SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
บทที 5.2 แนวความคิดทางการเมือง
สมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ นและตอนกลาง



                                               1
คําถามทีท้ าทายให้ คุณตอบ
1.   แนวคิดทางการเมืองในสมัยอยุธยาเป็ นแบบใด ?
2.   เทวราชาหมายถึงแนวความคิดอย่ างไร ?
3.   แนวคิดทางการเมืองแบบเทวราชาได้ รับการสื บทอดและพัฒนาต่ อไป
     อย่ างไร ?
4.   ความสํ า เร็ จ และความล้ ม เหลวของความคิ ด ทางการเมื อ งแบบ
     เทวราชาเป็ นอย่ างไร ?
5.   รัชกาลที 5 ถึงรัชกาลที 6 ทรงมีความเห็นในเรืองรัฐธรรมนูญอย่ างไร ?
6.   แนวความคิดทางการเมืองของกลุ่มเจ้ านายและข้ าราชการ ร.ศ. 103 เป็ น
     อย่ างไร ?
7.   แนวความคิดทางการเมืองของกบฏ ร.ศ. 130 เป็ นอย่ างไร ?
                                                                     2
วัตถุประสงค์ เพือให้ นิสิต
1. สามารถสรุ ปหรืออธิบายความหมายของเทวราชาและสาเหตุทีไทย
   นําคติเทวราชามาใช้ ได้
2. อธิบายถึงลักษณะเทวราชาแบบไทยได้
3. อธิบายถึงความสํ าเร็จและความล้ มเหลวของคติเทวราชาได้
4. อธิบายถึงเหตุผลทีทําให้ คติเทวราชากับธรรมราชาผสมผสานกันได้
5. สามารถอธิ บ ายพระราชดํ า ริ ของรั ชกาลที 5 - 6 เกี ยวกั บ
   รัฐธรรมนูญ
6. อธิบายแนวความคิดทางการเมืองของกลุ่มเจ้ านายและข้ าราชการ ร.
   ศ. 103 และแนวความคิดทางการเมืองของกบฏ ร.ศ. 130 ได้
                                                            3
สมัยอยุธยา
พ.ศ. 1893 – 2310 ระยะเวลา 417 ปี

                                   4
กรุงศรีอยุธยา

                   กษัตริย์ 33 พระองค์

                         5 ราชวงศ์


อู่ทอง   สุ พรรณภูมิ     สุ โขทัย     ปราสาททอง บ้ านพลูหลวง


                เสี ยเอกราชให้ แก่ พม่ า 2 ครัCง
                                                           5
การกอบกู้เอกราชจากพม่ า


  ครัCงที 1 (พ.ศ.2112) :                    ครัCงที 2 (พ.ศ.2310) :
   พระมหินทราธิราช                            พระเจ้ าเอกทัศน์
พระนเรศวรมหาราชทรงกอบกู้เอกราช        พระเจ้ าตากสิ นทรงกอบกู้เอกราช
      คืนมาได้ เมือ พ.ศ. 2127          คืนมาได้ ในอีก 9 เดือนต่ อมา




                                                                 6
สมัยอยุธยา
                          ความคิดทางการเมือง
                               กษัตริย์

               เทวราชา                             +             ธรรมราชา

• เป็ นเรืองของประเพณีนิยม                             ไม่ ได้ กล่ าวถึงภารกิจ
• ทําให้ กษัตริย์มความศักดิHสิทธิHดุจดังเทพเจ้ า
                  ี                                    ในการสั งสอนและดูแล
• เป็ นผู้มพระราชอํานาจสู งสุ ด ใครจะละเมิดมิได้
           ี                                           ประชาชนให้ พ้นจาก
• เทวราชาไม่ มี ความใกล้ ชิดกับประชาชน                 วัฏสงสาร              7
การผสมผสานแนวคิดเทวราชาและธรรมราชาโดยไม่ มีข้อขัดแย้ ง
กันสื บเนืองมาจากเหตุผล 2 ประการคือ

 1. คนไทยนับถือศาสนาพุทธ แต่ กมีอทธิพลของพราหมณ์
                                      ็ ิ
    ปนอยู่ด้วย ดังนัCน แม้ ว่ากษัตริย์จะมีฐานะเป็ นเทพเจ้ า
    แต่ กสามารถมองเห็นเป็ นพระโพธิสัตว์ ผู้คนย่ อมให้ ความ
         ็
    เคารพ
 2. ทัCงเทวราชาและธรรมราชาล้ วนมีกศโลบายทีจะเสริมสร้ าง
                                  ุ
    พระราชอํานาจของกษัตริย์

                                                              8
เทวราชา = กษัตริย์ทเป็ นเทพเจ้ า
                   ี

   ในศาสนาพราหมณ์ ถือว่ าเทพเจ้ า
   คือพระศิวะ และพระนารายณ์ ได้
       อวตารลงมาเป็ นกษัตริย์

    กษัตริย์จึงเป็ นผู้มพระราชอํานาจ
                        ี
   สู งสุ ดเด็ดขาดเหนือทุกสิ งทุกอย่ าง
  มีความศักดิHสิทธิH ผู้ใดจะละเมิดไม่ ได้

                                            9
ความคิดเทวราชาแบบไทยเดิมอยู่ในอินเดีย ต่ อมาเมือ
อินเดียติดต่ อกับเอเซี ยอาคเนย์ ความคิดดังกล่ าวจึงแพร่
ขยายเข้ ามาในชวาและอาณาจักรโบราณต่ าง ๆ ในแหลม
อินโดจีน ไทยอาจรั บมาจากเขมรโดยตรงก็ได้ หรื ออาจจะ
รั บ จากวัฒนธรรมของพืCน เมื อ งเดิม ในบริ เวณลุ่ ม แม่ นํCา
เจ้ าพระยาโดยตรงก็ได้




                                                              10
สาเหตุทรับความคิดทางการเมืองแบบเทวราชามาใช้ ในอยุธยา
                  ี
พระรามาธิบดีที 1 (อู่ทอง)ได้ นําความคิดแบบเทวราชามาใช้ เพราะเหตุ ผล 3
ประการ
       1) เจตนารมณ์ ทางการเมืองในการประกาศตนเป็ นอิสระไม่ ยอมรั บ
อํานาจและอิทธิพลของสุ โขทัยซึงมีการปกครองแบบธรรมราชาเป็ นเอกลักษณ์
       2) การได้ รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์ บริ เวณลุ่มแม่ นํCาเจ้ าพระยา
ซึงเคยอยู่ใต้ อทธิพลของเขมรมาก่ อน
               ิ
       3) อาจได้ รับอิทธิพลจากราชสํ านักของเขมรโดยตรง

                            เทวราชา


เจตนารมณ์ ทางการเมือง อิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์ อิทธิพลจากราชสํ านักเขมร
                                                                  11
ลัก ษณะแนวคิด เทวราชาของไทยไม่ ไ ด้ เ คร่ งครั ดเหมื อ นของ
เขมรแต่ ก็ไม่ ได้ เป็ นคนธรรมดาสามัญแบบพ่ อขุนของสุ โขทัย ทัCงนีC
เพราะคนไทยยึดถือครอบครั วเป็ นหลักในการดํารงชี วิตจึงทําให้ ถือ
กษัตริย์เป็ นเหมือนผู้นําครอบครัว
     แม้ กษัตริย์จะมีฐานะเหมือนเทพเจ้ าแต่ กทรงนับถือพระรัตนตรัย
                                             ็
เช่ นเดี ย วกั บ ประชาชนทั วไป ความรู้ สึ ก จึ ง ถื อ ว่ า กษั ต ริ ย์ เ ป็ นอั น
เดียวกันกับตน คือ
ทัCงเคารพทัCงกลัว



                                                                              12
แนวคิดแบบเทวราชามิได้ ประสบความสํ าเร็ จเสมอไปเพราะ
พระมหากษัตริ ย์ผู้ทีจะมีอํานาจจริ ง ๆ ต้ องมีคุณสมบัติหลายประการ
เช่ น มีฝีมือในการรบ มีความสามารถในการบริ หารราชการแผ่ นดิน
มีพระชนมายุทียิงยืนนาน
         ตัวอย่ างเช่ น ราชวงศ์ สุพรรณภูมิ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ครองราชย์ 40 ปี และสมเด็จพระรามาธิบดีที 2 ครองราชย์ 38 ปี
         ส่ วนที มีบุ ญ ญาธิ ก ารน้ อ ย เช่ น สมเด็จ พระอาทิ ต ยวงศ์ แห่ ง
ราชวงศ์ สุโขทัย (พระร่ วง) ครองราชย์ 30 วัน ราชวงศ์ สุพรรณภูมิ
พระเจ้ าทองลัน ครองราชย์ 7 วัน และราชวงศ์ บ้านสวนพลู สมเด็จ
พระเจ้ าอุทุมพร ครองราชย์ 19 วัน
                                                                        13
ความคิดทางการเมืองแบบเทวราชาสามารถผสมผสาน
กับความคิดกับธรรมราชาได้ โดยไม่ ก่อให้ เกิดผลเสี ยหายต่ อกัน
เพราะเหตุผล 2 ประการ
      1. คนไทยมักนับถือศาสนาพุทธโดยมีศาสนาพราหมณ์
เจือปนอยู่ด้วย
      2. ทัCง 2 แนวความคิดล้ วนแต่ มีกุศโลบายทีจะเสริมสร้ าง
ราชอํานาจ ความชอบธรรม และสิ ทธิธรรมทางการเมืองของ
พระมหากษัตริย์จงสามารถให้ การเกือกูลกันได้
                  ึ              C


                                                               14
เทวราชาผสมผสานกับธรรมราชา
                        15
ครองราชย์ 15 พรรษา 2310 – 2325
    มีพระชนมายุ 48 พรรษา




                         16
ธนบุรี
                     สมเด็จพระเจ้ าตากสิ นมหาราช
          ความคิดแบบเทวราชาทีอิงหนักไปในทางธรรมราชา


  ปฏิบัตพระองค์
         ิ              ปฏิบัตพระองค์
                                ิ           ทรงยําถึงความสํ าพันธ์
                                                 C
เป็ นหัวหน้ าชุมชน        ประหนึงว่ า       เชิงญาติกบข้ าทูลละออง
                                                     ั
                        เป็ นพ่ อและครู            พระบาท


                           ภราดรภาพ                           17
อันตัวพ่อชือว่ าพระยาตาก   ทนทุกข์ ยากกู้ชาติพระศาสนา
ถวายแผ่ นดินให้ เป็ นพุทธบูชา       แด่ พระศาสดาสมณะพระพุทธโคดม
ให้ ยนยงคงถ้ วนห้ าพันปี
     ื                              สมณะพราหมณ์ ชีปฏิบตให้ พอสม
                                                           ั ิ
เจริญสมถะและวิปัสสนาพ่อชืนชม        ถวายบังคมรอยบาทพระศาสดา
คิดถึงพ่อพ่ออยู่คู่กบเจ้ า
                    ั               ชาติของเราคงอยู่คู่พระศาสนา
พระพุทธศาสนาอยู่ยงคู่องค์ กษัตรา    พระศาสดาฝากไว้ ให้ คู่กน ฯ
                                                            ั
(มโนปณิธานของพระเจ้ าตากสิ นมหาราชจารึกไว้ ทศาลวัดอรุ ณราชวราราม)
                                            ี
                                                                    18
สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ น
                                             พ.ศ. 2325 – 2394 รวม 69 ปี
                                             ตัCงแต่ รัชกาลที 1 – รัชกาลที 3
2325 - 2352   2352 - 2367    2367 - 2394
                                             สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนกลาง
                                             พ.ศ. 2394 – 2468 รวม 74 ปี
                                             ตัCงแต่ รัชกาลที 4 – รัชกาลที 6
2394 - 2411    2411 - 2453   2453 - 2468
                                                    สมัยรัตนโกสิ นทร์
                                            พ.ศ. 2468 – ปัจจุบัน รวม 82 ปี
                                            ตัCงแต่ รัชกาลที 7 – รัชกาลที 9
2468 - 2477   2477 - 2489 2489 - ปั จจุบน
                                        ั
                                                กษัตริย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญ19
สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ น
 ความคิดแบบธรรมราชา




                            20
สมัยรัชกาลที ๑                        เน้ นรู ปแบบ
                                    ก า ร บํ า เ พ็ ญ บ า ร มี ข อ ง พ ร ะ
                        โพธิสัตว◌เพือจะนําสั ตว์ โลกไปสู่ พระนิพพาน
                                    ์
                                       ทรงเน้ น อุดมการณ์ ธรรมราชา
                        เพื อชั ก จู ง คนไทยให้ ชื นชมผู้ นํ า คนใหม่
                        การขยายอาณาจักร และแข่ งขันกับพม่ าทาง
                        การเมือง
                     “ตัC ง ใจจะอุ ป ถั ม ภก ยอยกพระพุ ทธศาสนา ป องกัน
                                                                ้
                           ขอบขัณฑสี มา รักษาซึงประชาและมนตรี”
                       เสด็จพระราชสมภพ เมือวันที ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๒๗๙
 สิCนพระชนม์ เมือ พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ ๒๗ พรรษา พระชนมายุ ๗๔ พรรษา  21
สมัยรัชกาลที ๒
                         มีเจตนารมณ์ อันแน่ วแน่ ในการทํานุ
                 บํ า รุ ง พระพุ ท ธศาสนาทรงจั ด ให้ มี ก าร
                 สอบเปรี ย ญธรรม ๙ ประโยค ทรงสื บ
                 ทอดพระราชปณิธานตามเบืองพระยุคล C
                 บาทของพระราชบิดา
                             เสด็ จ พระราชสมภพ เมื อวั น ที
                 ๒ ๔ กุ ม ภ า พั น ธ์ พ . ศ . ๒ ๓ ๑ ๐
                 สิC น พ ร ะ ช น ม์ เ มื อ พ . ศ . ๒ ๓ ๖ ๗
                 ครองราชย์ ๑๕ พรรษา พระชนมายุ ๕๘
                 พรรษา                                   22
สมัยรัชกาลที ๓
                         เน้ นการค้ าขายกับยุโรป นํา
                 แพทย์ แผนใหม่ เข้ ามา เปิ ดโรงพิมพ์
                 หนังสื อพิมพ์ คนไทยได้ เรียนรู้
                 ภาษาอังกฤษเป็ นครัCงแรก
                         เสด็จพระราชสมภพ เมือวันที
                 ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๓๐ สิCนพระชนม์
                 เมือ พ.ศ. ๒๓๙๔ ครองราชย์ ๒๖ ปี
                 พระชนมายุ ๖๔ พรรษา

                                                  23
รัตนโกสิ นทร์ ตอนกลาง
  ความคิดแบบธรรมราชา         +     ความคิดแบบเทวราชา




เตรียมการปฏิรูป           ปฏิรูป           สานต่ อ     24
สมัยรัชกาลที ๔             เตรียมการปฏิรูป
                       เผชิญการคุกคามจากลัทธิจักรวรรดินิยม
                 ปรับปรุ งประเทศให้ ทนสมัย เตรียมกษัตริย์
                                        ั
                 รุ่ นใหม่ สําหรับสยาม ให้ การศึกษาแบบ
                 ตะวันตก แด่ เจ้ าฟาจุฬาลงกรณ์ เสี ยดินแดน
                                   ้
                 ครัCงแรกให้ แก่ ฝรังเศส คือเขมรทัCงประเทศ
                 ยกเว้ นพระตะบอง ศรีโสภณ และเสี ยมราฐ
                 รวมเนือทีประมาณ ๑๒๔,๐๐๐ ตร.กม.
                         C
                       เสด็จพระราชสมภพ เมือวันที ๑๘
                 ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ สิCนพระชนม์ เมือ พ.ศ.
                 ๒๔๑๑ ครองราชย์ ๑๖ ปี พระชมมายุ ๖๖
                 พรรษา (ทรงผนวช ๒๖ พรรษา)                25
สมัยรัชกาลที ๕5
 สมัยรัชกาลที         การปฏิรูปเพือให้ สยามทันสมัย
                       ทรงตัC ง ๑๒ กระทรวง ส่ งโอรสและ
                  ข้ าราชการไปศึ กษาต่ อต่ างประเทศ ทรงเลิก
                  ทาส เสี ยดิ น แดนไทยให้ แก่ ฝ รั งเศสและ
                  อังกฤษมากมาย
                       เสด็ จ พระราชสมภพ เมื อวั น ที ๒๐
                  กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ สิC นพระชนม์ เมือ พ.ศ.
                  ๒๔๕๓ ครองราชย์ ๔๒ ปี พระชมมายุ ๕๘
                  พรรษา (ครองราชย์ เมือพระชนมายุแค่ เพียง
                  ๑๕ พรรษาเท่ านัCน)

                                                      26
ยังคงเผชิญกับ เสี ยดินแดนเป็ น   ส่ งพระราชโอรส    ปฏิรูปการ
การล่ าอาณานิคม จํานวนมาก          และข้ าราชการ    ปกครอง
                                  ไปเรียนเมืองนอก

    แคว้ นสิ บสองจุไทย
                                                ตัCงกระทรวง 12
    ดินแดนฝังซ้ ายแม่ นําโขง
                         C
                                    ฝรังเศส     กระทรวง
    ดินแดนฝังขวาแม่ นําโขง
                       C
                                                ยกเลิกประเพณี
    พระตะบอง,เสี ยมราฐ,ศรีโสภณ                  ทีครําครึ
    ดินแดนเขตมลายู อังกฤษ
                                                          27
สมัยรัชกาลที ๖
             6              สานต่ อการปฏิรูป
                     เป็ นกษัตริ ย์นักเรี ยนนอกพระองค์ แรก
                 จบนายร้ อยที โรงเรี ย นทหารแซนด์ เ ฮิ ส ต์
                 และมหาวิ ท ยาลั ย อ๊ อ กฟอร์ ด ประเทศ
                 อังกฤษ มีการทดลองการปกครองระบอบ
                 ประชาธิ ป ไตย → ดุ สิ ต ธานี กบฎ ร.ศ.
                 ๑๓๐ เกิ ด สงครามโลกครัC ง ที ๑ ใน พ.ศ.
                 ๒๔๕๗
                    เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ส ม ภ พ เ มื อ วั น ที
                 ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ สิCนพระชนม์ เมือ
                 พ.ศ. ๒๔๖๘ ครองราชย์ ๑๖ ปี พระชนมายุ
                 ๔๖ พรรษา
                                                           28
พระราชดําริของรัชกาลที 5 และ 6 เกียวกับรัฐธรรมนูญ
       รั ชกาลที 5 ทรงเห็นด้ วยกับการมีรัฐธรรมนู ญแต่ ต้องพ้ น รั ช
  สมัย ของพระองค์ ไ ปแล้ ว เนื องจาก ทรงเห็ น ว่ า ประชาชนยัง ไม่ มี
  ความรู้ เพียงพอ ดังนัCน จึงควรปฏิรูปการปกครองก่ อนสิ งใดทัCงหมด
  จึงโปรดเกล้ าให้ ตCง 12 กระทรวงขึนมาเพือรองรับการปฏิรูปนัCน
                     ั             C
       รั ชกาลที 6 ทรงเห็นด้ วยกับพระราชบิดาโดยทรงเห็นว่ า การมี
  รัฐสภานัCน ประชาชนจะต้ องมีความรู้ และพร้ อมทีจะเลือกผู้แทนของ
  ตนเองเข้ าไปนังในสภาได้ ถ้ ายังไม่ พร้ อมจะเกิดผลเสี ยมากกว่ าเพราะ
  จะนําไปสู่ ความสั นคลอนสถาบันพระมหากษัตริย์
                                                                  29
แนวคิดทางการเมืองของ “กลุ่มเจ้ านายและข้ าราชการ ร.ศ. ๑๐๓”
                  และ “กบฏ ร.ศ. ๑๓๐”
         กลุ่มนีCมีความเห็นว่ า บ้ านเมืองไทยในขณะนัCน สมควรจะต้ องมี
   การปกครองโดยมีพ ระมหากษัต ริ ย์ เ ป็ นประมุ ข ต่ อ ไป แต่ จ ะต้ อ งถู ก
   จํากัดพระราชอํานาจให้ อยู่ภายใต้ บทบัญญัตแห่ งรัฐธรรมนูญ
                                               ิ
         โดยทีในระยะแรก ๆ ไม่ จําเป็ นต้ องมีรัฐสภาก็ได้ พระมหากษัตริ ย์
   ทรงมี พระราชอํา นาจสู ง สุ ด ในการวิ นิ จ ฉั ย และทรงมี พ ระบรมราช
   โองการในเรื องใด ๆ ก็ได้ โดยมอบหมายให้ ขุนนางผู้ใหญ่ รับไปปฏิบัติ
   โดยทีพระองค์ ไม่ ต้องทรงราชการนัCน ๆ ทุกอย่ างด้ วยพระองค์ เอง


                                                                      30
แนวคิดทางการเมืองของ“กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” (๒๔๕๔)
          แนวคิ ด ทางการเมื อ งของ “คณะผู้ ก่ อ การ ร.ศ.๑๓๐”มี ลั ก ษณะที
ยินยอมให้ พระมหากษัตริ ย์ยังคงดํารงตําแหน่ งพระประมุ ขของประเทศต
ต่ อไปได้ แต่ ต้องทรงใช้ พระราชอํานาจภายในขอบเขตทีรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้
          หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้ าเจ้ าอยู่หัว รัชกาลที ๖ ขึน
                                                                     C
ครองราชย์ ได้ ไม่ ถึง ๒ ปี ทรงเคยแสดงความคิดเห็นว่ า พระองค์ นิยมระบอบ
รัฐธรรมนูญ แต่ ททรงยังไม่ พระราชทาน เพราะเสนาบดีและทีปรึกษาราชการ
                   ี
ทัCงชาวอังกฤษและอเมริกาทัดทานไว้ จึงทรงตัCงดุสิตธานีเป็ นการรจําลอง
ประชาธิปไตย


                                                                     31
แนวคิดทางการเมืองของ“กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” (๒๔๕๔) (ต่อ)
         อย่ างไรก็ตามมีผู้วิจารณ์ ว่า ดุสิตธานีเป็ นเพียงการละเล่ นอย่ างหนึง
ของรั ชกาลที ๖ ทรงหาได้ ตCังใจทีจะก่ อตัCงรู ปการปกครองแบบประชาธิปไตย
อย่ างจริงจังแต่ อย่ างใดไม่
         กลุ่ ม คนบางพวกยั ง ได้ เ พ่ ง เล็ ง เข้ า ไปยั ง ราชสํ า นั ก เห็ น ว่ า มี ค วาม
ฟุ้ งเฟอ ข้ าราชการบริ หารและพระบรมวงศานุ วงศ์ บางส่ วนซึ งใกล้ ชิดสนิ ท
       ้
สนมพระเจ้ า อยู่ หั ว ก็ ท รงโปรดปรานประทานความดี ค วามชอบด้ ว ย
ยศถาบรรดาศักดิH
         ส่ วนบุ ค คลที มี ค วามรู้ ความสามารถทํ า งานในหน้ าที ตนอย่ า ง
พากเพีย รกลับ ถู กมองข้ า ม แม้ แ ต่ พ วกทีมี หน้ า ทีฟ อนรํ า ทํา เพลง ก็กลับได้
                                                            ้
ยศถาบรรดาศั กดิHและเป็ นทีโปรดปรานให้ เข้ าเฝ้ าใกล้ ชิด ความไม่ สมําเสมอ
และเป็ นธรรมดังนีC เป็ นทีวิจารณ์ กันเอิกเกริ กทัCงในพระราชสํ านั กและนอก
พระราชสํ านัก                                                                            32
แนวคิดทางการเมืองของ“กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” (๒๔๕๔) (ต่อ)
         ด้ ว ย เ ห ตุ นีC จึ ง มี ก ลุ่ ม ค น ที คิ ด ร้ า ย ห ม า ย โ ค่ น ร ะ บ อ บ
สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ เ พื อเปลี ยนรู ป แบบการปกครองมาเป็ นระบอบ
ประชาธิปไตย ซึงมีการเตรี ยมการมาตัCงแต่ ปี พ.ศ ๒๔๕๒ ก่ อนกระทําการถึง
๒ ปี
         บุคคลทีเป็ นหัวหน้ าขบวนการปฏิวัติในครัC งนีC คือ ร.อ. ขุนทวยหาญ
พิทักษ์ (เหล็ง ศรี จันทร์ ), ร.ต.เหรี ยญ ศรี จันทร์ , ร.ต. เนตร์ พูนวิวัฒน์ ,
ร.ต. จรู ญ ษตะเมษ, ร.ท จรู ญ ณ บางช้ าง, ร.ต.เจือ ศิลาอาสน์ และมีนายทหาร
หนุ่ มจากกองทัพ บกอีกหลายคน และพลเรื อนอีกจํ านวนหนึ งร่ วมมื อด้ วย
         รวมผู้คดก่ อการทัCงสิCน ๙๑ คน โดยกําหนดเอาวันที ๑ มีนาคม ๒๔๕๔
                  ิ
เป็ นวันกระทําการ ซึ งวันนัCนพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว รั ชกาลที ๖ เสด็จ
กลับจากการซ้ อมรบจากพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
                                                                                   33
แนวคิดทางการเมืองของ“กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” (๒๔๕๔) (ต่อ)
          ในทีสุ ดพวกก่ อการกบฏต่ อพระราชบัลลังก์ ก็ได้ รับโทษานุ โทษ แต่
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุ ณาธิคุณโปรดเกล้ าฯ แทนทีจะทํา
การประหารชี วิตกลุ่มกบฏเหล่ านัCน กลับได้ รับการลดหย่ อนผ่ อนโทษลงมา
เป็ นแต่ เพียงจําคุกตลอดชีวตเท่ านัCน
                            ิ
          ถึงแม้ การคิดปฏิวัติของกลุ่มทหารหนุ่ มจะกลายเป็ นโศกนาฏกรรม
ย้ อนมาเล่ นงานตนเองในทีสุ ด แต่ การกบฏครัC งนีCสะท้ อนให้ เห็นว่ า .... การคิด
ล้ มล้ างระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ นCัน ได้ แพร่ หลายมากขึนและก่ อให้ เกิด
                                                             C
กลุ่มทีจะดําเนินการอย่ างจริงจังขึนมา
                                  C


                                                                            34
หัวหน้ าขบวนการปฏิวตในครัCงนีC คือ
                                  ั ิ
            ร.อ. ขุนทวยหาญพิทกษ์ (เหล็ง ศรีจนทร์ )
                             ั               ั



พ.ศ. ๒๔๕๔




                                                     35
การเรียกร้ องต้ องการรัฐธรรมนูญของกลุ่มเจ้ านาย
          และข้ าราชการในร.ศ. ๑๐๓ (๒๔๒๗)
        เป็ นปี ที ๑๗ ของการครองราชย์ ของพระบาทสมเด็จพระ
จุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ มีเ จ้ า นายและข้ า ราชการ จํ า นวนหนึ งที รั บ
ราชการ ณ สถานทูตไทย ณ กรุ งลอนดอน และกรุ งปารี ส ได้ ร่วมกันลง
ชือในเอกสารกราบบังคมทูลความเห็นจัดการเปลียนแปลงการปกครอง
ราชการแผ่ นดิน ร.ศ. ๑๐๓ ทูลเกล้ าฯ ถวาย ณ วันพฤหัสบดี แรม ๘ คํา
เดือน ๒ ปี วอก ฉอศอ ศักราช ๑๒๔ ตรงกับวันที ๙ เดือนมกราคม พ.ศ.
๒๔๒๗

                                                                               36
เจ้ านายและข้ าราชการทีจัดทําหนังสื อกราบบังคมทูลความเห็นครัCงนัCน มีพระนาม
ชือปรากฏอยู่ท้ายเอกสาร ได้ แก่
1. พระเจ้ าน้ องยาเธอ กรมหมืนนเรศร์ วรฤทธิH (พระเจ้ าบรมวงเธอกรมพระนเรศร์ วรฤทธิH )
2. พระเจ้ าน้ องยาเธอพระองค์ เจ้ าโสณบัณฑิต (พระเจ้ าบรมวง เธอกรมหมืนพิทยลาภพฤฒิ
ธาดา)
3. สมเด็จพระเจ้ าน้ องยาเธอ พระองค์ เจ้ าสวัสดิโสภณ (สมเด็จกรมพระสวัสดิHวฒน วิศิษฏ์ )
                                                                            ั
4. พระองค์ เจ้ าปฤษฎางค์ (พระวรวงศ์ เธอพระองค์ เจ้ าปฤษฎางค์ )
5.นายนกแก้ ว คชเสนี {พระยามหาโยธา)
6. หลวงเดชนายเวร(สุ่ น สาตราภัย ต่ อมาเลือนบรรดาศักดิHเป็ นพระยาอภัยพิพธ) ิ
7. บุศย์ เพ็ญกุล (จมืนไวยวรนาถ)
8. ขุนปฏิภาณพิจิตร (หุ่น)
9. หลวงวิเสศสาลี (นาค)
10. นายเปลียน
11. สั ปเลฟเตอร์ แนนสะอาด                                                          37
แนวคิดทางการเมืองแบบจํากัดพระราชอํานาจของ
                 พระมหากษัตริย์
      หมายถึง ให้ พระมหากษัตริ ย์ใช้ อํานาจด้ านบริ หาร นิ ติบัญญัติ และ
ตุลาการโดยผ่ านทางคณะรั ฐมนตรี รั ฐสภา และผู้พิพากษาตามลําดับโดย
อํานาจอธิปไตยทีแท้ จริงจะต้ องเป็ นของปวงชน
      เหตุผลทีมีแนวความคิดเช่ นนีเC พราะ
      1. อิท ธิ พ ลของลัท ธิ จั ก รวรรดิ นิ ย มตะวั น ตกที ขยายอํา นาจมาทาง
เอเซียทําให้ ต้องปฏิรูปการปกครองให้ ทนสมัยเพือรับมือกับลัทธิดังกล่ าว
                                           ั
      2. ความก้ าวหน้ าทางด้ านสติปัญญาของข้ าราชการไทยทีไปศึ กษาต่ อ
ในตะวันตกจึงต้ องการเปลียนแปลงระบบการเมืองการปกครองของไทยให้
เจริญก้ าวหน้ าเหมือนอย่ างตะวันตก                                       38
ความคิดเห็นทางการเมือง
                 รัตนโกสิ นทร์ ตอนกลาง

  ธรรมราชา                   +                เทวราชา

กษัตริย์เสมือนพระโพธิสัตว์       กษัตริย์ต้องเป็ นผู้นําประชาชน
พาชาติให้ พ้นภัย                 ต่ อสู้ กบการล่ าอาณานิคม
                                          ั
                                                           39
สรุป
    สมัยอยุธยา มีรูปแบบการปกครองแบบเทวราชาผสมกับธรรม
ราชา ราษฎรเคารพพระราชาในฐานะผู้นําครอบครัวทีนับถือพระ
รัตนตรัยร่ วมกัน
     สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ นและตอนกลาง มีรูปแบบการปกครอง
แบบเทวราชาทีเน้ นหนักไปในทางธรรมราชาแบบพระโพธิสัตว์
พระมหากษัตริย์มหน้ าทีคุ้มครองปองกันและนําพาราษฎรให้ หลุด
                ี              ้
พ้ นจากวัฏฏสงสาร

                                                             40
41

More Related Content

What's hot

ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัยchakaew4524
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 

What's hot (20)

ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 

Similar to อยุธยา

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of stateKatawutPK
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
9789740335542
97897403355429789740335542
9789740335542CUPress
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to อยุธยา (20)

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
9789740335542
97897403355429789740335542
9789740335542
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
History of Thailand
History of ThailandHistory of Thailand
History of Thailand
 
History of Thailand
History of ThailandHistory of Thailand
History of Thailand
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 

อยุธยา

  • 2. คําถามทีท้ าทายให้ คุณตอบ 1. แนวคิดทางการเมืองในสมัยอยุธยาเป็ นแบบใด ? 2. เทวราชาหมายถึงแนวความคิดอย่ างไร ? 3. แนวคิดทางการเมืองแบบเทวราชาได้ รับการสื บทอดและพัฒนาต่ อไป อย่ างไร ? 4. ความสํ า เร็ จ และความล้ ม เหลวของความคิ ด ทางการเมื อ งแบบ เทวราชาเป็ นอย่ างไร ? 5. รัชกาลที 5 ถึงรัชกาลที 6 ทรงมีความเห็นในเรืองรัฐธรรมนูญอย่ างไร ? 6. แนวความคิดทางการเมืองของกลุ่มเจ้ านายและข้ าราชการ ร.ศ. 103 เป็ น อย่ างไร ? 7. แนวความคิดทางการเมืองของกบฏ ร.ศ. 130 เป็ นอย่ างไร ? 2
  • 3. วัตถุประสงค์ เพือให้ นิสิต 1. สามารถสรุ ปหรืออธิบายความหมายของเทวราชาและสาเหตุทีไทย นําคติเทวราชามาใช้ ได้ 2. อธิบายถึงลักษณะเทวราชาแบบไทยได้ 3. อธิบายถึงความสํ าเร็จและความล้ มเหลวของคติเทวราชาได้ 4. อธิบายถึงเหตุผลทีทําให้ คติเทวราชากับธรรมราชาผสมผสานกันได้ 5. สามารถอธิ บ ายพระราชดํ า ริ ของรั ชกาลที 5 - 6 เกี ยวกั บ รัฐธรรมนูญ 6. อธิบายแนวความคิดทางการเมืองของกลุ่มเจ้ านายและข้ าราชการ ร. ศ. 103 และแนวความคิดทางการเมืองของกบฏ ร.ศ. 130 ได้ 3
  • 4. สมัยอยุธยา พ.ศ. 1893 – 2310 ระยะเวลา 417 ปี 4
  • 5. กรุงศรีอยุธยา กษัตริย์ 33 พระองค์ 5 ราชวงศ์ อู่ทอง สุ พรรณภูมิ สุ โขทัย ปราสาททอง บ้ านพลูหลวง เสี ยเอกราชให้ แก่ พม่ า 2 ครัCง 5
  • 6. การกอบกู้เอกราชจากพม่ า ครัCงที 1 (พ.ศ.2112) : ครัCงที 2 (พ.ศ.2310) : พระมหินทราธิราช พระเจ้ าเอกทัศน์ พระนเรศวรมหาราชทรงกอบกู้เอกราช พระเจ้ าตากสิ นทรงกอบกู้เอกราช คืนมาได้ เมือ พ.ศ. 2127 คืนมาได้ ในอีก 9 เดือนต่ อมา 6
  • 7. สมัยอยุธยา ความคิดทางการเมือง กษัตริย์ เทวราชา + ธรรมราชา • เป็ นเรืองของประเพณีนิยม ไม่ ได้ กล่ าวถึงภารกิจ • ทําให้ กษัตริย์มความศักดิHสิทธิHดุจดังเทพเจ้ า ี ในการสั งสอนและดูแล • เป็ นผู้มพระราชอํานาจสู งสุ ด ใครจะละเมิดมิได้ ี ประชาชนให้ พ้นจาก • เทวราชาไม่ มี ความใกล้ ชิดกับประชาชน วัฏสงสาร 7
  • 8. การผสมผสานแนวคิดเทวราชาและธรรมราชาโดยไม่ มีข้อขัดแย้ ง กันสื บเนืองมาจากเหตุผล 2 ประการคือ 1. คนไทยนับถือศาสนาพุทธ แต่ กมีอทธิพลของพราหมณ์ ็ ิ ปนอยู่ด้วย ดังนัCน แม้ ว่ากษัตริย์จะมีฐานะเป็ นเทพเจ้ า แต่ กสามารถมองเห็นเป็ นพระโพธิสัตว์ ผู้คนย่ อมให้ ความ ็ เคารพ 2. ทัCงเทวราชาและธรรมราชาล้ วนมีกศโลบายทีจะเสริมสร้ าง ุ พระราชอํานาจของกษัตริย์ 8
  • 9. เทวราชา = กษัตริย์ทเป็ นเทพเจ้ า ี ในศาสนาพราหมณ์ ถือว่ าเทพเจ้ า คือพระศิวะ และพระนารายณ์ ได้ อวตารลงมาเป็ นกษัตริย์ กษัตริย์จึงเป็ นผู้มพระราชอํานาจ ี สู งสุ ดเด็ดขาดเหนือทุกสิ งทุกอย่ าง มีความศักดิHสิทธิH ผู้ใดจะละเมิดไม่ ได้ 9
  • 10. ความคิดเทวราชาแบบไทยเดิมอยู่ในอินเดีย ต่ อมาเมือ อินเดียติดต่ อกับเอเซี ยอาคเนย์ ความคิดดังกล่ าวจึงแพร่ ขยายเข้ ามาในชวาและอาณาจักรโบราณต่ าง ๆ ในแหลม อินโดจีน ไทยอาจรั บมาจากเขมรโดยตรงก็ได้ หรื ออาจจะ รั บ จากวัฒนธรรมของพืCน เมื อ งเดิม ในบริ เวณลุ่ ม แม่ นํCา เจ้ าพระยาโดยตรงก็ได้ 10
  • 11. สาเหตุทรับความคิดทางการเมืองแบบเทวราชามาใช้ ในอยุธยา ี พระรามาธิบดีที 1 (อู่ทอง)ได้ นําความคิดแบบเทวราชามาใช้ เพราะเหตุ ผล 3 ประการ 1) เจตนารมณ์ ทางการเมืองในการประกาศตนเป็ นอิสระไม่ ยอมรั บ อํานาจและอิทธิพลของสุ โขทัยซึงมีการปกครองแบบธรรมราชาเป็ นเอกลักษณ์ 2) การได้ รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์ บริ เวณลุ่มแม่ นํCาเจ้ าพระยา ซึงเคยอยู่ใต้ อทธิพลของเขมรมาก่ อน ิ 3) อาจได้ รับอิทธิพลจากราชสํ านักของเขมรโดยตรง เทวราชา เจตนารมณ์ ทางการเมือง อิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์ อิทธิพลจากราชสํ านักเขมร 11
  • 12. ลัก ษณะแนวคิด เทวราชาของไทยไม่ ไ ด้ เ คร่ งครั ดเหมื อ นของ เขมรแต่ ก็ไม่ ได้ เป็ นคนธรรมดาสามัญแบบพ่ อขุนของสุ โขทัย ทัCงนีC เพราะคนไทยยึดถือครอบครั วเป็ นหลักในการดํารงชี วิตจึงทําให้ ถือ กษัตริย์เป็ นเหมือนผู้นําครอบครัว แม้ กษัตริย์จะมีฐานะเหมือนเทพเจ้ าแต่ กทรงนับถือพระรัตนตรัย ็ เช่ นเดี ย วกั บ ประชาชนทั วไป ความรู้ สึ ก จึ ง ถื อ ว่ า กษั ต ริ ย์ เ ป็ นอั น เดียวกันกับตน คือ ทัCงเคารพทัCงกลัว 12
  • 13. แนวคิดแบบเทวราชามิได้ ประสบความสํ าเร็ จเสมอไปเพราะ พระมหากษัตริ ย์ผู้ทีจะมีอํานาจจริ ง ๆ ต้ องมีคุณสมบัติหลายประการ เช่ น มีฝีมือในการรบ มีความสามารถในการบริ หารราชการแผ่ นดิน มีพระชนมายุทียิงยืนนาน ตัวอย่ างเช่ น ราชวงศ์ สุพรรณภูมิ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ครองราชย์ 40 ปี และสมเด็จพระรามาธิบดีที 2 ครองราชย์ 38 ปี ส่ วนที มีบุ ญ ญาธิ ก ารน้ อ ย เช่ น สมเด็จ พระอาทิ ต ยวงศ์ แห่ ง ราชวงศ์ สุโขทัย (พระร่ วง) ครองราชย์ 30 วัน ราชวงศ์ สุพรรณภูมิ พระเจ้ าทองลัน ครองราชย์ 7 วัน และราชวงศ์ บ้านสวนพลู สมเด็จ พระเจ้ าอุทุมพร ครองราชย์ 19 วัน 13
  • 14. ความคิดทางการเมืองแบบเทวราชาสามารถผสมผสาน กับความคิดกับธรรมราชาได้ โดยไม่ ก่อให้ เกิดผลเสี ยหายต่ อกัน เพราะเหตุผล 2 ประการ 1. คนไทยมักนับถือศาสนาพุทธโดยมีศาสนาพราหมณ์ เจือปนอยู่ด้วย 2. ทัCง 2 แนวความคิดล้ วนแต่ มีกุศโลบายทีจะเสริมสร้ าง ราชอํานาจ ความชอบธรรม และสิ ทธิธรรมทางการเมืองของ พระมหากษัตริย์จงสามารถให้ การเกือกูลกันได้ ึ C 14
  • 16. ครองราชย์ 15 พรรษา 2310 – 2325 มีพระชนมายุ 48 พรรษา 16
  • 17. ธนบุรี สมเด็จพระเจ้ าตากสิ นมหาราช ความคิดแบบเทวราชาทีอิงหนักไปในทางธรรมราชา ปฏิบัตพระองค์ ิ ปฏิบัตพระองค์ ิ ทรงยําถึงความสํ าพันธ์ C เป็ นหัวหน้ าชุมชน ประหนึงว่ า เชิงญาติกบข้ าทูลละออง ั เป็ นพ่ อและครู พระบาท ภราดรภาพ 17
  • 18. อันตัวพ่อชือว่ าพระยาตาก ทนทุกข์ ยากกู้ชาติพระศาสนา ถวายแผ่ นดินให้ เป็ นพุทธบูชา แด่ พระศาสดาสมณะพระพุทธโคดม ให้ ยนยงคงถ้ วนห้ าพันปี ื สมณะพราหมณ์ ชีปฏิบตให้ พอสม ั ิ เจริญสมถะและวิปัสสนาพ่อชืนชม ถวายบังคมรอยบาทพระศาสดา คิดถึงพ่อพ่ออยู่คู่กบเจ้ า ั ชาติของเราคงอยู่คู่พระศาสนา พระพุทธศาสนาอยู่ยงคู่องค์ กษัตรา พระศาสดาฝากไว้ ให้ คู่กน ฯ ั (มโนปณิธานของพระเจ้ าตากสิ นมหาราชจารึกไว้ ทศาลวัดอรุ ณราชวราราม) ี 18
