SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
สถานที่หลายแห่งลวนมีเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นในอดีต ท้องถิ่นของเราเองก็
                            ้
เช่นกัน มีประวัติความเป็ นมาแต่ไม่ค่อยมีใครสนใจศึกษา ทาให้มผูรูใ้ นเรื่องนี้มี
                                                                    ี ้
น้อยลง และอาจทาให้คนรุ่นหลังไม่ทราบประวัตความเป็ นมาในท้องถินของตนเองว่า
                                             ิ                    ่
เป็ นอย่างไร มีจุดเริ่มต้นจากไหน แต่ถา้ หากเราศึกษาหาความรู เ้ กี่ยวกับประวัติ
ความเป็ นมาของท้องถิ่นของเราเสียแต่ตอนนี้ นอกจากจะทาให้เรารูเ้ กี่ยวกับประวัติ
ความเป็ นมาของท้องถิ่นเรามากยิ่งขึ้น ยังทาให้เราได้รูอีกว่าเราจะสืบสานประเพณี
                                                     ้
วัฒนธรรม และภูมปญญาในท้องถินของเราให้คงอยู่ตลอดไปได้อย่างไร
                   ิ ั          ่
้
ขันตอนการดาเนิ นงาน
        การศึกษาประวัตความเป็ นมาของบ้านใหม่ร่องหวาย อาเภอเวียงเชียงรุง้
                          ิ
และจังหวัดเชียงราย ผูศึกษามีวธการศึกษาดังนี้
                        ้     ิี
        1.ขันสารวจเอกสารทีเ่ กี่ยวของ
            ้                      ้
        2.สารวจข้อมูลเกี่ยวกับประวัตความเป็ นมาของหมูบา้ น อาเภอ และ
                                      ิ                ่
จังหวัด โดยการสาภาษณ์ จดบันทึกข้อมูลจากบุคคลในหมูบา้ น และค้นคว้าข้อมูล
                                                     ่
เพิมจากอินเทอร์เน็ต
    ่
        3.นาข้อมูลทีได้มาสรุปสาระสาคัญและเรียบเรียงใหม่
                      ่
        4.นาข้อมูลทีได้มารวบรวม วิเคราะห์
                    ่
        5.ตรวจสอบความเรียบร้อยของข้อมูล
        6.เสนอผลการศึกษาข้อมูล
บ้านใหม่ร่องหวายเป็ นหมูบา้ นทีแยกออกมาจากบ้านร่องหวายซึงก่อตังเมือ
                                   ่ ่                           ่ ้ ่
พ.ศ. 2507 โดยการนาของพ่อใหญ่ผาย ศรีจนทร์ปลิว ที่อพยพมาจากจังหวัด
                                             ั
อุดรธานี และต่อมาก็มผูคนอพยพมาจากหลายจังหวัดเช่น ขอนแก่น มหาสารคาม
                        ี ้
ร้อยเอ็ด อุบล ฯลฯ เข้ามาตังถินฐานในหมูบา้ น
                               ้ ่         ่
         บ้านใหม่ร่องหวายตังอยู่ริม ฝังลานาเล็กๆ สายหนึ่งที่กนระหว่างหมู่บา้ น
                             ้        ่ ้                    ั้
แม่เผื่อลานาสายนี้มตนหวายขึ้นหนาแน่ นชาวบ้านเรียกลานาสายนี้ว่า “ลานาร่อง
            ้       ี ้                                ้               ้
หวาย” และตังชื่อหมูบา้ นว่า “บ้านร่องหวาย” ตามชื่อของลาห้วยด้วย
              ้      ่
ทิศเหนือ      ติดต่อกับ   บ้านป่ าเลา       ตาบลดงมหาวัน
ทิศใต้        ติดต่อกับ   ทุ่งนา
ทิศตะวันออก   ติดต่อกับ   บ้านแม่เผือ ่
ทิศตะวันตก    ติดต่อกับ   ชุมชนหมูท่ี 2 บ้านร่องหวาย
                                    ่
บ้านใหม่ร่องหวายแยกการปกครองจากบ้านร่องหวายหมู่ 2 เมื่อ พ.ศ.
2541 เพื่อให้ง่ายต่อการปกครองและการพัฒนาชุมชน ภายในหมู่บา้ นใหม่ร่อง
หวายแบ่งการปกครองจัดเป็ นกลุ่ม มีทงหมด 4 กลุ่มคือ กลุ่มอุบลพัฒนา กลุ่ม
