SlideShare a Scribd company logo
SPA in Action (Part I)
i
คู่มือการนามาตรฐานสู่การปฏิบัติ
SPA (Part I) in Action
สาหรับมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 2556
SPA in Action (Part I)
ii
คำนำ
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี หรือที่เรียกว่า
มาตรฐาน HA/HPH 2006 จัดทาเสร็จสิ้นเมื่อปี พ.ศ. 2549 มีเนื้อหาหลักในด้านคุณภาพและความปลอดภัยในการ
ดูแลผู้ป่วยและระบบงานสาคัญของโรงพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพ และคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร
โดยรวม
เพื่อให้โรงพยาบาลสามารถทาความเข้าใจเนื้อหาของมาตรฐาน สามารถนามาตรฐานไปสู่การปฏิบัติได้
เหมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงพยาบาล สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) จึงได้จัดทาคู่มือ SPAขึ้น
เป็นการขยายความกิจกรรมที่ควรดาเนินการสาหรับมาตรฐานแต่ละข้อ โดยอธิบายให้เห็นรูปธรรมของการปฏิบัติ
อย่างเป็นขั้นตอน และให้แนวทางการประเมินตนเองอย่างกระชับซึ่งมุ่งให้ตอบเนื้อหาที่ได้จากผลของการปฏิบัติตาม
มาตรฐาน
SPA in Action Part I นี้เป็นการนาคู่มือ SPA สาหรับมาตรฐานตอนที่ I การบริหารองค์กรในภาพรวม มา
จัดทาเป็นคาถามเริ่มต้นเพื่อให้โรงพยาบาลเข้าใจบริบทของตนเอง และนาไปสู่การดาเนินการปรับปรุงที่มีความ
เฉพาะเจาะจงสาหรับโรงพยาบาล ทั้งนี้ผู้นาไปปฏิบัติควรนึกถึงวงล้อของระบบงานที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องอัน
ได้แก่ PDCA หรือ DALI (Design-Action-Learning-Improvement) อันได้แก่การออกแบบระบบ การปฏิบัติตาม
ระบบที่ออกแบบไว้ การกากับติดตาม/ทบทวน/เรียนรู้ และการปรับปรุง การถามหาระบบการกากับติดตามในเรื่อง
ต่างๆ นับว่าเป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้วงล้อนี้หมุนไปอย่างต่อเนื่อง
สรพ.หวังว่าความเข้าใจและการนามาตรฐานไปสู่การปฏิบัติ จะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่มีคุณภาพและ
ความปลอดภัยยิ่งขึ้น รวมทั้งจะมีข้อมูลเชิงปฏิบัติต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
กรกฎาคม 2556
SPA in Action (Part I)
iii
สำรบัญ
คานา................................................................................................................................................................ii
สารบัญ............................................................................................................................................................iii
I-1.1 การนาองค์กรโดยผู้นาระดับสูง (LED.1)......................................................................................................1
I-1.2 การกากับดูแลกิจการและความรับผิดชอบต่อสังคม (LED.2)........................................................................5
I-2.1 การจัดทากลยุทธ์ (STM.1) ........................................................................................................................8
I-2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนาไปปฏิบัติ (STM.2)..........................................................................................12
I-3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน (PCF.1) ............................................................................................15
I-3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับผลงาน (PCF.2)..........................................................................17
I-3.3 สิทธิผู้ป่วย (PCF.3).................................................................................................................................20
I-4.1 การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลงานขององค์กร (MAK.1) .......................................................................24
I-4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการความรู้ (MAK.2) ............................................27
I-5.1 ความผูกพันของบุคลากร (HRF.1)...........................................................................................................31
I-5.2 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (HRF.2).......................................................................................................35
I-6.1 การออกแบบระบบงาน............................................................................................................................40
I-6.2 การจัดการและปรับปรุงกระบวนการทางาน...............................................................................................43
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 1
I-1 การนาองค์กร
I-1.1 กำรนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง (LED.1)
ผู้นาระดับสูงชี้นาองค์กร สื่อสารและส่งเสริมผลการดาเนินงานที่ดี ให้ความมั่นใจในคุณภาพและความ
ปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ.
ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม
(1) ผู้นาระดับสูงกาหนดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม. ผู้นาระดับสูงถ่ายทอดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ผ่านระบบการ
นา ไปยังบุคลากรทุกคนและคู่พันธมิตรสาคัญ เพื่อนาไปปฏิบัติ. การปฏิบัติตนของผู้นาระดับสูงสะท้อนถึงความ
มุ่งมั่นต่อค่านิยมขององค์กร.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
วิสัยทัศน์ของ รพ.คืออะไร Top-down: ทบทวนในภาพใหญ่ว่าเส้นทางหลักๆ
ที่จะไปสู่วิสัยทัศน์นั้นคืออะไร
Bottom-up: ชักชวนให้แต่ละหน่วยงานพิจารณาว่า
วิสัยทัศน์ดังกล่าวมีความหมายอย่างไรกับ
หน่วยงานของตน และหน่วยงานสามารถทาอะไร
ได้บ้างเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนสู่
วิสัยทัศน์
ค่านิยมขององค์กรที่เห็นการปฏิบัติอย่างชัดเจน
หรือปฏิบัติได้ดี มีอะไรบ้าง
ทบทวนและยกตัวอย่างเพื่อสื่อสารให้เกิดความ
มั่นใจในการปฏิบัติในวงกว้าง
ค่านิยมขององค์กรที่ปฏิบัติได้ยากหรือยังไม่เห็น
การปฏิบัติอย่างชัดเจน มีอะไรบ้าง
ผู้นาหาวิธีการแสดงตัวอย่างการปฏิบัติในค่านิยม
เหล่านี้
ค่านิยมของ HA/HPH ข้อใดที่ไม่ปรากฏในค่านิยม
ขององค์กร
หาทางเชื่อมค่านิยมเหล่านี้กับค่านิยมขององค์กร
และหาทางส่งเสริมให้มีการนาไปปฏิบัติ
(2) ผู้นาระดับสูงสร้างสิ่งแวดล้อมขององค์กรที่ส่งเสริม กาหนด และส่งผลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและมี
จริยธรรมที่ดี. (นาไปประเมินรวมในหัวข้อ 1.2)
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 2
(3) ผู้นาระดับสูงสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการปรับปรุงผลงาน, การบรรลุพันธกิจและวัตถุประสงค์ของ
องค์กร, การสร้างนวตกรรม, ความคล่องตัวขององค์กร, การเรียนรู้ในระดับองค์กรและบุคลากร, สัมพันธภาพใน
การทางานที่ดี, ความร่วมมือและการประสานบริการ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
สิ่งแวดล้อมและบรรยกาศที่เอื้อต่อการพัฒนาที่ดีอยู่
แล้วมีอะไร ที่ต้องการเพิ่มเติมมีอะไร
ทาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้เข้มแข็งขึ้น เติมเต็มสิ่งที่ต้องการ
เพิ่มเติม
เป้าหมายในแผนยุทธศาสตร์ที่มีโอกาสประสบ
ความสาเร็จสูงคืออะไร ที่ต้องใช้ความพยายาม
อย่างมากคืออะไร
จะสร้างสิ่งแวดล้อมอย่างไรเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุ่มเท
เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ท้าทายและต้องใช้ความ
พยายาม
ปัญหาเก่าๆ ที่ยังคงค้างคาและต้องการวิธีการ
ใหม่ๆ ในการแก้ปัญหามีอะไรบ้าง
จะส่งเสริมให้มองหาวิธีคิดและหนทางใหม่ๆ ในการ
แก้ปัญหาดังกล่าวอย่างไร
เงื่อนไข กฎระเบียบและประเพณีปฏิบัติที่ก่อให้เกิด
ความไม่คล่องตัวในการปฏิบัติงานมีอะไรบ้าง
ส่งผลอย่างไร
ผู้นาพิจารณาว่าจะลดเงื่อนไข หรือปรับเปลี่ยน
กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคอย่างไร
ตัวอย่างการเรียนรู้จากงานประจามีอะไรบ้าง ส่งเสริมให้เกิดการตั้งคาถามเพื่อเรียนรู้จากงาน
ประจาและค้นหาความรู้ที่จาเป็นให้มากขึ้น
บทเรียนขององค์กรที่จะมีประโยชน์ในการทางาน
ใหญ่ๆ หรือทางานเชิงกลยุทธ์ให้สาเร็จมีอะไรบ้าง
นาบทเรียนดังกล่าวมาใช้ในการตัดสินใจและสร้าง
การเรียนรู้ในระดับองค์กรเพื่อขับเคลื่อนงานเชิงกล
ยุทธ์
