SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง 
และ 
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของยุโรปสมัยกลาง 
เสนอ อาจารย์ ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
ปีการศึกษา 2557 ภาคเรียนที่ 1 
โรงเรียนสตรีวิทยา 
จัดทาโดย 
น.ส.ณัฐวรรณ ศิริพงศ์ปรีดา ม.6.9 เลขที่ 4 
น.ส.ลักษณาวิลัย จันท์แสนโรจน์ ม. 6.9 เลขที่ 21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของ 
คริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง 
เมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลาย ศาสนาจึงเข้ามามีบทบาทเป็น 
ผู้นา ในทางจิตวิญญาณของชาวยุโรป และสามารถมีอิทธิพล 
ครอบงา ยุโรปสมัยกลางทั้งด้านสังคม การเมือง และ 
เศรษฐกิจ
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาใน 
ยุโรปสมัยกลาง 
สังคม 
เศรษฐกิจ 
การเมือง
บทบาททางสังคม 
ในสมัยกลางสังคมยุโรปมีแต่ความวุ่นวายและความเสื่อม ผู้คนจึงหัน 
มาให้ความสนใจ และศรัทธาทางศาสนาเพราะให้ความรู้สึก ที่มั่นคง 
ทางจิตใจจึงส่งผลให้ศาสนาเผยแพร่ไปทั่วยุโรป และเข้าไปมีอิทธิพล 
ต่อวิถีชีวิต สรุปได้ดังนี้
บทบาททางสังคมของคริสต์ศาสนาที่มีต่อสังคมยุโรป 
การสถาปนาจักรพรรดิโรมัน 
ในสมัยกลาง 
ทา ให้คริสตจักรมีความสัมพันธ์กับรัฐและสร้างความเป็นธรรม 
ทางการเมืองให้แก่ศาสนจักร และเป็นการเสริมสร้างระบบการ 
บริหารที่มีประสิทธิภาพโดยศาสนจักรเป็นสถาบันที่มีอา นาจ 
สูงสุด
ค.ศ.800 พระเจ้าชาร์เลอมาญ ได้รวบรวมดินแดนในยุโรปเป็นหนึ่งเดียวได้สา เร็จ ได้รับการ 
อภิเษกจากสันตะปาปา
บทบาททางสังคมของคริสต์ศาสนาที่มีต่อสังคมยุโรป 
คริสตจักรเข้ามามีบทบาทกับวิถี 
ชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย 
ไล่ออกจากศาสนจักร หรือ บัพพาชนีกรรม 
เป็นการห้ามไม่ให้เข้าร่วมกิจกรรม ทางศาสนาทา ให้วิญญาณไม่ได้หลุดพ้น 
การตัดขาดจากศาสนาทั้งชุมชน 
เนื่องจากศาสนจักรเป็นสื่อกลางระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า 
มนุษย์จึงต้องใช้ชีวิตตามคา สั่งสอนอย่างเคร่ครัด ถ้ามี 
ความเห็นขัดแย้จะต้องถูกลงโทษ เช่น 
เท่ากับทา ให้ประชาชนในดินแดนนั้นขาดการติดต่อกับพระเจ้า และ 
ไม่ได้หลุดพ้น เป็นผลให้ประชาชนในสมัยกลางมีความเกรงกลัว 
คริสตจักร เป็นอย่างยิ่ง ทา ให้คริสตจักรมีความแข็งแกร่งมั่นคงมากขึ้น
บทบาทางการเมือง 
ระบบกษัตริย์ 
ระระบบฟิบวศาดัล 
น 
ศาสนจักรได้จัดระบบการพิจารณาคดีของ 
ศาล จึงอ้างสิทธิที่จะพิจารณาคดีทั้งทาง 
ศาสนาและทางโลก 
ศาสนจักรเข้ามามีบทบาทในการเป็นเจ้าของ 
ศาสนจักรอ้างอา นาจเหนือกษัตริย์และขุนนาง 
ในฐานะของผู้สที่ถาดินปในนาระกษับตบริฟิย์ 
วดัน
บทบาททางเศรษฐกิจ 
• ศาสนจักรเป็นแหล่งรวมความมั่นคงในสมัยกลาง เนื่องจากวัดเก็บภาษี 