                                   ั้
บูรพาร่ วมใจ กลุ่มทานตะวัน และกลุ่มหรดี ผูใ้ หญ่บา้ นคนปัจจุบน คือ นาย
                                                             ั
ประหยัด ป้ องเรือ
ผลผลิตทางการเกษตร   ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง ยางพารา
อาชีพหลัก           ได้แก่ ทานา ทาไร่ ทาสวน
อาชีพรอง            ได้แก่ รับจ้างทัวไป
                                    ่
เนื่ อ งจากบ้า นใหม่ ร่ อ งหวายมี บ รรพบุ รุ ษ อพยพมาจากทางภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนือหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าภาคอีสาน จึงใช้ภาษาอีสานและมี
วัฒนธรรมเหมือนกันกับคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นประเพณี บุญบังไฟ    ้
ซึงจัดขึ้นเป็ นประจาทุกปี
  ่
" เวียงเก่าเชียงรุง้   เขาสูงพระบาท
ธรรมชาตินา้ ตก                  มรดกล ้านนา
ประชารื่นรมย์                   ชื่นชมคุณธรรม "
เมือ งโบราณ "เวีย งเชี ย งรุ ง " เป็ น เมือ งโบราณเมือ งหนึ่ ง ในลุ่ ม แม่ น า ลาว ที่ มี
                                          ้                                               ้
ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรลา้ นนา เคยเจริญรุ่งเรืองและเสื่อมไปหลายยุค
หลายสมัย ลักษณะเป็ นเนินสูง ตังอยู่กลางทุ่งนา ตรงกลางเมืองเหมือนหลังเต่า มีลกษณะทีช้ ให้
                                 ้                                                      ั       ่ี
ทราบว่าเป็ นเมืองโบราณ ปรากฏชัดเจน เช่น ป้ อม คู ประตูหอรบ มีคูเมือง 3 ชัน 1. คูเมือง ้
ชันในติดกาแพงเมือง (กาแพงดิน) มีคูรอบเป็ นวงแหวน 2. คูเมืองชันกลาง เป็ นคูใหญ่ 3. คู
  ้                                                                   ้
เมืองชันนอกสุด จากการเล่าขานของคนดังเดิมบอกว่า ชุมชนแห่งแรกทีได้มาตังถินฐานคือ บ้าน
        ้                                   ้                           ่         ้ ่
ดงชัย ม.2 ต.ทุ่งก่อ ในปัจจุบน ในสมัยก่อนเรียกว่าบ้าน "ดงหนองเขียว"ประมาณ 300 กว่าปี ท่ี
                              ั
ผ่านมามีครอบครัวที่อพยพมาจากจังหวัดเชียงใหม่ต่อจากนัน ก็มผูคนอพยพเข้ามาเพิมขึ้นจาก
                                                              ้ ี ้                         ่
เดิมที่มเี พียงตาบลทุ่งก่อเพียงตาบลเดียวเมื่อมีการเพิ่มจานวนประชากร ความเจริญต่าง ๆ ก็
เกิดขึ้น
ทิศเหนื อ     ติดต่อกับ   อาเภอดอยหลวง
ทิศตะวันออก   ติดต่อกับ   อาเภอเชียงของ
ทิศใต้        ติดต่อกับ   อาเภอพญาเม็งรายและอาเภอเวียงชัย
ทิศตะวันตก    ติดต่อกับ   อาเภอเมืองเชียงราย
อาเภอเวียงเชียงรุง มีหมู่บา้ นทัง หมด 43 หมู่บา้ น ตาบล 3 ตาบล
                            ้              ้
ได้แก่ ตาบลทุ่งก่ อ ตาบลดงมหาวัน และตาบลป่ าซาง เทศบาล 1 แห่ง คือ
เทศบาลตาบลบ้านเหล่า และองค์การบริหารส่วนตาบล 3 แห่ง มีโรงเรียนประถม
10 โรง มัธยม 2 โรง และวิทยาลัยการอาชีพ 1 แห่ง นายอาเภอเวียงเชียง
รุง้ คือ นายพินิจ แก้วจิตคงทอง
ผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง ประชาชน
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ส่วนอาชีพรองลงมาคือ รับจ้าง
ทัวไป
  ่
