน • นาไปสู่ การแยกเป็ นประเทศปากีสถานกับบังกลาเทศเมื่อ ค.ศ.1971 สาเหตุสาคัญมี 2 ประการ 1. สภาพทางภูมิศาสตร์ ที่แยกปากีสถานออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ปากีสถาน ตะวันตกและปากีสถาน ตะวันออก โดยมีอินเดียคันกลาง ่
  • 39. • อีกประการหนึ่ งที่ สาคัญ คือไม่พอใจความไม่เท่าเทียมกัน เนื่ องจาก ประชากรในปากีสถานตะวันออกส่ วนใหญ่มากกว่าครึ่ งหนึ่ งของ ประชากรทั้งหมดของประเทศปากีสถาน แต่รัฐบาลกลับให้ความ สนใจในการพัฒนาปากีสถานตะวันตกมากกว่า ชาวปากีสถาน ตะวันออกจึงพยายามที่จะแยกตัว ชาวปากีสถานตะวันออกหลบหนี ่ ไปอาศัยอยูในอินเดีย อินเดียถูกโจมตีว่าให้การสนับสนุนปากีสถาน ตะวันออกและสุ ดท้ายก็สามารถแยกประเทศได้สาเร็ จและจัดตั้ง ประเทศใหม่ในชื่อว่า บังกลาเทศ
  • 40. ความขัดแย้งระหว่างอิรักและอิหร่ าน สาเหตุสาคัญ ได้แก่ • ปั ญหาเรื่ องเขตแดน การแย่งชิ งสิ ทธิ เหนื อร่ องน้ าอัล-อาหรับ เป็ น เขตแดนตอนใต้ระหว่างอิรัก-อิหร่ าน มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ คือ เป็ นที่ต้ งท่าเรื อที่ใหญ่ที่สุดและเป็ นที่ส่งน้ ามัน รวมถึงเป็ นแหล่ง ั น้ ามันของอิหร่ าน
  • 41. • ปั ญหาชนกลุ่มน้ อยชาวเคิร์ด ที่ได้เรี ยกร้องการปกครองตนเองมาเป็ น เวลายาวนาน โดยเฉพาะในอิรัก ที่มีความแตกต่างจากอิรักทั้งเชื้ อชาติ และศาสนา นับถือมุสลิมเหมือนกันแต่คนละนิ กาย โดยชาวอิรักนับถือ นิ กายชี อะห์ ชาวเคิร์ดนับถือนิ กายสุ หนี่ ชาวเคิร์ดมักใช้วิธีการก่อ จราจลและการต่อสู ้ดวยกาลังอาวุธโดยได้รับการสนับสนุ นจากอิหร่ าน ้ ส่ วนทางอิรักก็ใช้กาลังรุ นแรงในการปราบปราม ชาวเคิร์ด
  • 42. • ความขัดแย้ งระหว่ างผู้นาประเทศ อิหร่ านเปลี่ยนการปกครองเป็ น สาธารณรัฐอิสลามที่มีโคไมนี เป็ นผูนา ประเทศในภูมิภาคกลัวว่า อิหร่ าน ้ จะเผยแพร่ แนวคิดรัฐอิสลามและกระทบต่อการเมือง ทาให้อิรักที่มี พรมแดนติดกับอิหร่ านมีความขัดแย้งกันรุ นแรงมากขึ้น โคไมนี พยายาม เรี ยกร้องให้ชาวมุสลิมนิกายชีอะห์โค่นล้มรัฐบาลประธานาธิ บดีอิรัก ซัดดัม ฮุสเซน ซึ่ งเป็ นชาวมุสลิมนิ กายสุ หนี่ ที่จะขยายอานาจเข้ามาใน อิหร่ าน ทาให้เกิดการปะทะกันตามพรมแดน กลายเป็ นสงครามยืดเยื้อ โดยสหรัฐอเมริ กาสนับสนุ นอิรัก ส่ วนรัสเซี ยสนับสนุนอิหร่ าน
  • 43. อยาตอลลาห์ โคไมนี ผู้นาอิหร่ าน ซัดดัม ฮุสเซน ประธานาธิบดีอิรัก • จนกระทังองค์การ สหประชาชาติและประเทศที่เป็ นกลางพยายาม ่ เจรจาและยุติสงครามใน ค.ศ. 1988
  • 44. รายชื่อสมาชิก 1. นางสาวกมลรักษ์ จันทร์ หอม ม.6.5 เลขที่ 2 2. นางสาวปิ ยะธิ ดา ม.6.5 เลขที่ 24 รัตนสุ วรรณ