โดยตรงจากประชาชน ภาษีนี้เรียกว่า tithe เก็บร้อยละ10 จากรายได้ 
ทั้งหมดของประชาชน นอกจสกนี้ยัมีรายได้อื่นๆอีก เช่น เงินบา รุง 
ศาสนา เงินและที่ดินที่มีผู้มาบริจาค
บทบาททางเศรษฐกิจ
ปัจจัยสาคัญอีกประการหนึ่งที่ทาให้ศาสนจักรมีอานาจในสมัยกลาง 
การจัดการอา นาจแบบรวมศูนย์
สันตะปาปา 
ประมุขสูงสุด 
คาร์ดินัล เป็นที่ปรึกษา 
อาร์ชบิชอบ 
ผู้ปกครองส่วนภูมิภาค 
บิชอป ผู้ปกครองระดับแขวง 
วัดหรือโบสถ์ บาทหลวงหรือพระดูแล
หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ. 476 สภาพทาง 
การเมือง เศรษฐกิจและสังคมของยุโรปตะวันตกเต็มไปด้วยความวุ่นวายจาก 
การอพยพเข้ามาของอนารยชนเผ่าต่างๆ แต่ช่วงเวลานีก้็เป็นก็เป็นช่วงเวลาของ 
การสร้างอารยธรรมใหม่ขึน้ด้วยเช่นกัน ซงึ่มีความแตกต่างจากอารยธรรมสมัย 
โบราณ นักประวัติศาสตร์เรียกประวัติศาสตร์ในช่วงนีว้่า ‘สมัยกลาง’ แบ่ง 
ออกเป็น 3 ระยะ
ระยะต้น ( ค.ศ. 476 – ประมาณ ค.ศ. 1000) 
เป็นสมัยที่มีความตกต่าทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ 
วัฒนธรรม ซงึ่นักประวัติศาสตร์เรียกช่วงเวลานีว้่า ยุคมืด (Dark 
Ages)
<<การเมือง>> 
หลังจากจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลาย ชนเผ่าเยอรมันบางกลุ่มที่เข้ามา 
ตัง้ถิ่นฐานในดินแดนจักรวรรดิโรมันมาเป็นเวลานานแล้วตัง้แต่ก่อนดินแดนจะ 
ล่มสลายก็ได้ตัง้อาณาจักรปกครองดินแดนส่วนต่างๆขึน้ได้แก่ 
1.ชนเผ่าแฟรงก์ (Frank) 
2.ชนเผ่าออสโตรกอท (Ostrogoth) 
3.ชนเผ่าลอมบาร์ด (Lombard) 
4.ชนเผ่าองโกลแซกซัน (Algo Saxon) 
5.ชนเผ่าเบอร์กันเดียน (Bergundian) 
6.ชนเผ่าวิซิกอท (Visigoth) 
7.ชนเผ่าแวนดัล (Vandal)
หลังจากช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 เป็นต้นมา อาณาจักรของชนเผ่าต่างๆเหล่านี้ 
ก็ได้ล่มสลายลง เหลือเพียงชนเผ่าแองโกลแซกซันในประเทศอังกฤษและชนเผ่า 
แฟรงก์ในฝรั่งเศสเท่านัน้ที่ยังคงรักษาอาณาจักรไว้ได้ และในช่วงเวลานี้ 
การเมืองในยุโรปตะวันตกมีความปั่นป่วนและเกิดสงครามระหว่างชนเผ่าขึน้ 
ตลอดเวลา เพราะแต่ละชนเผ่าพยายามขยายอาณาเขตของตนออกไป 
จนกระทงั่ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่7 พวกแฟรงก์ได้ผนวกดินแดนต่างๆเข้าเป็น 
ส่วนหนึ่งของอาณาจักรตน
อาณาจักรแฟรงก์มีอาณาเขตกว้างขวางที่สุดในสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอ 
มาญ พระองค์สามารถรวมดินแดนยุโรปตะวันตก ยุโรปกลาง และดินแดน 
ของอิตาลีเข้าเป็นจักรวรรดิเดียวกันได้สาเร็จเป็นครัง้แรกหลังจากการล่ม 
สลายของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาจักรพรรดิชาร์มาญได้รับการสวมมงกุฎจาก 
สันตะปาปาแห่งกรุงโรมให้เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันตะวันตกเมื่อ ค.ศ. 
