SlideShare a Scribd company logo
003-003 มนุษย์ กับวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
พันธุศาสตร์
  พันธุศาสตร์ (genetics - มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคําว่า
  "genno" ซึงแปลว่า "การให้กาเนิด") คือ สาขาแขนงหนึงของ
                                 ํ
  วิทยาศาสตร์ ซึงว่าด้วยการศึกษาหน่วยพันธุกรรม หรือ ยีน, กรรมพันธุ์
  (heredity), และวิวฒนาการในสิงมีชวตต่าง ๆ
                          ั             ีิ
พันธุศาสตร์
  คําว่า "พันธุศาสตร์ " นี1 เริมแรกคิดขึนมาเพือประยุกต์ใช้กบศาสตร์ ใหม่ทว่า
                                       1                   ั            ี
  ด้วยการศึกษา ชาติพนธุ์และวิวฒนาการของสิงมีชวต โดยนักวิทยาศาสตร์ ชาว
                          ั       ั                ีิ
  อังกฤษ ชือ วิลเลียม เบทสัน โดยปรากฏอยู่ในเอกสารของเขาทีส่งไปให้อดัม
  เซดจ์วค ซึงมีการลงบันทึก วันที 18 เมษายน พ.ศ. 2448
          ิ
  มนุษย์เริมรับความรู้เกียวกับพันธุศาสตร์ ตงแต่สมัยก่อนประวัตศาสตร์ ซึงว่า
                                            ั1                ิ
  ด้วยการเพาะพันธุ์และการดําเนินการสืบพันธุ์ให้แก่พชและสัตว์ การวิจยทางพันธุ
                                                   ื                ั
  ศาสตร์ ปจจุบนนิยมใช้เครืองมือวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ ศึกษาเพือให้ทราบระบบ
            ั ั
  ภายในของยีน เช่น การวิเคราะห์การตอบสนองทางพันธุกรรม ซึงอยู่ภายใน
  สิงมีชวต ข้อมูลทางพันธุกรรมส่วนใหญ่มกถูกบรรจุไว้ในโครโมโซม ซึงแสดงให้
         ีิ                               ั
  เห็นถึงโครงสร้างทางเคมีของ ดีเอ็นเอ
พันธุศาสตร์
  รหัสทางพันธุกรรมสามารถจําแนกได้จากยีน ซึงถือเป็ นข้อมูลทีสําคัญยิงในการ
  ประกอบลักษณะทางเคมีของโปรตีน ถึงแม้ว่าโปรตีนจะมีบทบาทสําคัญอย่างยิง
  แต่ในหลายกรณี โปรตีนนันไม่อาจกําหนดสารประกอบทางพันธุกรรมได้ทงหมด
                            1                                         ั1
  ทว่ากลับอยู่ในฟี โนไทป์ตว สุดท้ายของสิงมีชวตนันๆ วลีศพท์ทางพันธุศาสตร์
                          ั                 ีิ 1       ั
  คําว่า "เพือระบุรหัส" มักใช้กบยีนทีสามารถสร้างโปรตีนเองได้, โดยจะถูก
                               ั
  เรียกว่า "รหัสถ่ายพันธุ์ของโปรตีน"
พันธุศาสตร์
  ลักษณะของสิงมีชวตอาจเกิดขึนและเปลียนแปลงไปได้โดยปัจจัย 2 ประการ คือ
                 ีิ        1
  1. พันธุกรรม
  2. สิงแวดล้อม
พันธุศาสตร์
  ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ!งมีชีวิตแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
  1.1 ลักษณะทางพันธุกรรมที!มความแปรผันต่อเนื!อง
                                       ี
  (CONTINUOUS VARIATION) เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมทีมี
  ความลดหลันกันทีละน้อย สามารถนํามาเรียงลําดับกันได้ เช่น ความสูง นํ1าหนัก สีผว เป็ น
                                                                                 ิ
  ต้น
  1.2 ลักษณะทางพันธุกรรมที!มความแปรผันไม่ต่อเนื!อง
                                         ี
  (DISCONTINUOUS VARIATION) เป็ นลักษณะทีแบ่งเป็ นกลุม                                ่
  ได้อย่างชัดเจน เช่นหมู่เลือดของคน ลักษณะผิวเผือก ลักยิม ติงหู การห่อลินเป็ นต้น
                                                       1               1
  ข้อสังเกต
       โดยทัวไป ลักษณะทีมีความแปรผันแบบต่อเนือง เช่น สีผว นันสิงแวดล้อมจะมีอทธิพล
                                                        ิ 1                 ิ
  ต่อการแสดงลักษณะในสัดส่วนทีมากกว่าลักษณะทีมีความแปรผันแบบไม่ต่อเนือง เช่น หมู่
  เลือด
พันธุศาสตร์
  การค้นพบความรู้ทางพันธุศาสตร์
        พันธุศาสตร์ (GENETICS) เป็ นสาขาหนึงของชีววิทยา
  ศึกษาเกียวกับพฤติกรรมของยีน ซึงเป้ นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
  และแบบแผนการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
  เกรเกอร์ เมนเดล (GREGOR MENDEL,ค.ศ. 1822
  – 1884) บาทหลวงชาวออสเตรีย ได้ทาการทดลองในถัวลันเตา
                                         ํ
  (Pisum sativum) ได้ความรู้ทางพันธุศาสตร์ มากมาย ทําให้เข้า
  ได้รบการยกย่องเป็ นบิดาแห่งพันธุศาสตร์
      ั
เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล
Gregor Mendel
   เกิด วันที 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ทีเมืองโมราเวีย
   (Moravia) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of
   Czech)
   เสียชีวต วันที 6 มกราคม ค.ศ. 1884 ทีเมืองเบิร์น
          ิ
   (Brunn) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of
   Czech)
เมนเดล
  โยฮั นน์ เกรกอร์ เมนเดล เกิดในปี ค.ศ.1822 เป็ นบาทหลวงชาว
  ออสเตรีย และในขณะเดียวกันเขาก็เป็ นอาจารย์ สอนหนังสือให้แก่
  นักเรียน สอนนักเรียน ถึงเรื!องพันธุ์กรรมด้วย เมนเดลมีความสนใจ
  ศึกษาด้านวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะ ด้านพันธุศาสตร์ เขาได้ใช้
  สถานที!ภายในบริเวณวัดเพือทําการทดลองสิ!งต่างๆ ที!เขาสนใจ เมน
                            !
  เดลเริ!มต้นทดลองเป็ นครั=งแรกในปี ค.ศ.1856 เรื!องที!เขาทําการ
  ทดลองคือ การรวบรวมต้นถั!วหลายๆพันธุ์นามาผสมกันหลายๆ
                                             ํ
  วิธี
เมนเดล
 เขาใช้เวลาทดลองต่อเนื!องถึง 7 ปี จนได้ข้อมูลมากเพียงพอ ในปี ค.ศ.1865 เมน
 เดล จึงได้ รายงานผลการทดลอง ซึ! งเกี!ยวข้องกับการผสมพันธุ์ ต้นถั!ว ให้แก่ท!ี
 ประชุม Natural History Society ในกรุงบรุนน์ ( Brunn )
 ผลงานของเขาได้รับการตีพมพ์เผยแพร่ออกไปทั!วทวีปยุโรปและ อเมริกาในปี ต่อมา
                              ิ
 คือปี ค.ศ.1866
 ผลงานของเขาถูกปล่อยไว้นานถึง 34 ปี จนกระทั!งปี ค.ศ.1900 ได้มีนัก ชีววิทยา
 3 ท่าน คือ ฮูโก เดฟรีส์ ชาวฮอลันดา คาร์ล คอเรนส์ ชาวเยอรมันและ เอริช ฟอน
 แชร์มาค ชาวออสเตรเลีย ได้ทดลองผสมพันธุ์พชชนิดอื! นๆ และได้ผลการทดลอง
                                                  ื
 ตรงกับที!เมนเดลเคยรายงานไว้ ทําให้เมนเดลเป็ นที!ร้จัก ในวงการพันธุศาสตร์นับแต่
                                                      ู
 นั=นเป็ นต้นมา และ เมนเดลยั งได้รับการยกย่ องว่า เป็ นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์อีก
 ด้วย เมนเดลเสียชีวิตลงในปี ค.ศ.1884 ถึงแม้เป็ นความจริง เขาจะไม่ได้รับการ
 ยอมรับนับถือในฐานะนักวิทยาศาสตร์มากนัก แต่ประชาชนทั!วไปก็นับถือเขาและมี
 ความศรัทธาในฐานะนักบวชเป็ นอย่ างมาก
การทดลองของเมนเดล
                                          ั       G ั1
 1. เมนเดล ผสมต้นถัวลันเตาจนได้พนธุ์บริสุทธิทง พ่อพันธุ์ แม่พนธุ์ั
 2. เมนเดล นําต้นถัวพันธุ์สูงเป็ นพ่อพันธุ์ หรือแม่พนธุ์ มาผสมกับต้นถัวพันธุ์
                                                       ั
 เตี1ยซึงเป็ นแม่พนธุ์หรือพ่อพันธุ์ เป็ นการผสมข้ามต้นต่างลักษณะ
                  ั
 3. เมนเดล นําต้นถัวรุ่นทีสอง (F2) มาผสมพันธุ์กนเอง      ั
สรุ ปผลการทดลองของเมนเดล
  1. ลักษณะทางพันธุกรรมทีควบคุมความสูงของต้นถัวมีลกษณะเด่น คือ ลักษณะลํา
                                                          ั
  ต้นสูงกับลักษณะด้อย คือ ลักษณะลําต้นเตี1ย ลักษณะทางพันธุกรรมของพ่อจะอยู่ใน
  ละอองเกสรตัวผู ้ ของแม่จะอยู่ในรังไข่ ลักษณะพันธุกรรมจึงถ่ายทอดถึงลูกหลานได้