  • 19. สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ น พ.ศ. 2325 – 2394 รวม 69 ปี ตัCงแต่ รัชกาลที 1 – รัชกาลที 3 2325 - 2352 2352 - 2367 2367 - 2394 สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนกลาง พ.ศ. 2394 – 2468 รวม 74 ปี ตัCงแต่ รัชกาลที 4 – รัชกาลที 6 2394 - 2411 2411 - 2453 2453 - 2468 สมัยรัตนโกสิ นทร์ พ.ศ. 2468 – ปัจจุบัน รวม 82 ปี ตัCงแต่ รัชกาลที 7 – รัชกาลที 9 2468 - 2477 2477 - 2489 2489 - ปั จจุบน ั กษัตริย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญ19
  • 20. สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ น ความคิดแบบธรรมราชา 20
  • 21. สมัยรัชกาลที ๑ เน้ นรู ปแบบ ก า ร บํ า เ พ็ ญ บ า ร มี ข อ ง พ ร ะ โพธิสัตว◌เพือจะนําสั ตว์ โลกไปสู่ พระนิพพาน ์ ทรงเน้ น อุดมการณ์ ธรรมราชา เพื อชั ก จู ง คนไทยให้ ชื นชมผู้ นํ า คนใหม่ การขยายอาณาจักร และแข่ งขันกับพม่ าทาง การเมือง “ตัC ง ใจจะอุ ป ถั ม ภก ยอยกพระพุ ทธศาสนา ป องกัน ้ ขอบขัณฑสี มา รักษาซึงประชาและมนตรี” เสด็จพระราชสมภพ เมือวันที ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๒๗๙ สิCนพระชนม์ เมือ พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ ๒๗ พรรษา พระชนมายุ ๗๔ พรรษา 21
  • 22. สมัยรัชกาลที ๒ มีเจตนารมณ์ อันแน่ วแน่ ในการทํานุ บํ า รุ ง พระพุ ท ธศาสนาทรงจั ด ให้ มี ก าร สอบเปรี ย ญธรรม ๙ ประโยค ทรงสื บ ทอดพระราชปณิธานตามเบืองพระยุคล C บาทของพระราชบิดา เสด็ จ พระราชสมภพ เมื อวั น ที ๒ ๔ กุ ม ภ า พั น ธ์ พ . ศ . ๒ ๓ ๑ ๐ สิC น พ ร ะ ช น ม์ เ มื อ พ . ศ . ๒ ๓ ๖ ๗ ครองราชย์ ๑๕ พรรษา พระชนมายุ ๕๘ พรรษา 22
  • 23. สมัยรัชกาลที ๓ เน้ นการค้ าขายกับยุโรป นํา แพทย์ แผนใหม่ เข้ ามา เปิ ดโรงพิมพ์ หนังสื อพิมพ์ คนไทยได้ เรียนรู้ ภาษาอังกฤษเป็ นครัCงแรก เสด็จพระราชสมภพ เมือวันที ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๓๐ สิCนพระชนม์ เมือ พ.ศ. ๒๓๙๔ ครองราชย์ ๒๖ ปี พระชนมายุ ๖๔ พรรษา 23
  • 24. รัตนโกสิ นทร์ ตอนกลาง ความคิดแบบธรรมราชา + ความคิดแบบเทวราชา เตรียมการปฏิรูป ปฏิรูป สานต่ อ 24
  • 25. สมัยรัชกาลที ๔ เตรียมการปฏิรูป เผชิญการคุกคามจากลัทธิจักรวรรดินิยม ปรับปรุ งประเทศให้ ทนสมัย เตรียมกษัตริย์ ั รุ่ นใหม่ สําหรับสยาม ให้ การศึกษาแบบ ตะวันตก แด่ เจ้ าฟาจุฬาลงกรณ์ เสี ยดินแดน ้ ครัCงแรกให้ แก่ ฝรังเศส คือเขมรทัCงประเทศ ยกเว้ นพระตะบอง ศรีโสภณ และเสี ยมราฐ รวมเนือทีประมาณ ๑๒๔,๐๐๐ ตร.กม. C เสด็จพระราชสมภพ เมือวันที ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ สิCนพระชนม์ เมือ พ.ศ. ๒๔๑๑ ครองราชย์ ๑๖ ปี พระชมมายุ ๖๖ พรรษา (ทรงผนวช ๒๖ พรรษา) 25
  • 26. สมัยรัชกาลที ๕5 สมัยรัชกาลที การปฏิรูปเพือให้ สยามทันสมัย ทรงตัC ง ๑๒ กระทรวง ส่ งโอรสและ ข้ าราชการไปศึ กษาต่ อต่ างประเทศ ทรงเลิก ทาส เสี ยดิ น แดนไทยให้ แก่ ฝ รั งเศสและ อังกฤษมากมาย เสด็ จ พระราชสมภพ เมื อวั น ที ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ สิC นพระชนม์ เมือ พ.ศ. ๒๔๕๓ ครองราชย์ ๔๒ ปี พระชมมายุ ๕๘ พรรษา (ครองราชย์ เมือพระชนมายุแค่ เพียง ๑๕ พรรษาเท่ านัCน) 26
  • 27. ยังคงเผชิญกับ เสี ยดินแดนเป็ น ส่ งพระราชโอรส ปฏิรูปการ การล่ าอาณานิคม จํานวนมาก และข้ าราชการ ปกครอง ไปเรียนเมืองนอก แคว้ นสิ บสองจุไทย ตัCงกระทรวง 12 ดินแดนฝังซ้ ายแม่ นําโขง C ฝรังเศส กระทรวง ดินแดนฝังขวาแม่ นําโขง C ยกเลิกประเพณี พระตะบอง,เสี ยมราฐ,ศรีโสภณ ทีครําครึ ดินแดนเขตมลายู อังกฤษ 27
  • 28. สมัยรัชกาลที ๖ 6 สานต่ อการปฏิรูป เป็ นกษัตริ ย์นักเรี ยนนอกพระองค์ แรก จบนายร้ อยที โรงเรี ย นทหารแซนด์ เ ฮิ ส ต์ และมหาวิ ท ยาลั ย อ๊ อ กฟอร์ ด ประเทศ อังกฤษ มีการทดลองการปกครองระบอบ ประชาธิ ป ไตย → ดุ สิ ต ธานี กบฎ ร.ศ. ๑๓๐ เกิ ด สงครามโลกครัC ง ที ๑ ใน พ.ศ. ๒๔๕๗ เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ส ม ภ พ เ มื อ วั น ที ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ สิCนพระชนม์ เมือ พ.ศ. ๒๔๖๘ ครองราชย์ ๑๖ ปี พระชนมายุ ๔๖ พรรษา 28
  • 29. พระราชดําริของรัชกาลที 5 และ 6 เกียวกับรัฐธรรมนูญ รั ชกาลที 5 ทรงเห็นด้ วยกับการมีรัฐธรรมนู ญแต่ ต้องพ้ น รั ช สมัย ของพระองค์ ไ ปแล้ ว เนื องจาก ทรงเห็ น ว่ า ประชาชนยัง ไม่ มี ความรู้ เพียงพอ ดังนัCน จึงควรปฏิรูปการปกครองก่ อนสิ งใดทัCงหมด จึงโปรดเกล้ าให้ ตCง 12 กระทรวงขึนมาเพือรองรับการปฏิรูปนัCน ั C รั ชกาลที 6 ทรงเห็นด้ วยกับพระราชบิดาโดยทรงเห็นว่ า การมี รัฐสภานัCน ประชาชนจะต้ องมีความรู้ และพร้ อมทีจะเลือกผู้แทนของ ตนเองเข้ าไปนังในสภาได้ ถ้ ายังไม่ พร้ อมจะเกิดผลเสี ยมากกว่ าเพราะ จะนําไปสู่ ความสั นคลอนสถาบันพระมหากษัตริย์ 29
  • 30. แนวคิดทางการเมืองของ “กลุ่มเจ้ านายและข้ าราชการ ร.ศ. ๑๐๓” และ “กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” กลุ่มนีCมีความเห็นว่ า บ้ านเมืองไทยในขณะนัCน สมควรจะต้ องมี การปกครองโดยมีพ ระมหากษัต ริ ย์ เ ป็ นประมุ ข ต่ อ ไป แต่ จ ะต้ อ งถู ก จํากัดพระราชอํานาจให้ อยู่ภายใต้ บทบัญญัตแห่ งรัฐธรรมนูญ ิ โดยทีในระยะแรก ๆ ไม่ จําเป็ นต้ องมีรัฐสภาก็ได้ พระมหากษัตริ ย์ ทรงมี พระราชอํา นาจสู ง สุ ด ในการวิ นิ จ ฉั ย และทรงมี พ ระบรมราช โองการในเรื องใด ๆ ก็ได้ โดยมอบหมายให้ ขุนนางผู้ใหญ่ รับไปปฏิบัติ โดยทีพระองค์ ไม่ ต้องทรงราชการนัCน ๆ ทุกอย่ างด้ วยพระองค์ เอง 30