800
ในยุคสมัยชองจักรพรรดิชาร์เลอมาญ 
พระองค์พยายามฟื้นฟูระบอบการปกครอง 
แบบรวมศูนย์อานาจโดยรับแนวความคิดจากคริสต์ศาสนา 
การปกครองส่วนกลางรวมศูนย์อานาจที่องค์จักรพรรดิและราชสานัก 
ส่วนการปกครองส่วนภูมิภาคจะแบ่งเป็นมณฑล โดยพระองค์ได้ส่งขุนนางไป 
ปกครอง มีอานาจสิทธิ์ขาดในแต่ละมณฑล
หลังจากจักรพรรดิชาร์เลอมาญสิน้พระชนม์ใน ค.ศ.814 
จักรวรรดิก็เริ่มแตกแยกในที่สุดหลัง ค.ศ.843 
จักรวรรดิถูกแบ่งแยกเป็น 3ส่วน 
อาณาจักร 
ฝรั่งเศส 
จักรวรรดิ 
เยอรมัน
การปกครองแบบ 
ฟิวดัล
<<เศรษฐกิจ>> 
เกษตรกรรมใช้ระบบนาโล่ง พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ คือข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต และข้าว 
บาร์เลย์ ในสมัยจักรพรรดิชาร์เลอมาญได้พยายามทานุบารุงโครงสร้างพืน้ฐาน 
ทางเศรษฐกิจ ได้แก่ สร้างสะพาน ขุดคลอง จัดระบบการพาณิชย์ กาหนด 
มาตราชั่ง ตวง วัด ผลิตเงินตรา
feudalism มาจากคาว่า fiefs หมายถึง ที่ดินที่เป็นพันธสัญญา 
ระหว่างเจ้านาย ซงึ่เป็นเจ้าของที่ดินกับผู้ใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เรียกว่า 
ข้า พวกเจ้าของที่ดินจะเป็นพวกขุนนาง เรียกว่า ลอร์ด (lord) 
ส่วนผู้ที่อยู่ใต้อานาจของขุนนางเรียกว่า วัสซัล (vassal) 
ความสาคัญของระบบฟิวดัล คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านายกับข้า 
ตามระดับชัน้จากบนลงล่าง กษัตริย์จึงเป็นเจ้านายชัน้สูงสุดของระบบ 
ที่ดินทวั่ราชอาณาจักรเป็นของกษัตริย์
KING 
ขุนนางระดับสูง 
ขุนนางระดับต่ากว่า 
=ข้า หรือ วัสสัล ของ K. 
=เจ้านาย หรือ ลอร์ด 
ของขุนนางระดับต่า กว่า 
ข้าติดดิน 
ไม่มีอานาจในการควบคุม 
ขุนนาง แต่มีให้ที่ให้ความ 
คุ้มครองขุ้นนาง 
-ส่งกาลังไปช่วย k.ในยาม 
ศึกสงคราม 
-ส่งภาษีให้ k. ตาม 
ระยะเวลากาหนด 
=ข้า หรือ วัสสัล ของ ขุนนาง 
ชั้นสูง 
=เจ้านาย หรือ ลอร์ด ของ 
ขุนนางระดับต่า กว่าลงไป
<<สังคม>> 
สงัคมในช่วงเวลาสมัยกลางตอนต้นมีความวุ่นวายมาก ขาดระเบียบวินัยและ 
ความมนั่คง สังคมเมืองแทบล่มสลาย ภาวะตกต่า ผู้คนทวั่ไปอ่าน และเขียน 
หนังสือไม่ได้ ยกเว้นพระและนักบวช 
ในช่วงเวลานีค้ริสต์ศาสนาได้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการดารงชีวิตของคนในยุค 
กลางตัง้แต่เกิดจนถึงสนิ้ชีวิตเนื่องจากสภาพความวุ่นวายในช่วงปลายสมัย 
จักรวรรดิโรมัน ทาให้ประชาชนเข้าหาที่พึ่ง คือ ศาสนา ซึ่งมีฐานะเป็นสถาบันหลัก 
ของจักรวรรดิโรมันเพียงสถาบันเดียวที่มีประสิทธิภาพและมีความเข้มแข็งแม้ 
จักรวรรดิจะล่มสลายไปแล้ว
สถาบันคริสต์ศาสนามีประมุขทางศาสนา คือ สันตะปาปา มีหน้าที่กาหนด 
นโยบายทุกอย่าง ดังนัน้เมื่อจักรวรรดิโรมันสนิ้สุดลง ศาสนจักรได้ร่วมมือกับ 
กษัตริย์ของพวกอนารยชน ทาให้รักษาความปลอดภัยไว้ได้ ศาสนจักรจึงทาหน้าที่ 
แทนจักรวรรดิโรมันในการยึดเหนี่ยวประชาชนยุโรปไว้ และรักษาวัฒนธรรมความ 