เนื่องจากอาเภอเวียงเชียงรุงมีประชาชนอพยพมาจากหลายจังหวัดและหลายภาค จึง
                                     ้
มีวฒนธรรมต่างกันบ้าง ซึ่งในตาบลดงมหาวันมีประชาชนอพยพมาจากภาคอีสานเป็ นส่วนมาก
   ั
จึงมีวฒนธรรมเหมือนกับภาคอีสาน เช่นประเพณี บุญบังไฟ ซึ่งจัดขึ้นเป็ นประจาทุกปี โดยจะมี
      ั                                           ้
การประกวดต่างๆ เช่น ประกวดขบวนแห่ ผาแดง-นางไอ่ บังไฟ เป็ นต้น ส่วนตาบลป่ าซาง
                                                         ้
และตาบลทุ่งก่อมีประชาชนอพยพมาจากภาคเหนือ เช่น จังหวัดลาปาง เชียงใหม่ ลาพูน เป็ น
ต้น ทาให้มวฒนธรรมเหมือนกับคนในภาคนันเช่นกัน เช่น ประเพณีสรงนาพระบาททุ่งก่อ แม้
            ีั                             ้                       ้
ประชาชนในอาเภอเวียงเชียงรุง แม้จะมีภาษาและวัฒนธรรมประเพณีทต่างกัน แต่ก็สามารถอยู่
                              ้                                ่ี
ร่วมได้อย่างสงบสุข และมีอธยาศัยทีดต่อกัน
                            ั       ่ี
“เหนือสุดในสยาม   ชายแดนสามแผ่นดิน
ถิ่นวัฒนธรรมล้ านนา       ล ้าค่าพระธาตุดอยตุง”
จากพงศาวดารโยนกว่า พญามังรายสร้างเมืองเชียงรายขึ้น ณ ทีซงเดิมเป็ นเวียง
                                                                    ่ ่ึ
ชัยนารายณ์ เมือ พ.ศ. 1805 และครองราชย์สมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงรายจนถึง พ.ศ.
               ่
1839 จึงไปสร้างเมืองเชียงใหม่ข้ นในท้องที่ระหว่างดอยสุเทพกับ แม่นาปิ ง และ
                                    ึ                                    ้
ครองราชย์สมบัตอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่จนถึง พ.ศ. 1860
                   ิ
          เมือพญามังรายย้ายไปครองราชย์สมบัติท่เี มืองเชียงใหม่แลว พระราชโอรสคือ
             ่                                                  ้
ขุนคราม หรืออีกชื่อหนึ่งว่าพญาไชยสงคราม ก็ได้ครองราชย์สมบัติสบต่อมา นับแต่นน
                                                                  ื             ั้
เมืองเชียงรายก็ข้นต่อเมืองเชียงใหม่
                 ึ
ครันต่อมาเมือลา้ นนาตกไปอยู่ในปกครองของพม่า ในปี พ.ศ. 2101 พม่าได้ตง
               ้       ่                                                          ั้
ขุนนางปกครองเมืองเชียงรายเรื่อยมา หลังจากนัน พ.ศ. 2317 เจ้ากาวิละแห่งลาปางได้
                                               ้
สวามิภกดิ์ต่อกรุงเทพฯ ทาให้หวเมืองลา้ นนาฝ่ ายใต้ตกเป็ นประเทศราชของสยาม ขณะที่
         ั                     ั
เชียงรายและหัวเมืองลา้ นนาฝ่ ายเหนืออื่น ๆ ยังคงอยู่ใต้อานาจพม่า ลา้ นนากลายเป็ น
พื้นที่แย่งชิงอานาจระหว่างสยามกับพม่า ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองเชียงรายเริ่มร้างผูคน
                                                                                ้
ประชาชนอพยพหนีภยสงครามไปอยู่เมืองอืน บ้างก็ถูกกวาดต้อนลงไปทางใต้ พ.ศ. 2247
                     ั                   ่
เมืองเชียงแสนฐานที่มนสุดท้ายของพม่า ถูกกองทัพเชียงใหม่ ลาปาง และน่ าน ตีแตก
                         ั่
เมืองเชียงรายจึงกลายสภาพเป็ นเมืองร้างตามเมืองเชียงแสน




