SlideShare a Scribd company logo
การเมืองการปกครองสมัย
กรุงศรีอยุธยา
ระบอบการปกครองในสมัยกรุงศรี
อยุธยา
• มีการปกครองในระบอบราชาธิปไตย หรือ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์
• กษัตริย์เป็นสมมติเทพ (เทวดาโดยสมมติ)
• รับแนวคิดนี้มาจากอินเดียผ่านทางเขมร
• พระมหากษัตริย์ปกครองแผ่นดินด้วยหลัก
ทศพิธราชธรรม ราชจรรยานุวัตร ๔ และจักรวรรดิ
วัตร ๑๒
• กรุงศรีอยุธยามีพระมหากษัตริย์ปกครองในระบอบ
ราชาธิปไตยอยู่ ๓๓ พระองค์๕ ราชวงศ์
• แบ่งได้เป็ น ๒ ลักษณะ คือ การจัดระเบียบการ
ปกครองส่วนกลาง และการจัดระเบียบปกครอง
หัวเมือง
• แบ่งออกเป็ น ๓ ช่วง ได้แก่
- การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสมเด็จ
พระรามาธิบดีที่๑ (พระเจ้าอู่ทอง)
- การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระ
- การปรับปรุงเพิ่มเติมระเบียบการปกครอง
การจัดระเบียบการปกครองในสมัยกรุง
ศรีอยุธยา
การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสมเด็จ
พระรามาธิบดีที่ ๑
การปกครองส่วนกลาง ลักษณะการปกครองในเขต
ราชธานี ได้รับอิทธิพลมาจากเขมรโบราณ แบ่ง
ออกเป็ น ๔ ฝ่ าย เรียกว่า “จตุสดมภ์” แปลว่า “หลักทั้ง
สี่” ได้แก่
• ขุนเวียง(กรมเมือง) มีหน้าที่ ปกครองท้องที่ รักษา
ความสงบสุขของราษฎร ปราบปรามโจรผู้ร้าย
• ขุนวัง(กรมวัง) มีหน้าที่ เกี่ยวกับราชสานักและ
พิจารณาพิพากษาคดีความ
• ขุนคลัง(กรมคลัง) มีหน้าที่ ควบคุมดูแลรักษา
ผลประโยชน์ของแผ่นดิน
• ขุนนา(กรมนา) มีหน้าที่ ดูแลการทาไร่นาและ
รักษาเสบียงอาหารสาหรับพระนคร
การปกครองหัวเมือง กาหนดขอบเขตในการบังคับบัญชา โดยแบ่งตามประเภท
ของเมือง ดังนี้
• เมืองราชธานี กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการปกครอง มีพระมหากษัตริย์
ปกครอง มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
• เมืองหน้าด่าน เป็นเมืองสาหรับป้องกันราชธานีทั้งสี่ทิศซึ่งพระมหากษัตริย์
ทิศซึ่งพระมหากษัตริย์จะแต่งตั้งเจ้านายชั้นสูงไปปกครอง
ปกครอง
• หัวเมืองชั้นใน คือเมืองที่อยู่ถัดจากเมืองป้อมปราการ ซึ่งพระมหากษัตริย์
ซึ่งพระมหากษัตริย์จะแต่งตั้งข้าราชการไปปกครองเมื่อเกิดสงครามเมือง
เมื่อเกิดสงครามเมืองเหล่านี้ต้องรวมกาลังไพร่ มาสมทบกับเมืองราชธานี
สมทบกับเมืองราชธานี
การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (ต่อ)
• เมืองพระยามหานครหรือหัวเมืองชั้นนอก เป็ น
เมืองที่อยู่ห่างออกไปจากราชธานี เมือง
ประเภทนี้มีเมืองบริวารในสังกัด อาจมีเจ้าเมือง
ปกครองกันเองหรือส่งข้าราชการจากราช
ธานีไปปกครอง
• เมืองประเทศราช คือเมืองที่อยู่ชายขอบพระ
ราชอาณาเขตเจ้านายพื้นเมืองปกครองมี
สิทธิ์ขาดในเมืองของตน หน้าที่ต่อเมืองหลวง
มีเพียงแต่ส่งเครื่องบรรณาการมาถวายตาม
กาหนดและส่งกองทับมาช่วยยามเกิดศึก
การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ ๑ (ต่อ)
กรุงศรี
อยุธยา
สุพรรณบุ
รี
ลพบุรี
นครนายก
พระ
ประแดง
ราชบุรี เพชรบุรี
ปราจีนบุ
รี
ฉะเชิงเท
รา
ชลบุรี
พรหมบุรี อินทรบุรี สิงห์
แพร
ก
ศรีราชา นครราชสี
มา
จันทบุรี
ไชยา
นครศรีธรรมร
าช
พัทลุง สงขลา ถลาง
ทวาย
ตะนาว
ศรี
เชียง
กราน
การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระ
บรมไตรโลกนาถ
การปกครองส่วนกลาง
มีการรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลางได้แก่ ราชธานี และแยก
การทหารและพลเมืองออกจากกัน มีอัครเสนาเสนาบดีควบคุม
• สมุหกลาโหม เป็ นหัวหน้าราชการฝ่ ายทหารทั่ว
อาณาจักร มีหน้าที่ การรบในยามสงคราม ฝ่ าย
ทหารแยกออกเป็ น ๒ ส่วน คือ ฝ่ ายทาการรบ และ
ฝ่ ายจัดการรบ
• สมุหนายก เป็ นหัวหน้าฝ่ ายพลเรือนทั่ว
ราชอาณาจักร และควบคุมจตุสดมภ์
หน้าที่ฝ่ ายทหารและพลเรือนจะแยกออกจากกันใน
ขณะที่บ้านเมืองสงบ แต่ถ้าเกิดศึกสงคราม ข้าราชการ
การจัดระเบียบการปกครองหัวเมือง
มีการดาเนินการดังนี้
• หัวเมืองชั้นใน
-ยกเลิกเมืองหน้าด่าน
-ลดฐานะเป็ นเมืองจัตวา
-อยู่ในการควบคุมของราชธานีอย่างใกล้ชิด
-พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งเจ้าหน้าที่จากราชธานี
ไปปกครองเรียกว่า “ผู้รั้ง”
การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระ
บรมไตรโลกนาถ (ต่อ)
• หัวเมืองชั้นนอก หรือเมืองพระยามหานคร
-กาหนดลาดับเป็นเมืองชั้นเอก โท และตรี ตามขนาดและความสาคัญ
-พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์หรือข้าราชการชั้นสูงเป็นเจ้าเมือง
-หัวเมืองเอกที่มีความสาคัญคือ นครศรีธรรมราช ทางใต้ และ พิษณุโลก ทาง
เหนือ
• เมืองประเทศราช
-ให้เจ้านายชนชาตินั้นเป็นผู้ปกครองเมือง แต่ต้องได้รับการแต่งตั้งจากราช
ธานี
-มีหน้าที่ส่งต้นไม้เงิน ต้นไม้ทองกับเครื่องราชบรรณาการเข้ามาถวายมีกาหนด
๓ ปีต่อครั้ง
-และเมื่อเกิดศึกสงครามต้องส่งกองทัพมาช่วย
การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
(ต่อ)
การปรับปรุงเพิ่มเติมระเบียบการ
บริหาร
การปกครองที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวาง
ระเบียบไว้นี้ ได้ใช ้หลักในการปกครองมาตลอดสมัย
อยุธยา หากมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ้างในบางสมัย
เช่น
สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
• มีการปรับปรุงฝ่ ายทหาร คือการทาสารบัญชี
• จัดระเบียบวิธีเกณฑ์พลเมืองเข้ารับราชการ
ทั้งฝ่ ายทหารและฝ่ ายพลเรือน
• มีการตั้งกรมสุรัสวดี (กรมสัสดี)
สมัยสมเด็จพระเพทราชา
• แบ่งการปกครองหัวเมืองออกเป็น ๒ ภาค คือ ให้สมุหกลาโหมบังคับ
บัญชาเขตหัวเมืองฝ่ายใต้ และให้สมุหนายกบังคับบัญชาเขตหัวเมือง
เหนือ
สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
• โอนหัวเมืองฝ่ายใต้มาขึ้นกับกรมท่า
• เป็นการลดอานาจของสมุหกลาโหมที่อาจก่ออันตรายต่อราบัลลังก์
• สมุหนายกยังคงอานาจเหมือนเดิม
การปรับปรุงเพิ่มเติมระเบียบการบริหาร
บรรณานุกรม
วงเดือน นาราสัจจ์ และชมพูนุช นาคีรักษ์. หนังสือเรียนรายวิชา
พื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ,

More Related Content

What's hot

07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Pracha Wongsrida
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
Warinthorn Limpanakorn
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 

What's hot (20)

07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 

การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา