SlideShare a Scribd company logo
Genetics 1 : การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตอาจเกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปได้โดยปัจจัย 2 ประการ คือ
1. พันธุกรรม 2. สิ่งแวดล้อม
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.1 ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง (Continuous variation) เป็นลักษณะทาง
พันธุกรรมที่มีความลดหลั่นกันทีละน้อย สามารถนำมาเรียงลำดับกันได้ เช่น ความสูง น้ำหนัก สีผิว เป็นต้น
1.2 ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous variation) เป็นลักษณะที่แบ่งเป็นกลุ่มได้อย่างชัดเจน
เช่นหมู่เลือดของคน ลักษณะผิวเผือก ลักยิ้ม ติ่งหู การห่อลิ้น เป็นต้น
1.1 การศึกษาของเมนเดล
➢ พันธุศาสตร์(Genetics) เป็นสาขาหนึ่งของชีววิทยา ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของยีน ซึ่งเป็นหน่วยควบคุมลักษณะทาง
พันธุกรรมและแบบแผนการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
➢ เกรเกอร์เมนเดล (Gregor Mendel,ค.ศ. 1822 – 1884) เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของครอบครัวชาวนาที่
ยากจน โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชเป็นบาทหลวงแล้วได้รับตำแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390 ได้ทำการทดลองในถั่วลันเตา
ได้ความรู้ทางพันธุศาสตร์มากมาย ทำให้เขาได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์
เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่งแต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลยเมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์
งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427
การทดลองของเมนเดล
เมนเดลประสบผลสำเร็จในการทดลอง จนตั้งเป็นกฎเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่มายังลูกหลานใน
ช่วงต่อๆ มาได้เนื่องจากสาเหตุสำคัญสองประการ คือ เมนเดลรู้จักเลือกชนิดของพืชมาทำการทดลองและรู้จักวางแผนการทดลอง
พืชที่เมนเดลใช้ในการทดลองคือถั่วลันเตา (Pisum sativum) ซึ่งมีข้อดีสำหรับการศึกษาด้านพันธุศาสตร์หลายประการ เช่น
เป็นพืชที่ผสมตัวเอง (Self- fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้ได้ง่าย เป็นพืชที่ปลูกง่าย ใช้เวลาปลูกประมาณ 3 เดือน และยังให้เมล็ดใน
ปริมาณที่มากด้วย และเป็นพืชที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันชัดเจนหลายลักษณะ ซึ่งในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้
นำมาใช้ 7 ลักษณะด้วยกัน
ข้อสังเกต
โดยทั่วไป ลักษณะที่มีความแปรผันแบบต่อเนื่อง เช่นสีผิวนั้น สิ่งแวดล้อมจะ
มีอิทธิพลต่อการแสดงลักษณะในสัดส่วนที่มากกว่าลักษณะที่มีความแปรผัน
แบบไม่ต่อเนื่อง เช่น หมู่เลือด
➢ ลักษณะต่าง ๆ ของถั่วลันเตาที่เมนเดล ใช้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
1. ลักษณะของเมล็ด – เมล็ดกลม และ เมล็ดย่น (round & wrinkled)
2. สีของเปลือกหุ้มเมล็ด – สีเหลือง และ สีเขียว (yellow & green)
3. สีของดอก – สีม่วงและ สีขาว (purple & white)
4. ลักษณะของฝัก – ฝักอวบ และ ฝักแฟบ (full & constricted)
5. ลักษณะสีของฝัก– สีเขียว และ สีเหลือง (green & yellow)
6. ลักษณะตำแหน่งของดอก-ดอกติดอยู่ที่กิ่ง และเป็นกระจุกที่ปลายยอด (Axial & terminal)
7. ลักษณะความสูงของต้น – ต้นสูง และ ต้นเตี้ย (long & short)
เมนเดลศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถั่วลันเตาแต่ละลักษณะก่อน เมื่อเข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะนั้นๆ แล้ว เขาจึงได้
ศึกษาการถ่ายทอดสองลักษณะไปพร้อมๆ กัน เขาใช้พันธุ์แท้ (pure line) ในลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน มาทำการผสมข้ามพันธุ์ เพื่อสร้าง
ลูกผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination) ลูกผสมที่ได้เรียกว่าลูกผสมช่วงที่ 1 หรือ F1 (first filial generation) นำลูกผสมที่ได้มาปลูกดู
ลักษณะที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบแล้วปล่อยให้ลูกผสมช่วงที่ 1 ผสมกันเอง ลูกที่ได้เรียกว่า ลูกผสมช่วงที่ 2
หรือ F2 (second filial generation) นำลูกช่วงที่ 2 มาปลูกดูลักษณะต่างๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ
ได้ผลการศึกษาดังตาราง
* สิ่งมีชีวิตที่ควรเลือกมาใช้ในการศึกษาทางพันธุศาสตร์ควรมี
ลักษณะดังนี้
1. ปลูกง่าย อายุสั้น ผลดก
2. มีการแปรผันมาก มีความแตกต่างของลักษณะที่ต้องศึกษาชัดเจนและ
สามารถหาพันธุ์แท้ได้ง่าย
3. มี Recombination คือการรวมกันของลักษณะของพ่อและแม่เมื่อมีการ
ผสมพันธุ์
4. ควบคุมการผสมพันธุ์ได้ สามารถกำหนดให้มีลักษณะต่างๆเข้าผสม
กันได้ตามต้องการ
ตัวอย่างข้อสอบ
แมลงหวี่เป็นสัตว์ที่นิยมนำมาใช้ในการศึกษาพันธุศาสตร์มากชนิดหนึ่ง
เนื่องจากมาจากเหตุผลต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด
ก. ผสมพันธุ์แล้วให้ลูกหลานจำนวนมาก ข. เกิดการผ่าเหล่าได้ง่าย
ค. วงจรชีวิตสั้น ง. เพาะเลี้ยงง่าย
คำศัพท์
▪ยีน (Gene) สารพันธุกรรม ที่ควบคุมการแสดงออก ลักษณะ และการ
ถ่ายทอดของสิ่งมีชีวิต โดยในคน จะมี 80,000 ยีน
▪Allele (Allelomorph) คู่ยีนที่อยู่บนโครโมโซม Homologous chromosome
และมีตำแหน่ง (locus/loci) บนโครโมโซมเดียวกัน เช่น Aa
▪ Gamete เซลล์สืบพันธุ์ egg (n) , sperm (n)
▪ Genotype= คู่ยีนที่ควบคุมการแสดงออกลักษณะต่างๆ (ใช้อักษรอังกฤษแทนยีน) เช่น Aa Bb Cc Tt
▪ Phenotype = ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมาโดยเป็นผลมาจากการควบคุมของ Genotype เช่น หัวล้าน นิ้วเกิน มีขนที่หู
▪ Dominance = ลักษณะเด่นของสิ่งมีชีวิต เป็นลักษณะที่มีเพียง 1 ยีนในคู่ยีนที่แสดงลักษณะออกมา
▪ Recessive= ลักษณะด้อย เป็นลักษณะที่จะแสดงออกมาต้องมียีนด้อย 2 ยีน แต่ถ้าอยู่กับลักษณะเด่นจะไม่สามารถแสดง
ออกมา
▪ Homologous chromosome โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน เช่น ความยาว ตำแหน่ง centromere
▪ Homologous gene (Genotype) คู่ยีนที่มีลักษณะ allele เหมือนกัน เช่น AA = Homozygous dominance , aa = Homozygous
recessive
▪ Heterozygous gene (Genotype) ลักษณะคู่ยีนที่มี allele ไม่เหมือนกัน เช่น Aa = พันทาง
1.2 กฎของเมนเดลและอัตราส่วนในทางพันธุศาสตร์
กฎเมนเดล
➢ กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยกตัว (Law of Segregation) มีใจความว่า “ยีนที่อยู่
คู่กันจะแยกตัวออกจากกัน ไปอยู่ในแต่ละเซลล์สืบพันธุ์ ดังนั้นภายในเซลล์สืบพันธุ์จะไม่มียีน
ที่เป็นคู่กันเลย” ต่อมาภายหลังเมื่อพบพฤติกรรมของโครโมโซมในกระบวนการไมโอซิส จะ
เห็นว่าสอดคล้องกับกฎที่เมนเดลเสนอไว้คือ พฤติกรรมการเรียงตัวของโครโมโซม ใน
Metaphase I และการแยกตัวใน Anaphase I
เมื่อนำถั่วลันเตารุ่นพ่อแม่(P) ลักษณะเมล็ดเขียวกับเมล็ดเหลืองที่เป็นพันธุ์แท้ทั้งคู่มาผสมกันจะได้รุ่นลูก(F1) มีจีโนไทป์
(genotype) และฟีโนไทป์ (phenotype) ชนิดเดียวกันทั้งหมด และเมื่อปล่อยให้รุ่น F1 ผสมกันเอง จะได้รุ่นหลาน (F2) จะได้จีโนไทป์แตกต่าง
กันเป็น 3 ชนิด ในสัดส่วน 1 : 2 : 1 และได้ฟีโนไทป์แตกต่างกันเป็น 2 ชนิด ในสัดส่วน 3 : 1
ทั้ง 7 ลักษณะที่ศึกษา เมนเดลทดลองศึกษาทีละลักษณะ โดยการทำ monohybrid cross หมายถึงการผสมพันธุ์โดยพิจารณา
ลักษณะแตกต่างกันหนึ่งลักษณะในขั้นถัดไป เขาได้ทำการผสมถั่วโดยพิจารณา 2 ลักษณะพร้อมกัน (dihybrid cross) เช่น
เมื่อลองวิเคราะห์แต่ละลักษณะแยกจากกัน พบว่าแต่ละลักษณะให้อัตราส่วนของ F2 เป็น 3:1 เหมือนผลจาก monohybrid cross
เมนเดลสรุปว่า ในการแยกตัวของยีนและถ่ายทอดต่อไปยังรุ่นลูก ยีนที่ควบคุมลักษณะเมล็ดและยีนที่ควบคุมสีของใบเลี้ยงมีการแยกตัว
และถ่ายทอดเป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกัน จึงตั้งขึ้นเป็นกฎข้อที่ 2 ดังนั้น R อาจแยกไปกับ Y หรือ y ก็ได้ ทำนองเดียวกัน r อาจแยกไปกับ Y
หรือ y ก็ได้เช่นกัน
➢ กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of Independent Assortment) มีใจความว่า “ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีการ
รวมกลุ่มของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่างๆ การรวมกลุ่มเหล่านี้เป็นไปได้อย่างอิสระ จึงทำให้เราสามารถทำนายผลที่
เกิดขึ้นในรุ่นลูกและรุ่นหลาน” คือ ยีนที่แยกออกจากกัน ในขณะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ตามกฎข้อ 1 นั้น จะมารวมกันอีกครั้งหนึ่งใน
ขณะที่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้นและการรวมตัวกันใหม่นี้จะเป็นไปอย่างอิสระโดยสามารถไปรวมกับยีนใดก็ได้ไม่จำเป็นจะต้อง
กลับไปรวมกับคู่เดิมของตน เพื่อทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูกและรุ่นหลาน เราต้องทราบลักษณะและโอกาสที่จะได้เซลล์สืบพันธุ์