  2. ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อยในรุ่นลูก (F1) จึงพบรุ่นลูกมีลกษณะเด่นหมด
                                                                ั
  ทังนีภายในข้อจํากัดพ่อและแม่ ต้องเป็ นพันธุ์เด่นแท้และด้อยแท้
    1 1

  3. ในชัวรุ่นหลาน (F2) โดยปล่อยให้รุ่นลูก (F1) ผสมพันธุ์กนเองจะได้ลกษณะ
                                                          ั         ั
  เด่นต่อลักษณะด้อยในอัตราส่วน 3 : 1
กฎแห่ งการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของ
เมนเดล
  กฎข้อที 1 กฎแห่งการแยกตัว ( law of segregation) กล่าว
  ว่า สิงทีควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิงมีชวตทีสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมี
                                                   ีิ
  อยู่เป็ นคู่ ๆ แต่ละคู่แยกจากกันในระหว่าง การสร้างเซลล์พชสืบพันธุ์ ทําให้เซลล์
                                                            ื
  สืบพันธ์ แต่ละเซลล์มหน่วยควบคุมลักษณะนีเ1 พียงหนึงหน่วยและจะ กลับเข้าคู่อก
                          ี                                                   ี
  เมือเซลล์สบพันธ์ ผสมกัน
                ื
  สิงทีควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมซึงเป็ นหน่วยทีคงตัวนัน เมนเดล เรียกว่า
                                                          1
  แฟกเตอร์ (factor) ในปัจจุบนเรียกกันว่า ยีน (gene)
                                      ั
  กฎข้อที 2 กฎแห่งการรวมกลุมอย่างอิสระ กล่าวว่า ในเซลล์สบพันธุ์จะมีการ
                                  ่                             ื
  รวมกลุมของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ การรวมกลุมเหล่านีเ1 ป็ นไป
           ่                                                  ่
  อย่างอิสระ จึงทําให้เราสามารถทํานายผลทีเกิดขึนในรุ่นลูก และรุ่นหลานได้
                                                 1
ลักษณะเด่ น/ด้ อย
  ลักษณะเด่น หมายถึง ลักษณะทีมีโอกาสแสดงออกได้มากกว่า