                        ดอกไม้ประจาจังหวัด ดอกพวงแสด
ในปี พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจ้าอยู่หวมีพระบรมราชานุ ญาตให้
                                                              ั
เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟ้ ื นฟูเชียงรายขึ้นใหม่ ภายหลังเมืองเชียงรายได้เป็ นส่วนหนึ่งของ
มณฑลพฤศจิกายน กระทัง่ ปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวจึงมี     ั
พระราชบัญญัติ ยกเชียงรายขึ้นเป็ น เมืองเชียงราย ซึ่ง "เมือง" เป็ นหน่ วยการปกครอง
หนึ่งทีอยู่ถดจาก "มณฑล" ลงมา โดยเมืองเชียงรายเป็ นศูนย์กลางควบคุมเชียงแสน ฝาง
       ่ ั
และพะเยา ภายหลัง เมือ งเชีย งรายได้เ ปลี่ย นเป็ น จัง หวัด เชีย งราย และเมื่อ วัน ที่ 28
สิงหาคม พ.ศ. 2520 ได้แบ่งแยกพื้นทีบางส่วนทางตอนใต้ของจังหวัดจัดตังขึ้นเป็ นจังหวัด
                                     ่                                 ้
พะเยา จนถึงปัจจุบน  ั




                    ต้นไม้ประจาจังหวัดเชียงราย ต้นกาสะลองคา
http://www.chiangrai.go.th/cpoc/2011/pages/aboutCr.aspx : วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2555
http://th.wikipedia.org/wiki : วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555
http://202.129.0.133/createweb/00000//00000-1011.html : วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555
http://www.takethaitour.com/th/tour-information : วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555
www.chiangraiinfo.com : วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555