ในรุ่นพ่อแม่ก่อน ซึ่งเราสามารถใช้สูตรหาชนิดเซลล์สืบพันธุ์ คือ 2n
(n = จำนวนคู่ของ heterozygous gene)
ตัวอย่าง สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจีโนไทป์ AaBbCc จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่ต่างกันได้กี่แบบ
วิธีที่ 1: ใช้สูตร ชนิดเซลล์สืบพันธุ์ = 2n = 23 = 8 แบบ
วิธีที่ 2: ใช้กฎแห่งการรวมกลุ่มโดยอิสระ
เมื่อทราบโอกาสของเซลล์สืบพันธุ์แล้ว สามารถทำนายผลและโอกาสที่เกิดขึ้นในรุ่นลูก และรุ่นหลานโดยใช้ความน่าจะเป็น
อัตราส่วนในทางพันธุศาสตร์
ความน่าจะเป็น (Probability)
▪ กฎการบวก (Addition Law)
• เหตุการณ์ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมๆ กันได้เช่น โอกาสในการออกหัวหรือก้อยในการโยนเหรียญ 1 ครั้ง = 1/2 + 1/2 = 1
• โอกาสที่เกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเท่ากับผลบวกของโอกาสที่จะเกิดแต่ละเหตุการณ์ P (เหตุการณ์A หรือ B อย่างใดอย่าง
หนึ่ง) = P(A) + P(B)
▪ กฎการคูณ (Multiplication Law)
• เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์หรือมากกว่า
• เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน เช่น โอกาสที่จะได้ลูกชาย (1/2) ผิวเผือก (1/4) = 1/2 x 1/4 = 1/8
• เรียกเหตุการณ์นี้ว่า Independent events โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ A และ B พร้อมกัน = P(A) x P(B)
การคำนวณหาชนิดและอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์
• การสร้างเป็นตาราง (punnet square)
• การใช้สูตร ชนิดของจีโนไทป์= 3n
ชนิดของฟีโนไทป์ = 2n
(n คือ จำนวนคู่ของยีนที่อยู่ในสภาพ heterozygous)
วิธีการหารุ่นลูก
1. การเข้าตาราง (Punnett’s Square) กำหนด RrYy × RrYy
เริ่มจากการหาเซลล์สืบพันธุ์ของแต่ละฝ่าย
จีโนไทป์ของพ่อ RrYy จีโนไทป์ของแม่ RrYy
R r Y y R r Y y
Gamete RY Ry rY ry Gamete RY Ry rY ry
2. การต่อกิ่ง ( Branching )
จงหาอัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกผสม F2 ที่เกิดจากถั่วลันเตา รุ่น F1 ที่มีลักษณะเมล็ดเรียบ สีเหลือง
ให้ S = เมล็ดเรียบ, s = เมล็ดย่น, Y = สีเหลือง, y = สีเขียว
พ่อแม่ SsYy x SsYy
นำยีนแต่ละคู่จากแต่ละฝ่ายมาผสมกัน Ss x Ss Yy x Yy
อัตราส่วนจีโนไทป์ของยีน ¼SS : ½ Ss : ¼ ss ¼YY : ½ Yy : ¼ yy
นำอัตราส่วนจีโนไทป์ของจีนฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นตัวตั้ง และนำจีโนไทป์ของอีกฝ่ายหนึ่งมาต่อกิ่งหรือแขนทีละตัวจนครบทุกตัว จะได้
อัตราส่วนจีโนไทป์ของรุ่นลูกดังนี้
อัตราส่วนจีโนไทป์ของลูก
ฟีโนไทป์จากรุ่นพ่อแม่ 3/4 เมล็ดเรียบ : 1/4 เมล็ดย่น 3/4 สีเหลือง :1/4 สีเขียว
อัตราส่วนฟีโนไทป์ของลูก
เมล็ดเรียบสีเหลือง : เมล็ดเรียบสีเขียว : เมล็ดย่นสีเหลือง : เมล็ดย่นสีเขียว = 9/16 : 3/16 : 3/16 : 1/16 = 9 : 3 : 3 : 1
1.3 การผสมทดสอบ (Test Cross)
Test Cross คือ การนำสิ่งมีชีวิตที่สงสัยว่าเป็นลักษณะเด่นหรือไม่ไปผสมกับลักษณะด้อยของสิ่งมีชีวิตนั้น (tester) แล้วสังเกตอัตราส่วน
ของลูกที่ได้ มีขั้นตอนดังนี้
1. นำตัวที่มีลักษณะเด่นไปผสมกับตัวที่มีลักษณะด้อย
2. รอดูอัตราส่วนในรุ่นลูกโดยพิจารณาดังนี้
Backcross (การผสมกลับ) : เหมือนกับ Test Cross แต่เป็นการนำรุ่น F1 กลับไปผสมกับพ่อหรือแม่
ตัวอย่างเช่น การผสมตัวเอง โดยการนำถั่วลันเตาเมล็ดเรียบนั้น ไปปลูกแล้วปล่อยให้ผสมตัวเอง ถ้าลูกที่ได้เป็นเมล็ดเรียบทั้งหมดแสดง
ว่ามีจีโนไทป์เป็น SS แต่ถ้าอัตราส่วนของลูกเป็นเมล็ดเรียบ : เมล็ดย่น = 3 : 1 แสดงว่ามีจีโนไทป์เป็น Ss
แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์
1. จงเติมจีโนไทป์ของเซลล์ร่างกาย สภาพของจีโนไทป์ แบบของยีนในเซลล์สืบพันธุ์ และโอกาสของการเกิด เซลล์สืบพันธุ์แต่ละแบบ
ลงในตารางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
จีโนไทป์ของเซลล์ร่างกาย สภาพของจีโนไทป์ แบบของยีนในเซลล์สืบพันธุ์
และโอกาสของการเกิด
WW
เฮเทอโรไซกัส W (½) , w (½)
Tt
aa a(1)
2. ถั่วลันเตาลักษณะเมล็ดสีเหลืองเป็นลักษณะเด่นต่อลักษณะเมล็ดสีเขียว ในการผสมพันธุ์ภายในดอกเดียวกันของต้นที่มีลักษณะเมล็ด
สีเหลืองที่เป็นเฮเทอโรไซกัสทั้งคู่ จงหาร้อยละของรุ่น F1 ที่มีลักษณะเมล็ดสีเขียว
3. ในแมลงหวี่ กำหนดให้ L เป็นยีนควบคุมลักษณะปีกยาว และ l เป็นยีนควบคุมลักษณะปีกสั้น เมื่อผสมพันธุ์แมลงหวี่ปีกยาวและปีกสั้น