  ลักษณะด้อย หมายถึง ลักษณะทีจะแสดงออกได้ ก็ต่อเมือมีการเข้าคู่แบบโฮ
  โมโลกัสของยีนด้อยเท่านัน
                         1
เมนเดล ได้พบถึงข้อขัดแย้งกับ
blending theory ทีเด่นชัดก็คอ           ื
ถ้าผสมถัวทีมีดอกสีมวง กับถัวทีมีดอกสีขาว
                       ่
ต้นถัวทีเกิดมา จากเมล็ดกลับให้ดอกสีมวง
                                    ่
ทังหมด (ไม่ใช่ตรงกลาง ระหว่างสีขาวกับสี
  1
ม่วง)
แล้วถ้าปล่อยให้ต้นถัว ทีได้มาจากการผสมพันธุ์
ครังแรกผสมพันธุ์กบตัวเอง จะได้ดอกสีม่วง
    1                ั
สามต่อดอกสีขาวหนึง (3:1)
พันธุศาสตร์ ตามหลักของเมนเดล
(Mendelian Genetics)
 Mendelian
  จากการทีเมนเดลใช้หลักสถิตใิ นการวิเคราะห์ผลการทดลอง เขาได้กฏการ
  ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 2 ข้อ ทีสอดคล้องกับผลการทดลองของเขา
  คือ กฏการแยก (law of segregation) และกฏการรวมกลุมกัน                   ่
  อย่างอิสระ (law of independent assortment)
  ซึงกฏทัง 2 ข้อนีใ1 ช้อธิบายพฤติกรรมของสิงทีควบคุมการแสดงออกของ
            1
  ลักษณะต่างๆ เช่น ลักษณะความสูงของลําต้น ลักษณะสีดอก และลักษณะรูปร่ าง
  เมล็ดถัวลันเตาตามการทดลองของเขา ซึงขณะนันเขาเรียกสิงทีควบคุมการ
                                                1
  แสดงออกของลักษณะต่างๆว่า “แฟกเตอร์ ” (factor) ทีเขาเชือว่ามีอยู่เป็ น
  คู่ๆ ว่าจะต้องมีการแยกจากกัน แบ่งเป็ น 2 ชุด เท่าๆ กัน ในระหว่างการสร้าง
  เซลล์สบพันธุ์ ซึงปัจจุบนเรียกว่า ยีน
          ื                ั
1. กฏการแยก (law of segregation)
             law
  เมือพิจารณาการถ่ายทอดลักษณะของถัวลันเตาทีละลักษณะ เช่น ลักษณะสีของ
  เมล็ด เมนเดลให้สญลักษณ์ Y แทนลักษณะเมล็ดสีเหลือง และ y แทนลักษณะ
                  ั
  เมล็ดสีเขียว
จากรูป F1 สร้างเซลล์สบพันธุ์ได้ 2 แบบ คือ Y หรือ y โดยมีโอกาส
                            ื
อย่างละ ½ ดังนันโอกาสทีเซลล์สบพันธุ์แต่ละแบบจะมารวมกันเพือเกิดเป็ นลูกรุ่น
                  1                ื
F2 คือ 1/4 YY, 1/2 Yy, และ1/4 yy คิดเป็ นอัตราส่วนจีโน
ไทป์ 1:2:1 หรือ อัตราส่วน ฟี โนไทป์สเี หลืองต่อสีเขียว 3:1
เช่นเดียวกันกับการพิจารณาการผสมถัวลันเตาลักษณะเมล็ดกลมและเมล็ดขรุขระ
ก็ให้สดส่วนลักษณะเด่นและลักษณะด้อย 3:1 เช่นกัน
      ั
ลักษณะเมล็ดขรุขระไม่มเี อนไซม์ทจะเปลียนนํ1าตาลเป็ นแป้ ง จึงต้องดูดนํ1าเข้าเมล็ด
                                ี
มาก พอเมล็ดแก่ แห้ง จึงมีลกษณะขรุขระ
                              ั
2. กฏการรวมกลุ่มกันอย่ างอิสระ (law of
                                law
independent assortment)
   เมือพิจารณาการถ่ายทอดลักษณะ
   ของถัวลันเตาทีละลักษณะ 2
   ลักษณะขึนไป เช่น ลักษณะสีของ
             1
   เมล็ด และลักษณะรูปร่ างของเมล็ด
   เมนเดลให้สญลักษณ์ของลักษณะ
                ั
   รูปร่ างเมล็ดกลม R และ ลักษณะ
   รูปร่ างเมล็ดขรุขระ r
จากรูป F1 สร้างเซลล์สบพันธุ์ได้ 4 แบบ เป็ นการรวมกลุมกันอย่างอิสระ คือ
                           ื                             ่
YR, Yr, yR หรือ ry โดยมีโอกาสอย่างละ 1/4 ดังนัน โอกาสทีเซลล์
                                                           1
สืบพันธุ์แต่ละแบบจะมารวมกันเพือเกิดเป็ น ลูกรุ่น F2 คือ
9/16 Y_R_,
3/16 yyR_,
3/16 Y_rr และ
1/16 rryy
อัตราส่วนฟี โนไทป์ เมล็ดกลมสีเหลือง : เมล็ดกลมสีเขียว :
เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว เท่ากับ 9:3:3:1
กฏการแยกและกฏการรวมกลุมกัน  ่
อย่างอิสระของเมนเดลเกิดขึนจากการ
                           1
แยกคู่ของโฮโมโลกัสโครโมโซม เพือสร้าง
เซลล์สบพันธุ์นนเอง ตัวอย่างเช่น การ
        ื      ั
แยกคู่ของยีนทีควบคุมลักษณะลักษณะสี
ของเมล็ด และลักษณะรูปร่ างของเมล็ดที
อยู่ต่างโครโมโซมกัน ดังรูป
ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์
  จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึงชนิดของยีนทีมาจับคู่กน โดยปกติ
                                                        ั
  ลักษณะของสิงมีชวตหนึงลักษณะจะถูกควบคุมโดยยีนอย่างน้อย 1 คู่
                    ีิ
  เนืองจากเป็ นยีนทีมาจากพ่อแม่อย่างละครึง นันเอง
  ฟี โนไทป์ (Phenotype) หมายถึงลักษณะทีเกิดจากการแสดงออก
  ของยีน สามารถมองเห็นหรือตรวจสอบได้ เช่น สีผว สีผม สีตา ความ
                                                  ิ
  สูง ความเตี1ย ลักษณะความถนัด และกลุมเลือด เป็ นต้น
                                          ่
ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์
  โฮโมไซกัส (Homozygous) หมายถึงการจับคู่ของยีนทีมีสภาพ
  เหมือนกัน เช่น ยีนเด่นจับคู่กบยีนเด่น หรือยีนด้อยจับคู่กบยีนด้อย
                               ั                          ั
  เฮเทอโรไซกัส (Heterozygous) หมายถึงการจับคู่ของยีนต่าง
  สภาพ ได้แก่ ยีนสภาพเด่นจับคู่กบยีนสภาพด้อย ซึงเรียกว่า เป็ นลักษณะ
                                    ั
  พันธุ์ทาง
ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์
  ลักษณะเด่น (Dominance) หมายถึงลักษณะเด่นของยีนซึางเป็ น
  ลักษณะข่ม โดยมีสมบัตขมยีนด้อยได้ ถ้าสภาพยีนเด่นนันเป็ นปกติ
                      ิ่                           1
  ลักษณะด้อย (Recessive) หมายถึงลักษณะด้อยของยีน โดยปกติ
  จะถูกข่มโดยยีนเด่น
ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์
  ลักษณะเด่นร่ วมกัน (Co-dominance) เมือยีนเด่นของลักษณะต่างกัน
  มาจับกัน แล้วส่งผลให้เกิดการแสดงออกของทังสองลักษณะ เรียกลักษณะเด่นที
                                              1