  • 31. แนวคิดทางการเมืองของ“กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” (๒๔๕๔) แนวคิ ด ทางการเมื อ งของ “คณะผู้ ก่ อ การ ร.ศ.๑๓๐”มี ลั ก ษณะที ยินยอมให้ พระมหากษัตริ ย์ยังคงดํารงตําแหน่ งพระประมุ ขของประเทศต ต่ อไปได้ แต่ ต้องทรงใช้ พระราชอํานาจภายในขอบเขตทีรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้ าเจ้ าอยู่หัว รัชกาลที ๖ ขึน C ครองราชย์ ได้ ไม่ ถึง ๒ ปี ทรงเคยแสดงความคิดเห็นว่ า พระองค์ นิยมระบอบ รัฐธรรมนูญ แต่ ททรงยังไม่ พระราชทาน เพราะเสนาบดีและทีปรึกษาราชการ ี ทัCงชาวอังกฤษและอเมริกาทัดทานไว้ จึงทรงตัCงดุสิตธานีเป็ นการรจําลอง ประชาธิปไตย 31
  • 32. แนวคิดทางการเมืองของ“กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” (๒๔๕๔) (ต่อ) อย่ างไรก็ตามมีผู้วิจารณ์ ว่า ดุสิตธานีเป็ นเพียงการละเล่ นอย่ างหนึง ของรั ชกาลที ๖ ทรงหาได้ ตCังใจทีจะก่ อตัCงรู ปการปกครองแบบประชาธิปไตย อย่ างจริงจังแต่ อย่ างใดไม่ กลุ่ ม คนบางพวกยั ง ได้ เ พ่ ง เล็ ง เข้ า ไปยั ง ราชสํ า นั ก เห็ น ว่ า มี ค วาม ฟุ้ งเฟอ ข้ าราชการบริ หารและพระบรมวงศานุ วงศ์ บางส่ วนซึ งใกล้ ชิดสนิ ท ้ สนมพระเจ้ า อยู่ หั ว ก็ ท รงโปรดปรานประทานความดี ค วามชอบด้ ว ย ยศถาบรรดาศักดิH ส่ วนบุ ค คลที มี ค วามรู้ ความสามารถทํ า งานในหน้ าที ตนอย่ า ง พากเพีย รกลับ ถู กมองข้ า ม แม้ แ ต่ พ วกทีมี หน้ า ทีฟ อนรํ า ทํา เพลง ก็กลับได้ ้ ยศถาบรรดาศั กดิHและเป็ นทีโปรดปรานให้ เข้ าเฝ้ าใกล้ ชิด ความไม่ สมําเสมอ และเป็ นธรรมดังนีC เป็ นทีวิจารณ์ กันเอิกเกริ กทัCงในพระราชสํ านั กและนอก พระราชสํ านัก 32
  • 33. แนวคิดทางการเมืองของ“กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” (๒๔๕๔) (ต่อ) ด้ ว ย เ ห ตุ นีC จึ ง มี ก ลุ่ ม ค น ที คิ ด ร้ า ย ห ม า ย โ ค่ น ร ะ บ อ บ สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ เ พื อเปลี ยนรู ป แบบการปกครองมาเป็ นระบอบ ประชาธิปไตย ซึงมีการเตรี ยมการมาตัCงแต่ ปี พ.ศ ๒๔๕๒ ก่ อนกระทําการถึง ๒ ปี บุคคลทีเป็ นหัวหน้ าขบวนการปฏิวัติในครัC งนีC คือ ร.อ. ขุนทวยหาญ พิทักษ์ (เหล็ง ศรี จันทร์ ), ร.ต.เหรี ยญ ศรี จันทร์ , ร.ต. เนตร์ พูนวิวัฒน์ , ร.ต. จรู ญ ษตะเมษ, ร.ท จรู ญ ณ บางช้ าง, ร.ต.เจือ ศิลาอาสน์ และมีนายทหาร หนุ่ มจากกองทัพ บกอีกหลายคน และพลเรื อนอีกจํ านวนหนึ งร่ วมมื อด้ วย รวมผู้คดก่ อการทัCงสิCน ๙๑ คน โดยกําหนดเอาวันที ๑ มีนาคม ๒๔๕๔ ิ เป็ นวันกระทําการ ซึ งวันนัCนพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว รั ชกาลที ๖ เสด็จ กลับจากการซ้ อมรบจากพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 33
  • 34. แนวคิดทางการเมืองของ“กบฏ ร.ศ. ๑๓๐” (๒๔๕๔) (ต่อ) ในทีสุ ดพวกก่ อการกบฏต่ อพระราชบัลลังก์ ก็ได้ รับโทษานุ โทษ แต่ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุ ณาธิคุณโปรดเกล้ าฯ แทนทีจะทํา การประหารชี วิตกลุ่มกบฏเหล่ านัCน กลับได้ รับการลดหย่ อนผ่ อนโทษลงมา เป็ นแต่ เพียงจําคุกตลอดชีวตเท่ านัCน ิ ถึงแม้ การคิดปฏิวัติของกลุ่มทหารหนุ่ มจะกลายเป็ นโศกนาฏกรรม ย้ อนมาเล่ นงานตนเองในทีสุ ด แต่ การกบฏครัC งนีCสะท้ อนให้ เห็นว่ า .... การคิด ล้ มล้ างระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ นCัน ได้ แพร่ หลายมากขึนและก่ อให้ เกิด C กลุ่มทีจะดําเนินการอย่ างจริงจังขึนมา C 34
  • 35. หัวหน้ าขบวนการปฏิวตในครัCงนีC คือ ั ิ ร.อ. ขุนทวยหาญพิทกษ์ (เหล็ง ศรีจนทร์ ) ั ั พ.ศ. ๒๔๕๔ 35
  • 36. การเรียกร้ องต้ องการรัฐธรรมนูญของกลุ่มเจ้ านาย และข้ าราชการในร.ศ. ๑๐๓ (๒๔๒๗) เป็ นปี ที ๑๗ ของการครองราชย์ ของพระบาทสมเด็จพระ จุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ มีเ จ้ า นายและข้ า ราชการ จํ า นวนหนึ งที รั บ ราชการ ณ สถานทูตไทย ณ กรุ งลอนดอน และกรุ งปารี ส ได้ ร่วมกันลง ชือในเอกสารกราบบังคมทูลความเห็นจัดการเปลียนแปลงการปกครอง ราชการแผ่ นดิน ร.ศ. ๑๐๓ ทูลเกล้ าฯ ถวาย ณ วันพฤหัสบดี แรม ๘ คํา เดือน ๒ ปี วอก ฉอศอ ศักราช ๑๒๔ ตรงกับวันที ๙ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๒๗ 36
  • 37. เจ้ านายและข้ าราชการทีจัดทําหนังสื อกราบบังคมทูลความเห็นครัCงนัCน มีพระนาม ชือปรากฏอยู่ท้ายเอกสาร ได้ แก่ 1. พระเจ้ าน้ องยาเธอ กรมหมืนนเรศร์ วรฤทธิH (พระเจ้ าบรมวงเธอกรมพระนเรศร์ วรฤทธิH ) 2. พระเจ้ าน้ องยาเธอพระองค์ เจ้ าโสณบัณฑิต (พระเจ้ าบรมวง เธอกรมหมืนพิทยลาภพฤฒิ ธาดา) 3. สมเด็จพระเจ้ าน้ องยาเธอ พระองค์ เจ้ าสวัสดิโสภณ (สมเด็จกรมพระสวัสดิHวฒน วิศิษฏ์ ) ั 4. พระองค์ เจ้ าปฤษฎางค์ (พระวรวงศ์ เธอพระองค์ เจ้ าปฤษฎางค์ ) 5.นายนกแก้ ว คชเสนี {พระยามหาโยธา) 6. หลวงเดชนายเวร(สุ่ น สาตราภัย ต่ อมาเลือนบรรดาศักดิHเป็ นพระยาอภัยพิพธ) ิ 7. บุศย์ เพ็ญกุล (จมืนไวยวรนาถ) 8. ขุนปฏิภาณพิจิตร (หุ่น) 9. หลวงวิเสศสาลี (นาค) 10. นายเปลียน 11. สั ปเลฟเตอร์ แนนสะอาด 37
  • 38. แนวคิดทางการเมืองแบบจํากัดพระราชอํานาจของ พระมหากษัตริย์ หมายถึง ให้ พระมหากษัตริ ย์ใช้ อํานาจด้ านบริ หาร นิ ติบัญญัติ และ ตุลาการโดยผ่ านทางคณะรั ฐมนตรี รั ฐสภา และผู้พิพากษาตามลําดับโดย อํานาจอธิปไตยทีแท้ จริงจะต้ องเป็ นของปวงชน เหตุผลทีมีแนวความคิดเช่ นนีเC พราะ 1. อิท ธิ พ ลของลัท ธิ จั ก รวรรดิ นิ ย มตะวั น ตกที ขยายอํา นาจมาทาง เอเซียทําให้ ต้องปฏิรูปการปกครองให้ ทนสมัยเพือรับมือกับลัทธิดังกล่ าว ั 2. ความก้ าวหน้ าทางด้ านสติปัญญาของข้ าราชการไทยทีไปศึ กษาต่ อ ในตะวันตกจึงต้ องการเปลียนแปลงระบบการเมืองการปกครองของไทยให้ เจริญก้ าวหน้ าเหมือนอย่ างตะวันตก 38
  • 39. ความคิดเห็นทางการเมือง รัตนโกสิ นทร์ ตอนกลาง ธรรมราชา + เทวราชา กษัตริย์เสมือนพระโพธิสัตว์ กษัตริย์ต้องเป็ นผู้นําประชาชน พาชาติให้ พ้นภัย ต่ อสู้ กบการล่ าอาณานิคม ั 39
  • 40. สรุป สมัยอยุธยา มีรูปแบบการปกครองแบบเทวราชาผสมกับธรรม ราชา ราษฎรเคารพพระราชาในฐานะผู้นําครอบครัวทีนับถือพระ รัตนตรัยร่ วมกัน สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ นและตอนกลาง มีรูปแบบการปกครอง แบบเทวราชาทีเน้ นหนักไปในทางธรรมราชาแบบพระโพธิสัตว์ พระมหากษัตริย์มหน้ าทีคุ้มครองปองกันและนําพาราษฎรให้ หลุด ี ้ พ้ นจากวัฏฏสงสาร 40
  • 41. 41