จะได้ลูกที่มีปีกยาวและลูกที่มีปีกสั้นในอัตราส่วน 1 : 1 จงหาจีโนไทป์ของพ่อแม่และลูก
4. เมื่อนำกระต่ายขนสีดำที่เป็นฮอมอไซกัสผสมพันธุ์กับกระต่ายขนสีน้ำตาล ปรากฏว่าลูกที่เกิดใหม่มีขนสีดำทั้งหมด
(สมมติให้ B และ b แทนแอลลีลคู่หนึ่งที่ควบคุมลักษณะสีขน)
4.1 ข้อมูลนี้บอกอะไรแก่เราบ้าง
4.2 จีโนไทป์ของรุ่น F1 มีสภาพเป็นฮอมอไซกัสหรือเฮเทอโรไซกัส
4.3 ถ้านำรุ่น F1 ผสมพันธุ์กันเอง โอกาสที่รุ่น F2 จะมีจีโนไทป์ได้กี่รูปแบบ อะไรบ้าง และมีอัตราส่วนเท่าใด
4.4 ถ้านำรุ่น F1 ผสมพันธุ์กับรุ่นพ่อแม่ที่มีขนสีน้ำตาล โอกาสลูกที่ได้มีขนสีอะไรบ้างในอัตราส่วนเท่าใด
5. ถ้า N แทนยีนที่ควบคุมลักษณะปีกปกติของแมลงหวี่ และ n แทนยีนที่ควบคุมลักษณะปีกสั้น ในการผสมพันธุ์แมลงหวี่ที่มีปีกปกติคู่
หนึ่ง ปรากฏว่ารุ่นลูกจำนวน 123 ตัว มีปีกปกติ 88 ตัว และมีปีกสั้น 35 ตัว
5.1 ข้อมูลนี้บอกอะไรแก่เราบ้าง
5.2 จงเขียนจีโนไทป์ของแมลงหวี่ในรุ่นพ่อแม่
5.3 เมื่อนำแมลงหวี่ปีกสั้นในรุ่นลูก ผสมพันธุ์กับแมลงหวี่ปีกปกติในรุ่นพ่อแม่ จะได้ลูกมีลักษณะปีกเป็นอย่างไรบ้าง คิดเป็นอัตราส่วน
เท่าใด
6. จากการผสมพันธุ์ระหว่างพืชที่มีจีโนไทป์ AABBrr x aabbrr ถ้าการจัดกลุ่มของยีนแต่ละคู่เป็นไปอย่างอิสระ จงนวณหา
6.1 รุ่น F1 มีจีโนไทป์อย่างไร
6.2 โอกาสที่จะได้รุ่น F2 ที่มีจีโนไทป์ aabbrr เป็นเท่าใด
6.3 โอกาสที่รุ่น F2 จะมีจีโนไทป์เหมือนพ่อแม่เป็นเท่าใด
7. มะเขือเทศผลสีแดงเป็นลักษณะเด่น (R) ผลสีเหลืองเป็นลักษณะด้อย (r) และต้นสูงเป็นลักษณะเด่น (T) ต้นเตี้ยเป็นลักษณะด้อย (t)
เมื่อนำมะเขือเทศต้นหนึ่งมีจีโนไทป์ RrTT ผสมพันธุ์กับต้นที่มีจีโนไทป์ rrTt จงหาอัตราส่วนฟีโนไทป์และจีโนไทป์ของลูก
8. กระต่ายขนสีดำเป็นลักษณะเด่น (B) ขนสีน้ำตาลเป็นลักษณะด้อย (b) และขนสั้นเป็นลักษณะเด่น (S) ขนยาวเป็นลักษณะด้อย (s) ใน
การผสมพันธุ์ระหว่างกระต่ายขนยาวสีดำที่เป็นฮอมอไซกัส และขนสั้นสีน้ำตาลที่เป็นฮอมอไซกัส
8.1 จงหาอัตราส่วนของฟีโนไทป์ต่างๆ ในรุ่น F1 และอัตราส่วนของฟีโนไทป์ต่างๆ ในรุ่น F2
8.2 ลูกที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างรุ่น F1 กับกระต่ายขนยาวสีน้ำตาล มีฟีโนไทป์อะไรบ้างและเป็นสัดส่วนเท่าใด
9. แมลงหวี่ปีกยาวเป็นลักษณะเด่น (L) ปีกสั้นเป็นลักษณะด้อย (l) และลำตัวสีเทาเป็นลักษณะเด่น (G) ล้าตัวสีดำเป็นลักษณะด้อย (g) ใน
การผสมพันธุ์ระหว่างแมลงหวี่ปีกยาวลำตัวสีเทาและแมลงหวี่ปีกสั้นล้าตัวสีดำ จงหาจีโนไทป์ของรุ่นพ่อแม่ในกรณีต่อไปนี้
9.1 ลูกมีอัตราส่วนของฟีโนไทป์เท่ากับ 1 : 1 : 1 : 1
9.2 ลูกปีกยาวลำตัวสีเทาทั้งหมด
10. ในคนลักษณะนิ้วมือสั้น และเชิงผมที่หน้าผากแหลมเป็นลักษณะเด่นและลักษณะนิ้วมือยาว และเชิงผมที่หน้าผากไม่แหลมเป็น
ลักษณะด้อย ถ้าพ่อแม่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส จงหาอัตราส่วนของลูกที่มีฟีโนไทป์เหมือนพ่อแม่

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
Wan Ngamwongwan
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 

Similar to การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
พิรุณพรรณ พลมุข
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Janistar'xi Popae
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
kaew3920277
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
IzmHantha
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Genetics posn
Genetics posnGenetics posn
Genetics posn
Wichai Likitponrak
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ไพฑูรย์ ทิพย์สันเทียะ
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around us
AlisaYamba
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์
zidane36
 

Similar to การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok (20)

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Mind mapping genetics
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
New genetics1
New genetics1New genetics1
New genetics1
 
Genetics posn
Genetics posnGenetics posn
Genetics posn
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
Test
TestTest
Test
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around us
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์
 

More from pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