  แสดงออกมาทังสองนีว่า เด่นเท่ากัน เช่น ยีนนําลักษณะแอนติเจนเอ เมือมาจับคู่
                  1        1
  กับยีนนําลักษณะแอนติเจนบี จะปรากฏเป็ นกลุมเลือดแบบเอบีขน ซึงลักษระดังลกล่าว
                                            ่               1ึ
  นีเ1 กิดจากยีนหลายคู่ควบคุมลักษณะเดียวกัน
  ลักษณะเด่นไม่สมนบูรณ์ (Incomplete dominance) บางครัง                      1
  ยีนเด่นบางชนิดมีสภาพอ่อนแอ ไม่สามารถข่มยีนด้อยลงได้ทงหมด จึงทําให้เกิดผล
                                                         ั1
  ของการทําปฏิกรยาร่ วมกันของยีน ได้ลกษณะทีไม่เหมือนพ่อหรือแม่ออกมา ลักษณะ
                    ิิ                  ั
  ดังกล่าวอาจเป็ นลักษณะกลางระหว่างลักษณะของพ่อแม่กไ็ ด้ ตัวอย่างทีพบ ได้แก่ สี
  แดงในดอกลินมังกร ซึงพบว่าเป็ นลักษณะเด่นแบบไม่สมบูรณ์ ข่มลักษณะสีขาวซึงเป็ น
                1
  ลักษณะด้อยลงไม่ได้ทงหมด จึงทําให้เกิดดอกสีชมพู ขน เป็ นต้น
                        ั1                        1ึ
ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์
  โฮโมไซกัส โดมิแนนซ์ (Homozygous dominance)
  หมายถึงสภาพยีนเด่นมาจับคู่กน จะได้ฟีโนไทป์ของลักษณะเด่น ลักษณะนีเ1 รียก
                                 ั
  จัดเป็ นพันธุ์แท้ลกษณะเด่น
                    ั
  เฮเทอโรไซกัส โดมิแนนซ์ (Heterozygous dominance)
  หมายถึงยีนสภาพเด่นจับคู่กบยีนสภาพด้อย ลักษณะนีจดเป็ นลักษณะพันธุ์ทาง
                             ั                        1ั
  นันเอง
  โฮโมไซกัส รีเซสซีพ (Homozygous recessive)
  หมายถึงยีนสภาพด้อยจับคู่กน   ั    ฟี โนไทป์เป็ นลักษณะด้อย ลักษณะนี1
  จัดเป็ นพันธุ์แท้ลกษณะด้อยลักษณะ
                      ั
ความสัมพันธ์ ระหว่ างยีนและการถ่ ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม
  ลักษณะต่างๆ ของสิงมีชวตทีปรากฏออกมาให้เห็น ซึงเรียกกันว่า ฟี โนไทป์นน
                           ีิ                                         ั1
  บางอย่างเป็ นผลจากการทํางานร่ วมกันระหว่างยีนกับสิงแวดล้อม
  "สิงแวดล้อม" หมายถึงสิงแวดล้อมทังภายนอก เช่น อุ ณหภูม ิ แสง เสียง
                                      1
  อาหาร การออกกําลังกาย ยา และสภาพภายในของสิงมีชวต เช่น ระดับ
                                                         ีิ
  ฮอร์ โมน เพศ อายุ เป็ นต้น
  สิงแวดล้อมจะมีบทบาทในการควบคุมฟี โนไทป์ของยีนแตกต่างกันในแต่ละลักษณะ
  เช่น กลุมเลือดและสีตา
           ่
  สิงแวดล้อมก็ไม่สามารถจะทําให้สงมีชวตเปลียนแปลงเกินขอบเขตพันธุกรรมทีมี
                                 ิ ีิ
  อยู่ได้ และยีนก็ไม่สามารถจะแสดงลักษณะออกมาได้ถาอยู่ในสภาพสิงแวดล้อมที
                                                ้
  ขาดสารอาหารทีจําเป็ นและปัจจัยอืนๆ
ความสัมพันธ์ ระหว่ างยีนและการถ่ ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม
  ตัวอย่างทีแสดงให้เห็นอิทธิพลของสิงแวดล้อมทีมีต่อการแสดงออกของยีน เช่น
  ลักษณะศรีษะล้าน ซึงเป็ นลักษณะเด่นในเพศชาย และลักษณะด้อยในเพศหญิง แต่
  เนืองจากฮอร์ โมนเพศชายเกียวข้องกับการแสดงออกของยีน ศีรษะล้านจึงพบใน
  เพสชายมากกว่าเพศหญิง
พันธุวศวกรรม
      ิ
  คือการนํารหัสพันธุกรรมของสิงมีชวตชนิดหนึง ไปใส่ให้กบ สิงมีชวตอีก
                                 ีิ                  ั       ีิ
  ชนิดหนึง เพือให้แสดงลักษณะทางพันธุกรรมทีต้องการออกมา กระทําได้โดย
  การตัดยีนจากเซลล์ของสิงมีชวตชนิดหนึงไปต่อกับ สิงมีชวตชนิดหนึง
                            ีิ                         ีิ
  เรียกว่า รีคมบิแนนต์ (Recombinant DNA)
              ิ
ขันตอนของพันธุวิศวกรรม
1. แยกยีน โดยการใช้เอนไซม์ทมีคุณสมบัตใิ นการตัดโมเลกุลของ DNA
                                  ี
   ตรงเฉพาะตําแหน่ง
2. นําชินส่วนยีนทีได้มาจากการตัดต่อด้วยเอนไซม์มาใส่ในยีนของสิงมีชวตอีกชนิด
       1                                                         ีิ
   หนึง ส่วนใหญ่ใช้แมคทีเรีย เนืองจากเป็ นสิงมีชวตทีเพิมจํานวนได้รวดเร็ว
                                                   ีิ
   และมี DNA เป็ น             รูปวงแหวนทีเรียกว่า พลาสมิด (Plasmid)
   ซึงสามารถเพิมจํานวนได้อย่างอิสระ
3. นํายีนทีตัดต่อแล้วไปใส่ในสิงมีชวตทีต้องการให้แสดงลักษณะทางพันธุ กรรมที
                                  ีิ
   ต้องการออกมา
ประโยชน์ ของพันธุวศวกรรม
                  ิ
1. ด้านอุ ตสาหกรรม พันธุวศวกรรมมีบทบาทสําคัญในการพัฒนา
                           ิ
   ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เช่น การผลิตกรดอะมิโน เอนไซม์ วิตามิน
2. ด้านเกษตรกรรม ทําให้ผลิตต้นพืชทีมีความสามารถในการต้านยาปราบ
   ศัตรูพช ทนทานต่อสภาพแวดล้อมทีแปรปรวน สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจน
             ื
   จากบรรยากาศ หรือพืชทีมีผลผลิตสูงและมีคุณค่าทางโภชนาการสูง
3. ด้านการแพทย์ เช่น การผลิตยาปฏิชวนะและวิตามินต่างๆ โดยการปรับปรุง
                                         ี
   ยีนของราหรือแบคทีเรีย โดยการตัดต่อยีนจากสิงมีชวตหนึงเข้ากับยีนของ
                                                     ีิ
   สิงมีชวตอีกชนิดหนึง เพือให้ได้ยนทีมีสมบัตตามต้องการ นอกจากนีทาง
          ีิ                      ี         ิ                    1
   การแพทย์ได้นาเทคนิคทางพันธุวศวกรรมมาช่วยวินจฉัยโรคพันธุกรรมตังแต่
                ํ                   ิ              ิ                 1
   ก่อนคลอด หรือก่อนมีอาการ และนําไปใช้ผลิตฮอร์ โมน โปรตีน และวัคซีน
   ต่างๆ เพือประโยชน์ในการรักษาและป้ องกัน