More Related Content

What's hot

Nakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandNakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandTon51238K
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงloveonlyone
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่านkrunoony
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าnongtaoschool
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิลSirinoot
 
งานจีน2
งานจีน2งานจีน2
งานจีน2khamaroon
 
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯคำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯJunya Yimprasert
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองJariya Bankhuntod
 

What's hot (18)

จังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาสจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาส
 
แผนพัฒนาสามปี 60 62
แผนพัฒนาสามปี 60 62แผนพัฒนาสามปี 60 62
แผนพัฒนาสามปี 60 62
 
แผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวมแผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวม
 
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
 
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
 
Nakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandNakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailand
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
งานจีน2
งานจีน2งานจีน2
งานจีน2
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 
ศรีษเกษ
ศรีษเกษศรีษเกษ
ศรีษเกษ
 
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯคำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 

Similar to 7

รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านkrunoony
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินChoengchai Rattanachai
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการfufee
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้tonsocial
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”Tum Meng
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 
งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็กJarutsee
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิลSirinoot
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 

Similar to 7 (20)

รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
File
FileFile
File
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
ประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทยประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทย
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
Amperpai
AmperpaiAmperpai
Amperpai
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็ก
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

7

  • 1.
  • 2. สถานที่หลายแห่งลวนมีเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นในอดีต ท้องถิ่นของเราเองก็ ้ เช่นกัน มีประวัติความเป็ นมาแต่ไม่ค่อยมีใครสนใจศึกษา ทาให้มผูรูใ้ นเรื่องนี้มี ี ้ น้อยลง และอาจทาให้คนรุ่นหลังไม่ทราบประวัตความเป็ นมาในท้องถินของตนเองว่า ิ ่ เป็ นอย่างไร มีจุดเริ่มต้นจากไหน แต่ถา้ หากเราศึกษาหาความรู เ้ กี่ยวกับประวัติ ความเป็ นมาของท้องถิ่นของเราเสียแต่ตอนนี้ นอกจากจะทาให้เรารูเ้ กี่ยวกับประวัติ ความเป็ นมาของท้องถิ่นเรามากยิ่งขึ้น ยังทาให้เราได้รูอีกว่าเราจะสืบสานประเพณี ้ วัฒนธรรม และภูมปญญาในท้องถินของเราให้คงอยู่ตลอดไปได้อย่างไร ิ ั ่