pitsanu duangkartok
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
pitsanu duangkartok
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
pitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
pitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
pitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
pitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
pitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
pitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
pitsanu duangkartok
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
pitsanu duangkartok
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
pitsanu duangkartok
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
pitsanu duangkartok
 
ecosystem
ecosystemecosystem
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
pitsanu duangkartok
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
pitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
pitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
pitsanu duangkartok
 

More from pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
 

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok

  • 1. Genetics 1 : การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล ลักษณะของสิ่งมีชีวิตอาจเกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปได้โดยปัจจัย 2 ประการ คือ 1. พันธุกรรม 2. สิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.1 ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง (Continuous variation) เป็นลักษณะทาง พันธุกรรมที่มีความลดหลั่นกันทีละน้อย สามารถนำมาเรียงลำดับกันได้ เช่น ความสูง น้ำหนัก สีผิว เป็นต้น 1.2 ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous variation) เป็นลักษณะที่แบ่งเป็นกลุ่มได้อย่างชัดเจน เช่นหมู่เลือดของคน ลักษณะผิวเผือก ลักยิ้ม ติ่งหู การห่อลิ้น เป็นต้น 1.1 การศึกษาของเมนเดล ➢ พันธุศาสตร์(Genetics) เป็นสาขาหนึ่งของชีววิทยา ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของยีน ซึ่งเป็นหน่วยควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรมและแบบแผนการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม ➢ เกรเกอร์เมนเดล (Gregor Mendel,ค.ศ. 1822 – 1884) เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของครอบครัวชาวนาที่ ยากจน โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชเป็นบาทหลวงแล้วได้รับตำแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390 ได้ทำการทดลองในถั่วลันเตา ได้ความรู้ทางพันธุศาสตร์มากมาย ทำให้เขาได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ เมนเดลได้ส่งผลการทดลองนี้ไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งหนึ่งแต่กลับไม่มีผู้ที่สนใจเลยเมนเดลก็ได้ทำการล้มล้างการตีพิมพ์ งานของตน เขาเก็บรายงานนี้ไว้ที่ห้องสมุดและทำการทดลองต่อไปเงียบๆ จนกระทั่งถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ. 2427 การทดลองของเมนเดล เมนเดลประสบผลสำเร็จในการทดลอง จนตั้งเป็นกฎเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่มายังลูกหลานใน ช่วงต่อๆ มาได้เนื่องจากสาเหตุสำคัญสองประการ คือ เมนเดลรู้จักเลือกชนิดของพืชมาทำการทดลองและรู้จักวางแผนการทดลอง พืชที่เมนเดลใช้ในการทดลองคือถั่วลันเตา (Pisum sativum) ซึ่งมีข้อดีสำหรับการศึกษาด้านพันธุศาสตร์หลายประการ เช่น เป็นพืชที่ผสมตัวเอง (Self- fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้ได้ง่าย เป็นพืชที่ปลูกง่าย ใช้เวลาปลูกประมาณ 3 เดือน และยังให้เมล็ดใน ปริมาณที่มากด้วย และเป็นพืชที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันชัดเจนหลายลักษณะ ซึ่งในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้ นำมาใช้ 7 ลักษณะด้วยกัน ข้อสังเกต โดยทั่วไป ลักษณะที่มีความแปรผันแบบต่อเนื่อง เช่นสีผิวนั้น สิ่งแวดล้อมจะ มีอิทธิพลต่อการแสดงลักษณะในสัดส่วนที่มากกว่าลักษณะที่มีความแปรผัน แบบไม่ต่อเนื่อง เช่น หมู่เลือด