More Related Content

What's hot

พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมsupreechafkk
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศMaikeed Tawun
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
pitsanu duangkartok
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
Nattapong Boonpong
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Test
TestTest
Test
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Multiple alleles
Multiple allelesMultiple alleles
Multiple alleles
 
Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 

Viewers also liked

Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
KAIDAWZ
 
Chapter 15: Chromosomal Basis of Inheritance
Chapter 15: Chromosomal Basis of InheritanceChapter 15: Chromosomal Basis of Inheritance
Chapter 15: Chromosomal Basis of Inheritance
Angel Vega
 
การออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานการออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานkasetpcc
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมkasetpcc
 
งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนkasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนkasetpcc
 
ห้องสมุด
ห้องสมุดห้องสมุด
ห้องสมุด25462554
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการkasetpcc
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
The Chromosomal Basis Of Inheritance
The Chromosomal Basis Of InheritanceThe Chromosomal Basis Of Inheritance
The Chromosomal Basis Of InheritanceCrystal Wood
 
Non mendelian genetics(roel)
Non mendelian genetics(roel)Non mendelian genetics(roel)
Non mendelian genetics(roel)roel maraya
 
Cell Division Mitosis and Meiosis
Cell Division Mitosis and MeiosisCell Division Mitosis and Meiosis
Cell Division Mitosis and Meiosis
Catherine Patterson
 
Cell cycle & cell division
Cell cycle & cell divisionCell cycle & cell division
Cell cycle & cell division
Shimaa Sherif
 

Viewers also liked (15)

Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Chapter 15: Chromosomal Basis of Inheritance
Chapter 15: Chromosomal Basis of InheritanceChapter 15: Chromosomal Basis of Inheritance
Chapter 15: Chromosomal Basis of Inheritance
 
การออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานการออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงาน
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียน
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
ห้องสมุด
ห้องสมุดห้องสมุด
ห้องสมุด
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
5555555
55555555555555
5555555
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
The Chromosomal Basis Of Inheritance
The Chromosomal Basis Of InheritanceThe Chromosomal Basis Of Inheritance
The Chromosomal Basis Of Inheritance
 
Non mendelian genetics(roel)
Non mendelian genetics(roel)Non mendelian genetics(roel)
Non mendelian genetics(roel)
 
Cell cycle powerpoint
Cell cycle powerpointCell cycle powerpoint
Cell cycle powerpoint
 
Cell Division Mitosis and Meiosis
Cell Division Mitosis and MeiosisCell Division Mitosis and Meiosis
Cell Division Mitosis and Meiosis
 
Cell cycle & cell division
Cell cycle & cell divisionCell cycle & cell division
Cell cycle & cell division
 

Similar to Aaa

Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Janistar'xi Popae
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ไพฑูรย์ ทิพย์สันเทียะ
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดลการศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
somkhuan
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16Bios Logos
 
P3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundP3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundAtas Nama Cinta
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 

Similar to Aaa (20)

Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
1
11
1
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดลการศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16
 
P3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundP3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stround
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
1
11
1
 