  • 3. ้ ขันตอนการดาเนิ นงาน การศึกษาประวัตความเป็ นมาของบ้านใหม่ร่องหวาย อาเภอเวียงเชียงรุง้ ิ และจังหวัดเชียงราย ผูศึกษามีวธการศึกษาดังนี้ ้ ิี 1.ขันสารวจเอกสารทีเ่ กี่ยวของ ้ ้ 2.สารวจข้อมูลเกี่ยวกับประวัตความเป็ นมาของหมูบา้ น อาเภอ และ ิ ่ จังหวัด โดยการสาภาษณ์ จดบันทึกข้อมูลจากบุคคลในหมูบา้ น และค้นคว้าข้อมูล ่ เพิมจากอินเทอร์เน็ต ่ 3.นาข้อมูลทีได้มาสรุปสาระสาคัญและเรียบเรียงใหม่ ่ 4.นาข้อมูลทีได้มารวบรวม วิเคราะห์ ่ 5.ตรวจสอบความเรียบร้อยของข้อมูล 6.เสนอผลการศึกษาข้อมูล
  • 4. บ้านใหม่ร่องหวายเป็ นหมูบา้ นทีแยกออกมาจากบ้านร่องหวายซึงก่อตังเมือ ่ ่ ่ ้ ่ พ.ศ. 2507 โดยการนาของพ่อใหญ่ผาย ศรีจนทร์ปลิว ที่อพยพมาจากจังหวัด ั อุดรธานี และต่อมาก็มผูคนอพยพมาจากหลายจังหวัดเช่น ขอนแก่น มหาสารคาม ี ้ ร้อยเอ็ด อุบล ฯลฯ เข้ามาตังถินฐานในหมูบา้ น ้ ่ ่ บ้านใหม่ร่องหวายตังอยู่ริม ฝังลานาเล็กๆ สายหนึ่งที่กนระหว่างหมู่บา้ น ้ ่ ้ ั้ แม่เผื่อลานาสายนี้มตนหวายขึ้นหนาแน่ นชาวบ้านเรียกลานาสายนี้ว่า “ลานาร่อง ้ ี ้ ้ ้ หวาย” และตังชื่อหมูบา้ นว่า “บ้านร่องหวาย” ตามชื่อของลาห้วยด้วย ้ ่
  • 5. ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านป่ าเลา ตาบลดงมหาวัน ทิศใต้ ติดต่อกับ ทุ่งนา ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านแม่เผือ ่ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ชุมชนหมูท่ี 2 บ้านร่องหวาย ่
  • 6. บ้านใหม่ร่องหวายแยกการปกครองจากบ้านร่องหวายหมู่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2541 เพื่อให้ง่ายต่อการปกครองและการพัฒนาชุมชน ภายในหมู่บา้ นใหม่ร่อง หวายแบ่งการปกครองจัดเป็ นกลุ่ม มีทงหมด 4 กลุ่มคือ กลุ่มอุบลพัฒนา กลุ่ม ั้ บูรพาร่ วมใจ กลุ่มทานตะวัน และกลุ่มหรดี ผูใ้ หญ่บา้ นคนปัจจุบน คือ นาย ั ประหยัด ป้ องเรือ
  • 7. ผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง ยางพารา อาชีพหลัก ได้แก่ ทานา ทาไร่ ทาสวน อาชีพรอง ได้แก่ รับจ้างทัวไป ่
  • 8. เนื่ อ งจากบ้า นใหม่ ร่ อ งหวายมี บ รรพบุ รุ ษ อพยพมาจากทางภาค ตะวันออกเฉี ยงเหนือหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าภาคอีสาน จึงใช้ภาษาอีสานและมี วัฒนธรรมเหมือนกันกับคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นประเพณี บุญบังไฟ ้ ซึงจัดขึ้นเป็ นประจาทุกปี ่
  • 9. " เวียงเก่าเชียงรุง้ เขาสูงพระบาท ธรรมชาตินา้ ตก มรดกล ้านนา ประชารื่นรมย์ ชื่นชมคุณธรรม "
  • 10. เมือ งโบราณ "เวีย งเชี ย งรุ ง " เป็ น เมือ งโบราณเมือ งหนึ่ ง ในลุ่ ม แม่ น า ลาว ที่ มี ้ ้ ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรลา้ นนา เคยเจริญรุ่งเรืองและเสื่อมไปหลายยุค หลายสมัย ลักษณะเป็ นเนินสูง ตังอยู่กลางทุ่งนา ตรงกลางเมืองเหมือนหลังเต่า มีลกษณะทีช้ ให้ ้ ั ่ี ทราบว่าเป็ นเมืองโบราณ ปรากฏชัดเจน เช่น ป้ อม คู ประตูหอรบ มีคูเมือง 3 ชัน 1. คูเมือง ้ ชันในติดกาแพงเมือง (กาแพงดิน) มีคูรอบเป็ นวงแหวน 2. คูเมืองชันกลาง เป็ นคูใหญ่ 3. คู ้ ้ เมืองชันนอกสุด จากการเล่าขานของคนดังเดิมบอกว่า ชุมชนแห่งแรกทีได้มาตังถินฐานคือ บ้าน ้ ้ ่ ้ ่ ดงชัย ม.2 ต.ทุ่งก่อ ในปัจจุบน ในสมัยก่อนเรียกว่าบ้าน "ดงหนองเขียว"ประมาณ 300 กว่าปี ท่ี ั ผ่านมามีครอบครัวที่อพยพมาจากจังหวัดเชียงใหม่ต่อจากนัน ก็มผูคนอพยพเข้ามาเพิมขึ้นจาก ้ ี ้ ่ เดิมที่มเี พียงตาบลทุ่งก่อเพียงตาบลเดียวเมื่อมีการเพิ่มจานวนประชากร ความเจริญต่าง ๆ ก็ เกิดขึ้น
  • 11. ทิศเหนื อ ติดต่อกับ อาเภอดอยหลวง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อาเภอเชียงของ ทิศใต้ ติดต่อกับ อาเภอพญาเม็งรายและอาเภอเวียงชัย ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อาเภอเมืองเชียงราย
  • 12. อาเภอเวียงเชียงรุง มีหมู่บา้ นทัง หมด 43 หมู่บา้ น ตาบล 3 ตาบล ้ ้ ได้แก่ ตาบลทุ่งก่ อ ตาบลดงมหาวัน และตาบลป่ าซาง เทศบาล 1 แห่ง คือ เทศบาลตาบลบ้านเหล่า และองค์การบริหารส่วนตาบล 3 แห่ง มีโรงเรียนประถม 10 โรง มัธยม 2 โรง และวิทยาลัยการอาชีพ 1 แห่ง นายอาเภอเวียงเชียง รุง้ คือ นายพินิจ แก้วจิตคงทอง