  • 2. ➢ ลักษณะต่าง ๆ ของถั่วลันเตาที่เมนเดล ใช้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม 1. ลักษณะของเมล็ด – เมล็ดกลม และ เมล็ดย่น (round & wrinkled) 2. สีของเปลือกหุ้มเมล็ด – สีเหลือง และ สีเขียว (yellow & green) 3. สีของดอก – สีม่วงและ สีขาว (purple & white) 4. ลักษณะของฝัก – ฝักอวบ และ ฝักแฟบ (full & constricted) 5. ลักษณะสีของฝัก– สีเขียว และ สีเหลือง (green & yellow) 6. ลักษณะตำแหน่งของดอก-ดอกติดอยู่ที่กิ่ง และเป็นกระจุกที่ปลายยอด (Axial & terminal) 7. ลักษณะความสูงของต้น – ต้นสูง และ ต้นเตี้ย (long & short) เมนเดลศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถั่วลันเตาแต่ละลักษณะก่อน เมื่อเข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะนั้นๆ แล้ว เขาจึงได้ ศึกษาการถ่ายทอดสองลักษณะไปพร้อมๆ กัน เขาใช้พันธุ์แท้ (pure line) ในลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน มาทำการผสมข้ามพันธุ์ เพื่อสร้าง ลูกผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination) ลูกผสมที่ได้เรียกว่าลูกผสมช่วงที่ 1 หรือ F1 (first filial generation) นำลูกผสมที่ได้มาปลูกดู ลักษณะที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบแล้วปล่อยให้ลูกผสมช่วงที่ 1 ผสมกันเอง ลูกที่ได้เรียกว่า ลูกผสมช่วงที่ 2 หรือ F2 (second filial generation) นำลูกช่วงที่ 2 มาปลูกดูลักษณะต่างๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ ได้ผลการศึกษาดังตาราง * สิ่งมีชีวิตที่ควรเลือกมาใช้ในการศึกษาทางพันธุศาสตร์ควรมี ลักษณะดังนี้ 1. ปลูกง่าย อายุสั้น ผลดก 2. มีการแปรผันมาก มีความแตกต่างของลักษณะที่ต้องศึกษาชัดเจนและ สามารถหาพันธุ์แท้ได้ง่าย 3. มี Recombination คือการรวมกันของลักษณะของพ่อและแม่เมื่อมีการ ผสมพันธุ์ 4. ควบคุมการผสมพันธุ์ได้ สามารถกำหนดให้มีลักษณะต่างๆเข้าผสม กันได้ตามต้องการ ตัวอย่างข้อสอบ แมลงหวี่เป็นสัตว์ที่นิยมนำมาใช้ในการศึกษาพันธุศาสตร์มากชนิดหนึ่ง เนื่องจากมาจากเหตุผลต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด ก. ผสมพันธุ์แล้วให้ลูกหลานจำนวนมาก ข. เกิดการผ่าเหล่าได้ง่าย ค. วงจรชีวิตสั้น ง. เพาะเลี้ยงง่าย คำศัพท์ ▪ยีน (Gene) สารพันธุกรรม ที่ควบคุมการแสดงออก ลักษณะ และการ ถ่ายทอดของสิ่งมีชีวิต โดยในคน จะมี 80,000 ยีน ▪Allele (Allelomorph) คู่ยีนที่อยู่บนโครโมโซม Homologous chromosome และมีตำแหน่ง (locus/loci) บนโครโมโซมเดียวกัน เช่น Aa ▪ Gamete เซลล์สืบพันธุ์ egg (n) , sperm (n) ▪ Genotype= คู่ยีนที่ควบคุมการแสดงออกลักษณะต่างๆ (ใช้อักษรอังกฤษแทนยีน) เช่น Aa Bb Cc Tt ▪ Phenotype = ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมาโดยเป็นผลมาจากการควบคุมของ Genotype เช่น หัวล้าน นิ้วเกิน มีขนที่หู ▪ Dominance = ลักษณะเด่นของสิ่งมีชีวิต เป็นลักษณะที่มีเพียง 1 ยีนในคู่ยีนที่แสดงลักษณะออกมา ▪ Recessive= ลักษณะด้อย เป็นลักษณะที่จะแสดงออกมาต้องมียีนด้อย 2 ยีน แต่ถ้าอยู่กับลักษณะเด่นจะไม่สามารถแสดง ออกมา ▪ Homologous chromosome โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน เช่น ความยาว ตำแหน่ง centromere
  • 3. ▪ Homologous gene (Genotype) คู่ยีนที่มีลักษณะ allele เหมือนกัน เช่น AA = Homozygous dominance , aa = Homozygous recessive ▪ Heterozygous gene (Genotype) ลักษณะคู่ยีนที่มี allele ไม่เหมือนกัน เช่น Aa = พันทาง 1.2 กฎของเมนเดลและอัตราส่วนในทางพันธุศาสตร์ กฎเมนเดล ➢ กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยกตัว (Law of Segregation) มีใจความว่า “ยีนที่อยู่ คู่กันจะแยกตัวออกจากกัน ไปอยู่ในแต่ละเซลล์สืบพันธุ์ ดังนั้นภายในเซลล์สืบพันธุ์จะไม่มียีน ที่เป็นคู่กันเลย” ต่อมาภายหลังเมื่อพบพฤติกรรมของโครโมโซมในกระบวนการไมโอซิส จะ เห็นว่าสอดคล้องกับกฎที่เมนเดลเสนอไว้คือ พฤติกรรมการเรียงตัวของโครโมโซม ใน Metaphase I และการแยกตัวใน Anaphase I เมื่อนำถั่วลันเตารุ่นพ่อแม่(P) ลักษณะเมล็ดเขียวกับเมล็ดเหลืองที่เป็นพันธุ์แท้ทั้งคู่มาผสมกันจะได้รุ่นลูก(F1) มีจีโนไทป์ (genotype) และฟีโนไทป์ (phenotype) ชนิดเดียวกันทั้งหมด และเมื่อปล่อยให้รุ่น F1 ผสมกันเอง จะได้รุ่นหลาน (F2) จะได้จีโนไทป์แตกต่าง กันเป็น 3 ชนิด ในสัดส่วน 1 : 2 : 1 และได้ฟีโนไทป์แตกต่างกันเป็น 2 ชนิด ในสัดส่วน 3 : 1 ทั้ง 7 ลักษณะที่ศึกษา เมนเดลทดลองศึกษาทีละลักษณะ โดยการทำ monohybrid cross หมายถึงการผสมพันธุ์โดยพิจารณา ลักษณะแตกต่างกันหนึ่งลักษณะในขั้นถัดไป เขาได้ทำการผสมถั่วโดยพิจารณา 2 ลักษณะพร้อมกัน (dihybrid cross) เช่น