Aaa

  • 2. พันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ (genetics - มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคําว่า "genno" ซึงแปลว่า "การให้กาเนิด") คือ สาขาแขนงหนึงของ ํ วิทยาศาสตร์ ซึงว่าด้วยการศึกษาหน่วยพันธุกรรม หรือ ยีน, กรรมพันธุ์ (heredity), และวิวฒนาการในสิงมีชวตต่าง ๆ ั ีิ
  • 3. พันธุศาสตร์ คําว่า "พันธุศาสตร์ " นี1 เริมแรกคิดขึนมาเพือประยุกต์ใช้กบศาสตร์ ใหม่ทว่า 1 ั ี ด้วยการศึกษา ชาติพนธุ์และวิวฒนาการของสิงมีชวต โดยนักวิทยาศาสตร์ ชาว ั ั ีิ อังกฤษ ชือ วิลเลียม เบทสัน โดยปรากฏอยู่ในเอกสารของเขาทีส่งไปให้อดัม เซดจ์วค ซึงมีการลงบันทึก วันที 18 เมษายน พ.ศ. 2448 ิ มนุษย์เริมรับความรู้เกียวกับพันธุศาสตร์ ตงแต่สมัยก่อนประวัตศาสตร์ ซึงว่า ั1 ิ ด้วยการเพาะพันธุ์และการดําเนินการสืบพันธุ์ให้แก่พชและสัตว์ การวิจยทางพันธุ ื ั ศาสตร์ ปจจุบนนิยมใช้เครืองมือวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ ศึกษาเพือให้ทราบระบบ ั ั ภายในของยีน เช่น การวิเคราะห์การตอบสนองทางพันธุกรรม ซึงอยู่ภายใน สิงมีชวต ข้อมูลทางพันธุกรรมส่วนใหญ่มกถูกบรรจุไว้ในโครโมโซม ซึงแสดงให้ ีิ ั เห็นถึงโครงสร้างทางเคมีของ ดีเอ็นเอ
  • 4. พันธุศาสตร์ รหัสทางพันธุกรรมสามารถจําแนกได้จากยีน ซึงถือเป็ นข้อมูลทีสําคัญยิงในการ ประกอบลักษณะทางเคมีของโปรตีน ถึงแม้ว่าโปรตีนจะมีบทบาทสําคัญอย่างยิง แต่ในหลายกรณี โปรตีนนันไม่อาจกําหนดสารประกอบทางพันธุกรรมได้ทงหมด 1 ั1 ทว่ากลับอยู่ในฟี โนไทป์ตว สุดท้ายของสิงมีชวตนันๆ วลีศพท์ทางพันธุศาสตร์ ั ีิ 1 ั คําว่า "เพือระบุรหัส" มักใช้กบยีนทีสามารถสร้างโปรตีนเองได้, โดยจะถูก ั เรียกว่า "รหัสถ่ายพันธุ์ของโปรตีน"
  • 6. พันธุศาสตร์ ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ!งมีชีวิตแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1.1 ลักษณะทางพันธุกรรมที!มความแปรผันต่อเนื!อง ี (CONTINUOUS VARIATION) เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมทีมี ความลดหลันกันทีละน้อย สามารถนํามาเรียงลําดับกันได้ เช่น ความสูง นํ1าหนัก สีผว เป็ น ิ ต้น 1.2 ลักษณะทางพันธุกรรมที!มความแปรผันไม่ต่อเนื!อง ี (DISCONTINUOUS VARIATION) เป็ นลักษณะทีแบ่งเป็ นกลุม ่ ได้อย่างชัดเจน เช่นหมู่เลือดของคน ลักษณะผิวเผือก ลักยิม ติงหู การห่อลินเป็ นต้น 1 1 ข้อสังเกต โดยทัวไป ลักษณะทีมีความแปรผันแบบต่อเนือง เช่น สีผว นันสิงแวดล้อมจะมีอทธิพล ิ 1 ิ ต่อการแสดงลักษณะในสัดส่วนทีมากกว่าลักษณะทีมีความแปรผันแบบไม่ต่อเนือง เช่น หมู่ เลือด
  • 7. พันธุศาสตร์ การค้นพบความรู้ทางพันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ (GENETICS) เป็ นสาขาหนึงของชีววิทยา ศึกษาเกียวกับพฤติกรรมของยีน ซึงเป้ นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม และแบบแผนการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม เกรเกอร์ เมนเดล (GREGOR MENDEL,ค.ศ. 1822 – 1884) บาทหลวงชาวออสเตรีย ได้ทาการทดลองในถัวลันเตา ํ (Pisum sativum) ได้ความรู้ทางพันธุศาสตร์ มากมาย ทําให้เข้า ได้รบการยกย่องเป็ นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ ั
  • 8. เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล Gregor Mendel เกิด วันที 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1822 ทีเมืองโมราเวีย (Moravia) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech) เสียชีวต วันที 6 มกราคม ค.ศ. 1884 ทีเมืองเบิร์น ิ (Brunn) ประเทศสาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
  • 9. เมนเดล โยฮั นน์ เกรกอร์ เมนเดล เกิดในปี ค.ศ.1822 เป็ นบาทหลวงชาว ออสเตรีย และในขณะเดียวกันเขาก็เป็ นอาจารย์ สอนหนังสือให้แก่ นักเรียน สอนนักเรียน ถึงเรื!องพันธุ์กรรมด้วย เมนเดลมีความสนใจ ศึกษาด้านวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะ ด้านพันธุศาสตร์ เขาได้ใช้ สถานที!ภายในบริเวณวัดเพือทําการทดลองสิ!งต่างๆ ที!เขาสนใจ เมน ! เดลเริ!มต้นทดลองเป็ นครั=งแรกในปี ค.ศ.1856 เรื!องที!เขาทําการ ทดลองคือ การรวบรวมต้นถั!วหลายๆพันธุ์นามาผสมกันหลายๆ ํ วิธี
  • 10. เมนเดล เขาใช้เวลาทดลองต่อเนื!องถึง 7 ปี จนได้ข้อมูลมากเพียงพอ ในปี ค.ศ.1865 เมน เดล จึงได้ รายงานผลการทดลอง ซึ! งเกี!ยวข้องกับการผสมพันธุ์ ต้นถั!ว ให้แก่ท!ี ประชุม Natural History Society ในกรุงบรุนน์ ( Brunn ) ผลงานของเขาได้รับการตีพมพ์เผยแพร่ออกไปทั!วทวีปยุโรปและ อเมริกาในปี ต่อมา ิ คือปี ค.ศ.1866 ผลงานของเขาถูกปล่อยไว้นานถึง 34 ปี จนกระทั!งปี ค.ศ.1900 ได้มีนัก ชีววิทยา 3 ท่าน คือ ฮูโก เดฟรีส์ ชาวฮอลันดา คาร์ล คอเรนส์ ชาวเยอรมันและ เอริช ฟอน แชร์มาค ชาวออสเตรเลีย ได้ทดลองผสมพันธุ์พชชนิดอื! นๆ และได้ผลการทดลอง ื ตรงกับที!เมนเดลเคยรายงานไว้ ทําให้เมนเดลเป็ นที!ร้จัก ในวงการพันธุศาสตร์นับแต่ ู นั=นเป็ นต้นมา และ เมนเดลยั งได้รับการยกย่ องว่า เป็ นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์อีก ด้วย เมนเดลเสียชีวิตลงในปี ค.ศ.1884 ถึงแม้เป็ นความจริง เขาจะไม่ได้รับการ ยอมรับนับถือในฐานะนักวิทยาศาสตร์มากนัก แต่ประชาชนทั!วไปก็นับถือเขาและมี ความศรัทธาในฐานะนักบวชเป็ นอย่ างมาก