  • 13. ผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง ประชาชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ส่วนอาชีพรองลงมาคือ รับจ้าง ทัวไป ่
  • 14. เนื่องจากอาเภอเวียงเชียงรุงมีประชาชนอพยพมาจากหลายจังหวัดและหลายภาค จึง ้ มีวฒนธรรมต่างกันบ้าง ซึ่งในตาบลดงมหาวันมีประชาชนอพยพมาจากภาคอีสานเป็ นส่วนมาก ั จึงมีวฒนธรรมเหมือนกับภาคอีสาน เช่นประเพณี บุญบังไฟ ซึ่งจัดขึ้นเป็ นประจาทุกปี โดยจะมี ั ้ การประกวดต่างๆ เช่น ประกวดขบวนแห่ ผาแดง-นางไอ่ บังไฟ เป็ นต้น ส่วนตาบลป่ าซาง ้ และตาบลทุ่งก่อมีประชาชนอพยพมาจากภาคเหนือ เช่น จังหวัดลาปาง เชียงใหม่ ลาพูน เป็ น ต้น ทาให้มวฒนธรรมเหมือนกับคนในภาคนันเช่นกัน เช่น ประเพณีสรงนาพระบาททุ่งก่อ แม้ ีั ้ ้ ประชาชนในอาเภอเวียงเชียงรุง แม้จะมีภาษาและวัฒนธรรมประเพณีทต่างกัน แต่ก็สามารถอยู่ ้ ่ี ร่วมได้อย่างสงบสุข และมีอธยาศัยทีดต่อกัน ั ่ี
  • 15. “เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้ านนา ล ้าค่าพระธาตุดอยตุง”
  • 16. จากพงศาวดารโยนกว่า พญามังรายสร้างเมืองเชียงรายขึ้น ณ ทีซงเดิมเป็ นเวียง ่ ่ึ ชัยนารายณ์ เมือ พ.ศ. 1805 และครองราชย์สมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงรายจนถึง พ.ศ. ่ 1839 จึงไปสร้างเมืองเชียงใหม่ข้ นในท้องที่ระหว่างดอยสุเทพกับ แม่นาปิ ง และ ึ ้ ครองราชย์สมบัตอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่จนถึง พ.ศ. 1860 ิ เมือพญามังรายย้ายไปครองราชย์สมบัติท่เี มืองเชียงใหม่แลว พระราชโอรสคือ ่ ้ ขุนคราม หรืออีกชื่อหนึ่งว่าพญาไชยสงคราม ก็ได้ครองราชย์สมบัติสบต่อมา นับแต่นน ื ั้ เมืองเชียงรายก็ข้นต่อเมืองเชียงใหม่ ึ
  • 17. ครันต่อมาเมือลา้ นนาตกไปอยู่ในปกครองของพม่า ในปี พ.ศ. 2101 พม่าได้ตง ้ ่ ั้ ขุนนางปกครองเมืองเชียงรายเรื่อยมา หลังจากนัน พ.ศ. 2317 เจ้ากาวิละแห่งลาปางได้ ้ สวามิภกดิ์ต่อกรุงเทพฯ ทาให้หวเมืองลา้ นนาฝ่ ายใต้ตกเป็ นประเทศราชของสยาม ขณะที่ ั ั เชียงรายและหัวเมืองลา้ นนาฝ่ ายเหนืออื่น ๆ ยังคงอยู่ใต้อานาจพม่า ลา้ นนากลายเป็ น พื้นที่แย่งชิงอานาจระหว่างสยามกับพม่า ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองเชียงรายเริ่มร้างผูคน ้ ประชาชนอพยพหนีภยสงครามไปอยู่เมืองอืน บ้างก็ถูกกวาดต้อนลงไปทางใต้ พ.ศ. 2247 ั ่ เมืองเชียงแสนฐานที่มนสุดท้ายของพม่า ถูกกองทัพเชียงใหม่ ลาปาง และน่ าน ตีแตก ั่ เมืองเชียงรายจึงกลายสภาพเป็ นเมืองร้างตามเมืองเชียงแสน ดอกไม้ประจาจังหวัด ดอกพวงแสด
  • 18. ในปี พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจ้าอยู่หวมีพระบรมราชานุ ญาตให้ ั เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟ้ ื นฟูเชียงรายขึ้นใหม่ ภายหลังเมืองเชียงรายได้เป็ นส่วนหนึ่งของ มณฑลพฤศจิกายน กระทัง่ ปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวจึงมี ั พระราชบัญญัติ ยกเชียงรายขึ้นเป็ น เมืองเชียงราย ซึ่ง "เมือง" เป็ นหน่ วยการปกครอง หนึ่งทีอยู่ถดจาก "มณฑล" ลงมา โดยเมืองเชียงรายเป็ นศูนย์กลางควบคุมเชียงแสน ฝาง ่ ั และพะเยา ภายหลัง เมือ งเชีย งรายได้เ ปลี่ย นเป็ น จัง หวัด เชีย งราย และเมื่อ วัน ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ได้แบ่งแยกพื้นทีบางส่วนทางตอนใต้ของจังหวัดจัดตังขึ้นเป็ นจังหวัด ่ ้ พะเยา จนถึงปัจจุบน ั ต้นไม้ประจาจังหวัดเชียงราย ต้นกาสะลองคา
  • 19.
  • 20. http://www.chiangrai.go.th/cpoc/2011/pages/aboutCr.aspx : วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2555 http://th.wikipedia.org/wiki : วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555 http://202.129.0.133/createweb/00000//00000-1011.html : วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555 http://www.takethaitour.com/th/tour-information : วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555 www.chiangraiinfo.com : วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555