เจริญต่างๆสืบต่อมา
ระยะกลาง( ค.ศ. 1000 – ค.ศ. 1350) 
เป็นระยะเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง คริสต์ศาสนาระบบฟิวดัล 
เจริญรุ่งเรืองสูงสุด และเริ่มมีพัฒนาการหลายด้าน
<<การเมือง>> 
1.ความขัดแย้งระหว่างคริสตจักรกับจักรวรรดิ 
จักรวรรดิแฟรงก์ล่มสลายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่9 ดินแดนของ 
จักรวรรดิได้แบ่งแยกออกเป็นฝรั่งเศส เยอรมัน และอิตาลี 
ดินแดนเยอรมันมีจักรพรรดิปกครองแต่ทว่าไม่มีอานาจมากนัก 
จนในสมัยของพระเจ้าออทโทที่1 ได้ทรงปกครองเยอรมันและอิตาลี 
สันตะปาปาจอห์นที่12 จึงทรงสถาปนาพระเจ้าออทโทที่1 ขึน้เป็นจักรพรรดิ 
แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ (Holy Roman Empire) 
ในค.ศ.962 ทั้งจักรพรรดิและสันตะปาปาต่างอ้างอา นาจในการ 
ปกครองร่วมกันในจักรวรรดิ ในช่วงเวลานี้ศาสนจักรยังไม่มีอา นาจเต็มที่ 
จนกระทั่งศาสนจักรได้มีการปฏิรูปอา นาจของศาสนจักรให้มีอา นาจสูงสุด
ในที่สุดสันตะปาปาก็ทรงประกาศว่าศาสนจักรมีอา นาจเหนือ 
จักรพรรดิ ทา ให้เกดิความขัดแย้งระหว่างสันตะปาปากับจักรพรรดิขึ้น 
ประกอบกับจักรพรรดิเยอรมันทรงพยายามขยายอา นาจในดินแดนอิตาลีซึ่ง 
สันตะปาปามีอิทธิพลอยู่ จักรพรรดิเป็นฝ่ายพ่ายแพ้อา นาจของศริสตจักรที่ 
กรุงโรม การต่อสู้ดังกล่าวส่งผลให้ขุนนางแต่ละแคว้นมีอา นาจมากขึน้ ทา ให้ 
ระบบฟิวดัลมีความแข็งแกร่งเพิ่มขนึ้
สาหรับอังกฤษและฝรั่งเศส ศาสนจักรไม่ค่อยแทรกแซงการเมือง 
ภายในมากนัก สถาบันกษัตริย์พยายามเพิ่มอา นาจของตนเองในการปกครอง 
ทาให้อานาจของขุนนางลดลงไป 
ในอังกฤษเกิดความขัดแย้งระหว่างพระมหากษัตริย์กับขุนนาง ใน 
ที่สุดพระมหากษัตริย์ต้องยอมจา นนต่อคณะขุนนาง และคณะขุนนาง ได้กลาย 
มาเป็นสมาชิกรัฐสภาของอังกฤษ 
ส่วนฝรั่งเศส กษัตริย์กลับมีอา นาจเพิ่มขนึ้เรื่อยๆ จนมีอา นาจใน 
การปกครองเบ็ดเสร็จ และกลายมาเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในที่สุด
2.ระบบฟิวดัลเจริญรุ่งเรืองสูงสุด 
ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่9-10 พวกอนารยชนจากสแกนดิเนเวีย 
ที่เรียกวา่พวกไวกิง้ได้เข้ารุกรานจักรวรรดิของพวกแฟรงก์ 
ปรากฏว่าจักรวรรดิของพวกแฟรงก์ไม่มีกาลังเข้มแข็งพอ 
การป้องกันภัยจากพวกไวกิง้ตกเป็นหน้าที่ของพวกขุนนางท้องถิ่นหรือเจ้าของที่ดิน จัดตัง้ 
เป็นกองทหารป้องกันการรุกราน ทาให้ขุนนางท้องถิ่นสามารถสร้างอิทธิพลของตนเอง 
เกิดลักษณะการเมืองแบบหลายศูนย์อานาจขนึ้ ขุนนางเริ่มมีอานาจจนสามารถต่อรอง 
อานาจกับกษัตริย์ ระบบฟิวดัลได้มีการพัฒนาจนกลายเป็นระบบการเมือง เศรษฐกิจ และ 
สังคมที่สาคัญของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่11-13 แล้วเริ่มเสื่อมลงในช่วง 
คริสต์ศตวรรษที่14 และสลายตัวลงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่16
<<เศรษฐกิจ>> 