  • 4. เมื่อลองวิเคราะห์แต่ละลักษณะแยกจากกัน พบว่าแต่ละลักษณะให้อัตราส่วนของ F2 เป็น 3:1 เหมือนผลจาก monohybrid cross เมนเดลสรุปว่า ในการแยกตัวของยีนและถ่ายทอดต่อไปยังรุ่นลูก ยีนที่ควบคุมลักษณะเมล็ดและยีนที่ควบคุมสีของใบเลี้ยงมีการแยกตัว และถ่ายทอดเป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกัน จึงตั้งขึ้นเป็นกฎข้อที่ 2 ดังนั้น R อาจแยกไปกับ Y หรือ y ก็ได้ ทำนองเดียวกัน r อาจแยกไปกับ Y หรือ y ก็ได้เช่นกัน ➢ กฎข้อที่ 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of Independent Assortment) มีใจความว่า “ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีการ รวมกลุ่มของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่างๆ การรวมกลุ่มเหล่านี้เป็นไปได้อย่างอิสระ จึงทำให้เราสามารถทำนายผลที่ เกิดขึ้นในรุ่นลูกและรุ่นหลาน” คือ ยีนที่แยกออกจากกัน ในขณะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ตามกฎข้อ 1 นั้น จะมารวมกันอีกครั้งหนึ่งใน ขณะที่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้นและการรวมตัวกันใหม่นี้จะเป็นไปอย่างอิสระโดยสามารถไปรวมกับยีนใดก็ได้ไม่จำเป็นจะต้อง กลับไปรวมกับคู่เดิมของตน เพื่อทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูกและรุ่นหลาน เราต้องทราบลักษณะและโอกาสที่จะได้เซลล์สืบพันธุ์ ในรุ่นพ่อแม่ก่อน ซึ่งเราสามารถใช้สูตรหาชนิดเซลล์สืบพันธุ์ คือ 2n (n = จำนวนคู่ของ heterozygous gene) ตัวอย่าง สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจีโนไทป์ AaBbCc จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่ต่างกันได้กี่แบบ วิธีที่ 1: ใช้สูตร ชนิดเซลล์สืบพันธุ์ = 2n = 23 = 8 แบบ วิธีที่ 2: ใช้กฎแห่งการรวมกลุ่มโดยอิสระ เมื่อทราบโอกาสของเซลล์สืบพันธุ์แล้ว สามารถทำนายผลและโอกาสที่เกิดขึ้นในรุ่นลูก และรุ่นหลานโดยใช้ความน่าจะเป็น อัตราส่วนในทางพันธุศาสตร์ ความน่าจะเป็น (Probability) ▪ กฎการบวก (Addition Law) • เหตุการณ์ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมๆ กันได้เช่น โอกาสในการออกหัวหรือก้อยในการโยนเหรียญ 1 ครั้ง = 1/2 + 1/2 = 1 • โอกาสที่เกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเท่ากับผลบวกของโอกาสที่จะเกิดแต่ละเหตุการณ์ P (เหตุการณ์A หรือ B อย่างใดอย่าง หนึ่ง) = P(A) + P(B) ▪ กฎการคูณ (Multiplication Law) • เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์หรือมากกว่า • เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน เช่น โอกาสที่จะได้ลูกชาย (1/2) ผิวเผือก (1/4) = 1/2 x 1/4 = 1/8 • เรียกเหตุการณ์นี้ว่า Independent events โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ A และ B พร้อมกัน = P(A) x P(B)
  • 5. การคำนวณหาชนิดและอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ • การสร้างเป็นตาราง (punnet square) • การใช้สูตร ชนิดของจีโนไทป์= 3n ชนิดของฟีโนไทป์ = 2n (n คือ จำนวนคู่ของยีนที่อยู่ในสภาพ heterozygous) วิธีการหารุ่นลูก 1. การเข้าตาราง (Punnett’s Square) กำหนด RrYy × RrYy เริ่มจากการหาเซลล์สืบพันธุ์ของแต่ละฝ่าย จีโนไทป์ของพ่อ RrYy จีโนไทป์ของแม่ RrYy R r Y y R r Y y Gamete RY Ry rY ry Gamete RY Ry rY ry 2. การต่อกิ่ง ( Branching ) จงหาอัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกผสม F2 ที่เกิดจากถั่วลันเตา รุ่น F1 ที่มีลักษณะเมล็ดเรียบ สีเหลือง ให้ S = เมล็ดเรียบ, s = เมล็ดย่น, Y = สีเหลือง, y = สีเขียว พ่อแม่ SsYy x SsYy นำยีนแต่ละคู่จากแต่ละฝ่ายมาผสมกัน Ss x Ss Yy x Yy อัตราส่วนจีโนไทป์ของยีน ¼SS : ½ Ss : ¼ ss ¼YY : ½ Yy : ¼ yy นำอัตราส่วนจีโนไทป์ของจีนฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นตัวตั้ง และนำจีโนไทป์ของอีกฝ่ายหนึ่งมาต่อกิ่งหรือแขนทีละตัวจนครบทุกตัว จะได้ อัตราส่วนจีโนไทป์ของรุ่นลูกดังนี้ อัตราส่วนจีโนไทป์ของลูก