  • 11. การทดลองของเมนเดล ั G ั1 1. เมนเดล ผสมต้นถัวลันเตาจนได้พนธุ์บริสุทธิทง พ่อพันธุ์ แม่พนธุ์ั 2. เมนเดล นําต้นถัวพันธุ์สูงเป็ นพ่อพันธุ์ หรือแม่พนธุ์ มาผสมกับต้นถัวพันธุ์ ั เตี1ยซึงเป็ นแม่พนธุ์หรือพ่อพันธุ์ เป็ นการผสมข้ามต้นต่างลักษณะ ั 3. เมนเดล นําต้นถัวรุ่นทีสอง (F2) มาผสมพันธุ์กนเอง ั
  • 12. สรุ ปผลการทดลองของเมนเดล 1. ลักษณะทางพันธุกรรมทีควบคุมความสูงของต้นถัวมีลกษณะเด่น คือ ลักษณะลํา ั ต้นสูงกับลักษณะด้อย คือ ลักษณะลําต้นเตี1ย ลักษณะทางพันธุกรรมของพ่อจะอยู่ใน ละอองเกสรตัวผู ้ ของแม่จะอยู่ในรังไข่ ลักษณะพันธุกรรมจึงถ่ายทอดถึงลูกหลานได้ 2. ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อยในรุ่นลูก (F1) จึงพบรุ่นลูกมีลกษณะเด่นหมด ั ทังนีภายในข้อจํากัดพ่อและแม่ ต้องเป็ นพันธุ์เด่นแท้และด้อยแท้ 1 1 3. ในชัวรุ่นหลาน (F2) โดยปล่อยให้รุ่นลูก (F1) ผสมพันธุ์กนเองจะได้ลกษณะ ั ั เด่นต่อลักษณะด้อยในอัตราส่วน 3 : 1
  • 13. กฎแห่ งการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของ เมนเดล กฎข้อที 1 กฎแห่งการแยกตัว ( law of segregation) กล่าว ว่า สิงทีควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิงมีชวตทีสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมี ีิ อยู่เป็ นคู่ ๆ แต่ละคู่แยกจากกันในระหว่าง การสร้างเซลล์พชสืบพันธุ์ ทําให้เซลล์ ื สืบพันธ์ แต่ละเซลล์มหน่วยควบคุมลักษณะนีเ1 พียงหนึงหน่วยและจะ กลับเข้าคู่อก ี ี เมือเซลล์สบพันธ์ ผสมกัน ื สิงทีควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมซึงเป็ นหน่วยทีคงตัวนัน เมนเดล เรียกว่า 1 แฟกเตอร์ (factor) ในปัจจุบนเรียกกันว่า ยีน (gene) ั กฎข้อที 2 กฎแห่งการรวมกลุมอย่างอิสระ กล่าวว่า ในเซลล์สบพันธุ์จะมีการ ่ ื รวมกลุมของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ การรวมกลุมเหล่านีเ1 ป็ นไป ่ ่ อย่างอิสระ จึงทําให้เราสามารถทํานายผลทีเกิดขึนในรุ่นลูก และรุ่นหลานได้ 1
  • 14. ลักษณะเด่ น/ด้ อย ลักษณะเด่น หมายถึง ลักษณะทีมีโอกาสแสดงออกได้มากกว่า ลักษณะด้อย หมายถึง ลักษณะทีจะแสดงออกได้ ก็ต่อเมือมีการเข้าคู่แบบโฮ โมโลกัสของยีนด้อยเท่านัน 1
  • 15. เมนเดล ได้พบถึงข้อขัดแย้งกับ blending theory ทีเด่นชัดก็คอ ื ถ้าผสมถัวทีมีดอกสีมวง กับถัวทีมีดอกสีขาว ่ ต้นถัวทีเกิดมา จากเมล็ดกลับให้ดอกสีมวง ่ ทังหมด (ไม่ใช่ตรงกลาง ระหว่างสีขาวกับสี 1 ม่วง) แล้วถ้าปล่อยให้ต้นถัว ทีได้มาจากการผสมพันธุ์ ครังแรกผสมพันธุ์กบตัวเอง จะได้ดอกสีม่วง 1 ั สามต่อดอกสีขาวหนึง (3:1)
  • 16.
  • 17.
  • 18. พันธุศาสตร์ ตามหลักของเมนเดล (Mendelian Genetics) Mendelian จากการทีเมนเดลใช้หลักสถิตใิ นการวิเคราะห์ผลการทดลอง เขาได้กฏการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 2 ข้อ ทีสอดคล้องกับผลการทดลองของเขา คือ กฏการแยก (law of segregation) และกฏการรวมกลุมกัน ่ อย่างอิสระ (law of independent assortment) ซึงกฏทัง 2 ข้อนีใ1 ช้อธิบายพฤติกรรมของสิงทีควบคุมการแสดงออกของ 1 ลักษณะต่างๆ เช่น ลักษณะความสูงของลําต้น ลักษณะสีดอก และลักษณะรูปร่ าง เมล็ดถัวลันเตาตามการทดลองของเขา ซึงขณะนันเขาเรียกสิงทีควบคุมการ 1 แสดงออกของลักษณะต่างๆว่า “แฟกเตอร์ ” (factor) ทีเขาเชือว่ามีอยู่เป็ น คู่ๆ ว่าจะต้องมีการแยกจากกัน แบ่งเป็ น 2 ชุด เท่าๆ กัน ในระหว่างการสร้าง เซลล์สบพันธุ์ ซึงปัจจุบนเรียกว่า ยีน ื ั
  • 19. 1. กฏการแยก (law of segregation) law เมือพิจารณาการถ่ายทอดลักษณะของถัวลันเตาทีละลักษณะ เช่น ลักษณะสีของ เมล็ด เมนเดลให้สญลักษณ์ Y แทนลักษณะเมล็ดสีเหลือง และ y แทนลักษณะ ั เมล็ดสีเขียว
  • 20. จากรูป F1 สร้างเซลล์สบพันธุ์ได้ 2 แบบ คือ Y หรือ y โดยมีโอกาส ื อย่างละ ½ ดังนันโอกาสทีเซลล์สบพันธุ์แต่ละแบบจะมารวมกันเพือเกิดเป็ นลูกรุ่น 1 ื F2 คือ 1/4 YY, 1/2 Yy, และ1/4 yy คิดเป็ นอัตราส่วนจีโน ไทป์ 1:2:1 หรือ อัตราส่วน ฟี โนไทป์สเี หลืองต่อสีเขียว 3:1 เช่นเดียวกันกับการพิจารณาการผสมถัวลันเตาลักษณะเมล็ดกลมและเมล็ดขรุขระ ก็ให้สดส่วนลักษณะเด่นและลักษณะด้อย 3:1 เช่นกัน ั ลักษณะเมล็ดขรุขระไม่มเี อนไซม์ทจะเปลียนนํ1าตาลเป็ นแป้ ง จึงต้องดูดนํ1าเข้าเมล็ด ี มาก พอเมล็ดแก่ แห้ง จึงมีลกษณะขรุขระ ั
  • 21. 2. กฏการรวมกลุ่มกันอย่ างอิสระ (law of law independent assortment) เมือพิจารณาการถ่ายทอดลักษณะ ของถัวลันเตาทีละลักษณะ 2 ลักษณะขึนไป เช่น ลักษณะสีของ 1 เมล็ด และลักษณะรูปร่ างของเมล็ด เมนเดลให้สญลักษณ์ของลักษณะ ั รูปร่ างเมล็ดกลม R และ ลักษณะ รูปร่ างเมล็ดขรุขระ r
  • 22. จากรูป F1 สร้างเซลล์สบพันธุ์ได้ 4 แบบ เป็ นการรวมกลุมกันอย่างอิสระ คือ ื ่ YR, Yr, yR หรือ ry โดยมีโอกาสอย่างละ 1/4 ดังนัน โอกาสทีเซลล์ 1 สืบพันธุ์แต่ละแบบจะมารวมกันเพือเกิดเป็ น ลูกรุ่น F2 คือ 9/16 Y_R_, 3/16 yyR_, 3/16 Y_rr และ 1/16 rryy อัตราส่วนฟี โนไทป์ เมล็ดกลมสีเหลือง : เมล็ดกลมสีเขียว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว เท่ากับ 9:3:3:1
  • 23. กฏการแยกและกฏการรวมกลุมกัน ่ อย่างอิสระของเมนเดลเกิดขึนจากการ 1 แยกคู่ของโฮโมโลกัสโครโมโซม เพือสร้าง เซลล์สบพันธุ์นนเอง ตัวอย่างเช่น การ ื ั แยกคู่ของยีนทีควบคุมลักษณะลักษณะสี ของเมล็ด และลักษณะรูปร่ างของเมล็ดที อยู่ต่างโครโมโซมกัน ดังรูป