เมื่อเกิดสงครามครูเสดซึ่งเป็นสงครามระหว่างคริสต์ศาสนากับศาสนาอิสลาม 
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่11-12ผู้คนออกไปสู่โลกภายนอกทาให้เกิดความต้องการ 
สินค้า ระบบเศรษฐกิจเริ่มมีการขยายตัวอีกครัง้ โดยเฉพาะการค้าและ 
อุตสาหกรรมในหัวเมืองสาคัญในอิตาลีเช่น เวนิส เจนัว และเขตเมืองใน 
เนเธอร์แลนด์
พ่อค้าเริ่มมีการติดต่อการค้าระหว่างประเทศ การค้าทางบกมีความเจริญไม่น้อย 
ไปกว่าการค้าทางทะเล การค้าทางทะเลเริ่มมีความเจริญรุ่งเรืองขึน้เรื่อยๆ 
โดยเฉพาะในเขตทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สินค้าจากต่างแดนได้ 
แพร่สะพัดเข้ามาในยุโรป
ผลจากการขยายตัวของการค้าทาให้เกิดชุมชนการค้าและอุตสาหกรรม ส่งผลให้ 
ชาวชนบทละทิง้ที่นาเข้ามาประกอบอาชีพค้าขายหรือประกอบอาชีพผลิตสินค้า 
หัตถกรรมในเขตเมือง ทาให้สังคมเมืองมีการขยายตัว เริ่มเกิดระบบเงินตราขึน้มา 
ใหม่อีกครัง้ เพื่อใช้ในการซือ้ขายสินค้า และเกิดสมาคมอาชีพ ซงึ่แบ่งเป็นสมาคม 
พ่อค้าและสมาคมการช่าง ซงึ่เมื่อพวกนีมี้ฐานะทางการเงินมนั่คงขึน้ก็ได้มีส่วน 
สนับสนุนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อให้คุ้มครองกิจการทางเศรษฐกิจของ 
ตนเอง
<<สังคม>> 
การขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ยุติลงอีกครัง้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่13-14 
เนื่องจากเกิดสงครามร้อยปี(สงครามระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศส) และมี 
ประชากรในยุโรปเสียชีวิตเป็นจานวนมากถึง1ใน3ของประชากรทัง้ทวีป 
เนื่องจากการระบาดของกาฬโรค ทาให้เขตเมืองได้เริ่มเสื่อมลงอีกครัง้
หลังจากคริสต์ศตวรรษที่11เป็นต้นมา การขยายตัวทางการค้าและ 
อุตสาหกรรมเจริญรุ่งเรืองขึน้ โดยเฉพาะในประเทศแถบเมดิเตอร์เร- 
เนียน ทาให้เริ่มเกิดชุมชนเมืองซงึ่ไม่ได้อยู่ในสังคมฟิวดัล แต่เป็นคนรุ่น 
ใหม่ที่ดาเนินชีวิตประกอบการค้าและอุตสาหกรรม 
ผลของการค้าที่เจริญรุ่งเรืองขึน้ยังทาให้สังคมฟิวดัลและขุนนาง 
เริ่มเสื่อมอานาจลง แต่เนื่องจากสังคมเริ่มมองที่ฐานะความมนั่คงเป็น 
หลักสาคัญ พวกพ่อค้าเริ่มจึงมีอานาจมากขึน้
ในช่วงเวลานีค้ริสต์ศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองสูงสุด สันตะปาปามีฐานะเป็น 
สถาบันสากลที่เป็นระบบ เห็นได้จากชัยชนะของคริสตจักรที่เหนือกว่า 
จักรพรรดิ เป็นผลจากการครอบงาทางความเชื่อของศาสนาที่มีต่อประชาชน 
กล่าวได้ว่า ศาสนามีบทบาทสาคัญในการสร้างความเป็นอันหนึ่งอัน 
เดียวกันในยุโรป รวมประชาชนในอาณาจักรเข้าด้วยกันภายใต้กฎเกณฑ์ 
ของศาสนจักรและมีอิทธิพลต่อการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของยุโรป 
กลาง แต่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่13สถาบันศาสนาเริ่มเสื่อมลง
ระยะปลาย( ค.ศ. 1350 – ค.ศ. 1500) 