  • 6. ฟีโนไทป์จากรุ่นพ่อแม่ 3/4 เมล็ดเรียบ : 1/4 เมล็ดย่น 3/4 สีเหลือง :1/4 สีเขียว อัตราส่วนฟีโนไทป์ของลูก เมล็ดเรียบสีเหลือง : เมล็ดเรียบสีเขียว : เมล็ดย่นสีเหลือง : เมล็ดย่นสีเขียว = 9/16 : 3/16 : 3/16 : 1/16 = 9 : 3 : 3 : 1 1.3 การผสมทดสอบ (Test Cross) Test Cross คือ การนำสิ่งมีชีวิตที่สงสัยว่าเป็นลักษณะเด่นหรือไม่ไปผสมกับลักษณะด้อยของสิ่งมีชีวิตนั้น (tester) แล้วสังเกตอัตราส่วน ของลูกที่ได้ มีขั้นตอนดังนี้ 1. นำตัวที่มีลักษณะเด่นไปผสมกับตัวที่มีลักษณะด้อย 2. รอดูอัตราส่วนในรุ่นลูกโดยพิจารณาดังนี้ Backcross (การผสมกลับ) : เหมือนกับ Test Cross แต่เป็นการนำรุ่น F1 กลับไปผสมกับพ่อหรือแม่ ตัวอย่างเช่น การผสมตัวเอง โดยการนำถั่วลันเตาเมล็ดเรียบนั้น ไปปลูกแล้วปล่อยให้ผสมตัวเอง ถ้าลูกที่ได้เป็นเมล็ดเรียบทั้งหมดแสดง ว่ามีจีโนไทป์เป็น SS แต่ถ้าอัตราส่วนของลูกเป็นเมล็ดเรียบ : เมล็ดย่น = 3 : 1 แสดงว่ามีจีโนไทป์เป็น Ss
  • 7. แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์ 1. จงเติมจีโนไทป์ของเซลล์ร่างกาย สภาพของจีโนไทป์ แบบของยีนในเซลล์สืบพันธุ์ และโอกาสของการเกิด เซลล์สืบพันธุ์แต่ละแบบ ลงในตารางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ จีโนไทป์ของเซลล์ร่างกาย สภาพของจีโนไทป์ แบบของยีนในเซลล์สืบพันธุ์ และโอกาสของการเกิด WW เฮเทอโรไซกัส W (½) , w (½) Tt aa a(1) 2. ถั่วลันเตาลักษณะเมล็ดสีเหลืองเป็นลักษณะเด่นต่อลักษณะเมล็ดสีเขียว ในการผสมพันธุ์ภายในดอกเดียวกันของต้นที่มีลักษณะเมล็ด สีเหลืองที่เป็นเฮเทอโรไซกัสทั้งคู่ จงหาร้อยละของรุ่น F1 ที่มีลักษณะเมล็ดสีเขียว 3. ในแมลงหวี่ กำหนดให้ L เป็นยีนควบคุมลักษณะปีกยาว และ l เป็นยีนควบคุมลักษณะปีกสั้น เมื่อผสมพันธุ์แมลงหวี่ปีกยาวและปีกสั้น จะได้ลูกที่มีปีกยาวและลูกที่มีปีกสั้นในอัตราส่วน 1 : 1 จงหาจีโนไทป์ของพ่อแม่และลูก
  • 8. 4. เมื่อนำกระต่ายขนสีดำที่เป็นฮอมอไซกัสผสมพันธุ์กับกระต่ายขนสีน้ำตาล ปรากฏว่าลูกที่เกิดใหม่มีขนสีดำทั้งหมด (สมมติให้ B และ b แทนแอลลีลคู่หนึ่งที่ควบคุมลักษณะสีขน) 4.1 ข้อมูลนี้บอกอะไรแก่เราบ้าง 4.2 จีโนไทป์ของรุ่น F1 มีสภาพเป็นฮอมอไซกัสหรือเฮเทอโรไซกัส 4.3 ถ้านำรุ่น F1 ผสมพันธุ์กันเอง โอกาสที่รุ่น F2 จะมีจีโนไทป์ได้กี่รูปแบบ อะไรบ้าง และมีอัตราส่วนเท่าใด 4.4 ถ้านำรุ่น F1 ผสมพันธุ์กับรุ่นพ่อแม่ที่มีขนสีน้ำตาล โอกาสลูกที่ได้มีขนสีอะไรบ้างในอัตราส่วนเท่าใด 5. ถ้า N แทนยีนที่ควบคุมลักษณะปีกปกติของแมลงหวี่ และ n แทนยีนที่ควบคุมลักษณะปีกสั้น ในการผสมพันธุ์แมลงหวี่ที่มีปีกปกติคู่ หนึ่ง ปรากฏว่ารุ่นลูกจำนวน 123 ตัว มีปีกปกติ 88 ตัว และมีปีกสั้น 35 ตัว 5.1 ข้อมูลนี้บอกอะไรแก่เราบ้าง 5.2 จงเขียนจีโนไทป์ของแมลงหวี่ในรุ่นพ่อแม่
  • 9. 5.3 เมื่อนำแมลงหวี่ปีกสั้นในรุ่นลูก ผสมพันธุ์กับแมลงหวี่ปีกปกติในรุ่นพ่อแม่ จะได้ลูกมีลักษณะปีกเป็นอย่างไรบ้าง คิดเป็นอัตราส่วน เท่าใด 6. จากการผสมพันธุ์ระหว่างพืชที่มีจีโนไทป์ AABBrr x aabbrr ถ้าการจัดกลุ่มของยีนแต่ละคู่เป็นไปอย่างอิสระ จงนวณหา 6.1 รุ่น F1 มีจีโนไทป์อย่างไร 6.2 โอกาสที่จะได้รุ่น F2 ที่มีจีโนไทป์ aabbrr เป็นเท่าใด 6.3 โอกาสที่รุ่น F2 จะมีจีโนไทป์เหมือนพ่อแม่เป็นเท่าใด 7. มะเขือเทศผลสีแดงเป็นลักษณะเด่น (R) ผลสีเหลืองเป็นลักษณะด้อย (r) และต้นสูงเป็นลักษณะเด่น (T) ต้นเตี้ยเป็นลักษณะด้อย (t) เมื่อนำมะเขือเทศต้นหนึ่งมีจีโนไทป์ RrTT ผสมพันธุ์กับต้นที่มีจีโนไทป์ rrTt จงหาอัตราส่วนฟีโนไทป์และจีโนไทป์ของลูก 8. กระต่ายขนสีดำเป็นลักษณะเด่น (B) ขนสีน้ำตาลเป็นลักษณะด้อย (b) และขนสั้นเป็นลักษณะเด่น (S) ขนยาวเป็นลักษณะด้อย (s) ใน การผสมพันธุ์ระหว่างกระต่ายขนยาวสีดำที่เป็นฮอมอไซกัส และขนสั้นสีน้ำตาลที่เป็นฮอมอไซกัส 8.1 จงหาอัตราส่วนของฟีโนไทป์ต่างๆ ในรุ่น F1 และอัตราส่วนของฟีโนไทป์ต่างๆ ในรุ่น F2
  • 10. 8.2 ลูกที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างรุ่น F1 กับกระต่ายขนยาวสีน้ำตาล มีฟีโนไทป์อะไรบ้างและเป็นสัดส่วนเท่าใด 9. แมลงหวี่ปีกยาวเป็นลักษณะเด่น (L) ปีกสั้นเป็นลักษณะด้อย (l) และลำตัวสีเทาเป็นลักษณะเด่น (G) ล้าตัวสีดำเป็นลักษณะด้อย (g) ใน การผสมพันธุ์ระหว่างแมลงหวี่ปีกยาวลำตัวสีเทาและแมลงหวี่ปีกสั้นล้าตัวสีดำ จงหาจีโนไทป์ของรุ่นพ่อแม่ในกรณีต่อไปนี้ 9.1 ลูกมีอัตราส่วนของฟีโนไทป์เท่ากับ 1 : 1 : 1 : 1 9.2 ลูกปีกยาวลำตัวสีเทาทั้งหมด 10. ในคนลักษณะนิ้วมือสั้น และเชิงผมที่หน้าผากแหลมเป็นลักษณะเด่นและลักษณะนิ้วมือยาว และเชิงผมที่หน้าผากไม่แหลมเป็น ลักษณะด้อย ถ้าพ่อแม่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส จงหาอัตราส่วนของลูกที่มีฟีโนไทป์เหมือนพ่อแม่