  • 24. ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์ จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึงชนิดของยีนทีมาจับคู่กน โดยปกติ ั ลักษณะของสิงมีชวตหนึงลักษณะจะถูกควบคุมโดยยีนอย่างน้อย 1 คู่ ีิ เนืองจากเป็ นยีนทีมาจากพ่อแม่อย่างละครึง นันเอง ฟี โนไทป์ (Phenotype) หมายถึงลักษณะทีเกิดจากการแสดงออก ของยีน สามารถมองเห็นหรือตรวจสอบได้ เช่น สีผว สีผม สีตา ความ ิ สูง ความเตี1ย ลักษณะความถนัด และกลุมเลือด เป็ นต้น ่
  • 25. ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์ โฮโมไซกัส (Homozygous) หมายถึงการจับคู่ของยีนทีมีสภาพ เหมือนกัน เช่น ยีนเด่นจับคู่กบยีนเด่น หรือยีนด้อยจับคู่กบยีนด้อย ั ั เฮเทอโรไซกัส (Heterozygous) หมายถึงการจับคู่ของยีนต่าง สภาพ ได้แก่ ยีนสภาพเด่นจับคู่กบยีนสภาพด้อย ซึงเรียกว่า เป็ นลักษณะ ั พันธุ์ทาง
  • 26. ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์ ลักษณะเด่น (Dominance) หมายถึงลักษณะเด่นของยีนซึางเป็ น ลักษณะข่ม โดยมีสมบัตขมยีนด้อยได้ ถ้าสภาพยีนเด่นนันเป็ นปกติ ิ่ 1 ลักษณะด้อย (Recessive) หมายถึงลักษณะด้อยของยีน โดยปกติ จะถูกข่มโดยยีนเด่น
  • 27. ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์ ลักษณะเด่นร่ วมกัน (Co-dominance) เมือยีนเด่นของลักษณะต่างกัน มาจับกัน แล้วส่งผลให้เกิดการแสดงออกของทังสองลักษณะ เรียกลักษณะเด่นที 1 แสดงออกมาทังสองนีว่า เด่นเท่ากัน เช่น ยีนนําลักษณะแอนติเจนเอ เมือมาจับคู่ 1 1 กับยีนนําลักษณะแอนติเจนบี จะปรากฏเป็ นกลุมเลือดแบบเอบีขน ซึงลักษระดังลกล่าว ่ 1ึ นีเ1 กิดจากยีนหลายคู่ควบคุมลักษณะเดียวกัน ลักษณะเด่นไม่สมนบูรณ์ (Incomplete dominance) บางครัง 1 ยีนเด่นบางชนิดมีสภาพอ่อนแอ ไม่สามารถข่มยีนด้อยลงได้ทงหมด จึงทําให้เกิดผล ั1 ของการทําปฏิกรยาร่ วมกันของยีน ได้ลกษณะทีไม่เหมือนพ่อหรือแม่ออกมา ลักษณะ ิิ ั ดังกล่าวอาจเป็ นลักษณะกลางระหว่างลักษณะของพ่อแม่กไ็ ด้ ตัวอย่างทีพบ ได้แก่ สี แดงในดอกลินมังกร ซึงพบว่าเป็ นลักษณะเด่นแบบไม่สมบูรณ์ ข่มลักษณะสีขาวซึงเป็ น 1 ลักษณะด้อยลงไม่ได้ทงหมด จึงทําให้เกิดดอกสีชมพู ขน เป็ นต้น ั1 1ึ
  • 28. ศัพท์ ทางพันธุศาสตร์ โฮโมไซกัส โดมิแนนซ์ (Homozygous dominance) หมายถึงสภาพยีนเด่นมาจับคู่กน จะได้ฟีโนไทป์ของลักษณะเด่น ลักษณะนีเ1 รียก ั จัดเป็ นพันธุ์แท้ลกษณะเด่น ั เฮเทอโรไซกัส โดมิแนนซ์ (Heterozygous dominance) หมายถึงยีนสภาพเด่นจับคู่กบยีนสภาพด้อย ลักษณะนีจดเป็ นลักษณะพันธุ์ทาง ั 1ั นันเอง โฮโมไซกัส รีเซสซีพ (Homozygous recessive) หมายถึงยีนสภาพด้อยจับคู่กน ั ฟี โนไทป์เป็ นลักษณะด้อย ลักษณะนี1 จัดเป็ นพันธุ์แท้ลกษณะด้อยลักษณะ ั
  • 29. ความสัมพันธ์ ระหว่ างยีนและการถ่ ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะต่างๆ ของสิงมีชวตทีปรากฏออกมาให้เห็น ซึงเรียกกันว่า ฟี โนไทป์นน ีิ ั1 บางอย่างเป็ นผลจากการทํางานร่ วมกันระหว่างยีนกับสิงแวดล้อม "สิงแวดล้อม" หมายถึงสิงแวดล้อมทังภายนอก เช่น อุ ณหภูม ิ แสง เสียง 1 อาหาร การออกกําลังกาย ยา และสภาพภายในของสิงมีชวต เช่น ระดับ ีิ ฮอร์ โมน เพศ อายุ เป็ นต้น สิงแวดล้อมจะมีบทบาทในการควบคุมฟี โนไทป์ของยีนแตกต่างกันในแต่ละลักษณะ เช่น กลุมเลือดและสีตา ่ สิงแวดล้อมก็ไม่สามารถจะทําให้สงมีชวตเปลียนแปลงเกินขอบเขตพันธุกรรมทีมี ิ ีิ อยู่ได้ และยีนก็ไม่สามารถจะแสดงลักษณะออกมาได้ถาอยู่ในสภาพสิงแวดล้อมที ้ ขาดสารอาหารทีจําเป็ นและปัจจัยอืนๆ
  • 30. ความสัมพันธ์ ระหว่ างยีนและการถ่ ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม ตัวอย่างทีแสดงให้เห็นอิทธิพลของสิงแวดล้อมทีมีต่อการแสดงออกของยีน เช่น ลักษณะศรีษะล้าน ซึงเป็ นลักษณะเด่นในเพศชาย และลักษณะด้อยในเพศหญิง แต่ เนืองจากฮอร์ โมนเพศชายเกียวข้องกับการแสดงออกของยีน ศีรษะล้านจึงพบใน เพสชายมากกว่าเพศหญิง
  • 31. พันธุวศวกรรม ิ คือการนํารหัสพันธุกรรมของสิงมีชวตชนิดหนึง ไปใส่ให้กบ สิงมีชวตอีก ีิ ั ีิ ชนิดหนึง เพือให้แสดงลักษณะทางพันธุกรรมทีต้องการออกมา กระทําได้โดย การตัดยีนจากเซลล์ของสิงมีชวตชนิดหนึงไปต่อกับ สิงมีชวตชนิดหนึง ีิ ีิ เรียกว่า รีคมบิแนนต์ (Recombinant DNA) ิ
  • 32. ขันตอนของพันธุวิศวกรรม 1. แยกยีน โดยการใช้เอนไซม์ทมีคุณสมบัตใิ นการตัดโมเลกุลของ DNA ี ตรงเฉพาะตําแหน่ง 2. นําชินส่วนยีนทีได้มาจากการตัดต่อด้วยเอนไซม์มาใส่ในยีนของสิงมีชวตอีกชนิด 1 ีิ หนึง ส่วนใหญ่ใช้แมคทีเรีย เนืองจากเป็ นสิงมีชวตทีเพิมจํานวนได้รวดเร็ว ีิ และมี DNA เป็ น รูปวงแหวนทีเรียกว่า พลาสมิด (Plasmid) ซึงสามารถเพิมจํานวนได้อย่างอิสระ 3. นํายีนทีตัดต่อแล้วไปใส่ในสิงมีชวตทีต้องการให้แสดงลักษณะทางพันธุ กรรมที ีิ ต้องการออกมา
  • 33. ประโยชน์ ของพันธุวศวกรรม ิ 1. ด้านอุ ตสาหกรรม พันธุวศวกรรมมีบทบาทสําคัญในการพัฒนา ิ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เช่น การผลิตกรดอะมิโน เอนไซม์ วิตามิน 2. ด้านเกษตรกรรม ทําให้ผลิตต้นพืชทีมีความสามารถในการต้านยาปราบ ศัตรูพช ทนทานต่อสภาพแวดล้อมทีแปรปรวน สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจน ื จากบรรยากาศ หรือพืชทีมีผลผลิตสูงและมีคุณค่าทางโภชนาการสูง 3. ด้านการแพทย์ เช่น การผลิตยาปฏิชวนะและวิตามินต่างๆ โดยการปรับปรุง ี ยีนของราหรือแบคทีเรีย โดยการตัดต่อยีนจากสิงมีชวตหนึงเข้ากับยีนของ ีิ สิงมีชวตอีกชนิดหนึง เพือให้ได้ยนทีมีสมบัตตามต้องการ นอกจากนีทาง ีิ ี ิ 1 การแพทย์ได้นาเทคนิคทางพันธุวศวกรรมมาช่วยวินจฉัยโรคพันธุกรรมตังแต่ ํ ิ ิ 1 ก่อนคลอด หรือก่อนมีอาการ และนําไปใช้ผลิตฮอร์ โมน โปรตีน และวัคซีน ต่างๆ เพือประโยชน์ในการรักษาและป้ องกัน