เป็นระยะเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นสมัยใหม่ ศาสนา 
ถูกลดบทบาทลง มีความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในดินแดนต่างๆ 
ของยุโรปตะวันตก ปรากฏการทางการเมืองสาคัญได้แก่ ความเสื่อม 
ของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และ การเกิดรัฐชาติขึน้ในฝรั่งเศส 
อังกฤษ และสเปน
<<การเมือง>> 
1.ความเสื่อมของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ 
การแข่งขันกันของจักรวรรดิเยอรมันแห่งจักรวรรดิโรมันกับสันตะปาปา 
แห่งคริสตจักรเนื่องมาจากการที่ทัง้จักรพรรดิเยอรมันทรงพยายาม 
รวบรวมจักรวรรดิทัง้ในดินแดนเยอรมันและอิตาลี ซงึ่ขัดกับผลประโยชน์ 
ทางการเมืองของคริสตจักรที่กรุงโรม และสันตะปาปาทรงมีความเชื่อว่า 
คริสตจักรมีอานาจเหนืออาณาจักร
สันตะปาปาเคยทรงบัพพาชนียกรรมจักรพรรดิเยอรมันหลายพระองค์และ 
สนับสนุนให้เกิดสงครามการเมืองในเยอรมันขึน้เพื่อทาลายอานาจของ 
จักรพรรดิ ผลก็คือตัง้แต่ ค.ศ.1273เป็นต้นมา จักรพรรดิกลายเป็น 
ตาแหน่งที่ไม่มีอานาจ อานาจตกเป็นของเจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ดินแดน 
เยอรมันและอิตาลีจึงแตกเป็นรัฐเล็กรัฐน้อยไม่สามรถรวมตัวกันได้ 
จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จึงกลายเป็นเพียงสัญลักษณ์ทางการเมืองของ 
ดินแดนเยอรมันเท่านัน้
2.การเกิดรัฐชาติ 
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่14 อานาจของสถาบันกษัตริย์ในยุโรปตะวันตกตกต่า 
ลง เนื่องจากขุนนางไม่ยอมอยู่ใต้อานาจ ขณะเดียวกันกษัตริย์ก็หันไปพงึ่พาพวก 
พ่อค้ามากขึน้ระบบฟิวดัลจึงเสื่อมสลายไป และเมื่อเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ ชาติ 
ก็เกิดความแตกแยก เกิดสงครามระหว่างขุนนาง เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ 
ภายในประเทศจนทาให้ขุนนางอ่อนแอลงประกอบกับได้เกิดสงครามร้อยปีระหว่าง 
อังกฤษกับฝรั่งเศสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่14-15จึงยิ่งทาให้ขุนนางเสื่อมอานาจ 
อย่างรวดเร็ว เปิดโอกาสให้กษัตริย์สามารถรวบรวมอานาจและก่อตัง้รัฐขึน้มาได้ใน 
เวลาต่อมา เกิดเป็นรัฐชาติภายใต้การนาของกษัตริย์
<<เศรษฐกิจ>> 
เศรษฐกิจในช่วงนีส้ามารถแบ่งได้เป็น2ช่วงเวลาได้แก่ 
1.ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 
2.ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 
เป็นช่วงเวลาของความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจของยุโรปทัง้ด้านเกษตรกรรม 
อุตสาหกรรม และการค้า โดยมีสาเหตุมาจากสภาวะสงครามและเกิดกาฬโรค 
ระบาดครัง้ใหญ่ในทวีปยุโรป ซงึ่ส่งผลกระทบ ทาให้ขาดแคลนอย่างรุนแรง 
เพราะประชาชนล้มตายเป็นจานวนมาก 
ระบบเศรษฐกิจได้กลับมาเจริญรุ่งเรืองอีกครัง้หนงึ่ กิจการอุตสาหกรรมได้รับการพัฒนา ซงึ่โดยส่วนใหญ่เป็นกิจการ 
ด้านช่างฝีมือ การทอผ้า และการทาเหมืองแร่ ทาให้ระบบเศรษฐกิจแบบฟิวดัลต้องเสื่อมลง ช่วงคริสต์ศตวรรษที่15 
เกิดกลุ่มนายทุนซงึ่ลงทุนในกิจการด้านต่างๆ ในช่วงปลายศตวรรษที่15 ความเจริญก้าวหน้าทางด้านการเดินเรือทา 
ให้ชาวยุโรปค้นพบดินแดนแห่งใหม่ๆซงึ่เหมาะแก่การตัง้ถิ่นฐานและเป็นแหล่งวัตถุดิบ ทาให้ชาวยุโรปอพยพไปยัง 
ดินแดนแห่งใหม่พร้อมกับยึดครองดินแดนแห่งนีเ้ป็นสถานีการค้า การขยายตัวทางการค้าและการยึดครองดินแดน 
ทาให้ชนชัน้นายทุนร่ารวยขึน้ 
แต่ชนชัน้ขุนนางและชนชัน้แรงงานต้องยากจนลง พวกนายทุนได้ให้การสนับสนุนสถาบันกษัตริย์เพื่อ 
ปกป้องคุ้มครองกิจการทางเศรษฐกิจของตน ขณะที่พวกขุนนางต้องยอมอ่อนน้อมต่อกษัตริย์และชนชัน้นายทุนขุน 
นางที่ต้องการขายที่ดินให้แก่ชนชัน้อื่นๆ จึงเริ่มมีการลงทุนในที่ดินทางด้านเกษตรกรรมเพื่อหวังผลกาไร ทาให้ 
เศรษฐกิจแบบฟิวดัลต้องยุติลงในคริสต์ศตรวรรษที่16
<<สังคม>> 
ในช่วงเวลานีสั้งคมระบบฟิวดัลและศาสนจักรเริ่มเสื่อมลงอย่างเห็นได้ชัด การ 
เกิดสังคมเมือง การค้า ทาให้เกิดสังคมชัน้กลาง(มีสถานะอยู่ระหว่างชนชัน้สูง 
และชนชัน้ล่างกับชนชัน้ชาวนา)ขึน้เป็นจานวนมาก ชนชัน้กลางต้องการ 
รัฐบาลกลางที่เข้มแข็งในการคุ้มครองทางเศรษฐกิจ ขณะเดียวกันกษัตริย์ก็ 
ต้องการการสนับสนุนจากชนชัน้กลาง ดังนัน้จึงเกิดความสัมพันธ์ระหว่างชน 
ชัน้ทัง้สองขึน้ ก่อให้เกิดลักษณะของสังคมที่เปลี่ยนไป คือ
1.สังคมระบบฟิวดัลเสื่อมสลายลง 
เนื่องจากสงครามครูเสดทาให้ขุนนางต้องออกไปทาสงครามและเสียชีวิต 
จานวนมาก และความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทาให้ขุนนางยากจนลงอีกทัง้ 
พวกข้าติดที่ดินได้หลบหนีอพยพเข้าเมืองเป็นจานวนมาก 
2.ชนชัน้กลางขึน้มามีอานาจแทนที่ชนชัน้ขุนนาง 
เนื่องจากสังคมได้เปลี่ยนค่านิยมจากเรื่องชาติกาเนิดมาเป็นฐานะทาง 
เศรษฐกิจของแต่ละบุคคล 
3.เกิดขบวนการนักวิชาการสายมนุษย์นิยมที่หันไปสนใจศึกษาอารยธรรม 
กรีกและโรมัน นักวิชาการกลุ่มนีพ้ยายามแยกกรอบความคิดทางศาสนาออก 
จากการศึกษาของตนเอง

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสดppompuy pantham
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางRose Mary
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 

Similar to อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21

พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลSom Kamonwan
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางJuno Nuttatida
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางPremo Int
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์sw110
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21 (20)

พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 

อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21