ตัวอย่างสัมพันธ์ภาพที่ดีในการทางานมีอะไรบ้าง จะส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีให้ดียิ่งขึ้น และนาไป
ปรับในส่วนที่ยังมีปัญหาอย่างไร
บริการหรือแผนงาน/โครงการที่ต้องการความ
ร่วมมือและการประสานงานสูงมีอะไร
ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและการประสานงานที่
เหมาะสมกับลักษณะงาน
(4) ผู้นาระดับสูงสร้างและส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
เป้าหมายความปลอดภัยผู้ป่วยมีอะไรบ้าง ติดตามการปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนดไว้
ปรับปรุงเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ดีขึ้น
ช่องทางการรับรู้เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่ใช้เป็น
หลักคืออะไร มีช่องทางอะไรอีกที่ยังไม่ได้ใช้เต็มที่
หาทางใช้ช่องทางที่ยังไม่ได้ใช้เต็มที่ให้มากขึ้น
ผู้นาใช้ช่องทางใดในการสื่อสารเพื่อให้เกิดความ
มั่นใจว่าผู้นามุ่งมั่นปรับปรุงที่ระบบมากกว่าการ
กล่าวโทษตัวบุคคล
ทบทวนว่าช่องทางนั้นได้ผลเพียงใด พิจารณาว่า
สมควรทดลองวิธีการอื่นๆ หรือไม่ แล้วทดลองทา
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 3
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
อะไรคือตัวอย่างการทา RCA ที่ดีที่สุด 2-3 เรื่อง ร่วมกันทบทวนว่าการวิเคราะห์นั้นได้ถึง root
cause หรือไม่ จะมีแนวทางปรับปรุงให้ดีขึ้น
อย่างไร
วิธีการที่สมาชิกสื่อสารกันภายในทีมเกี่ยวกับเรื่อง
ความเสี่ยงคืออะไร
ร่วมกันทบทวนว่าเป็นการสื่อสารที่เพียงพอหรือไม่
ควรเพิ่มโอกาสและวิธีการในการสื่อสารให้บ่อยขึ้น
อย่างไร โดยไม่เป็นภาระของผู้ปฏิบัติ
ผลการสารวจ patient safety culture survey เป็น
อย่างไร
นาประเด็นที่ได้รับมาพิจารณาว่าจะปรับปรุง
อย่างไร
ขอให้นึกถึงอุบัติการณ์รุนแรงที่สุดที่เคยเกิดขึ้น
ผู้คนตอบสนองต่อเหตุการณ์ดังกล่าวอย่างไร
ทบทวนว่าการตอบสนองดังกล่าวนั้นส่งผลดีหรือ
ผลเสียต่อการแก้ไขและป้องกันปั้ญหา ความเชื่อ
และความกล้าที่จะเปิดเผยข้อมูล รวมถึงผลต่อ
วัฒนธรรมความปลอดภัยในระยะยาว แล้วกาหนด
แนวทางตอบสนองที่เหมาะสมยิ่งขึ้น
มีการปรับปรุงระบบงานอะไรที่เป็นผลมาจากการ
ทบทวนเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
เรียนรู้ว่าการปรับปรุงดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไร
หาทางส่งเสริมให้เกิดมากขึ้น
อะไรเป็นการเปลี่ยนแปลงสาคัญที่เกิดจากการ
เยี่ยมหน้างานของผู้นา
ส่งเสริมให้ผู้นาได้ไปเยี่ยมหน้างานเพื่อพูดคุยเรื่อง
ความปลอดภัยอย่างสม่าเสมอ และตอบสนองต่อ
สถานการณ์หรือความต้องการการช่วยเหลืออย่าง
ฉับพลัน
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 4
ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร
(1) ผู้นาระดับสูงสื่อสารกับบุคลากร, ให้อานาจการตัดสินใจ, และจูงใจบุคลากรทุกคนทั่วทั้งองค์กร. ผู้นาระดับสูง
กระตุ้นให้เกิดการสื่อสารสองทางที่ตรงไปตรงมาทั่วทั้งองค์กร. ผู้นาระดับสูงมีบทบาทเชิงรุกในการให้รางวัลและ
การยกย่องชมเชย เพื่อหนุนเสริมการมุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน, การมุ่งเน้นคุณภาพและความปลอดภัยในการ
ดูแลผู้รับบริการ, และการมุ่งเน้นผลงานที่ดี.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ขอตัวอย่างเรื่องที่จะต้องสื่อสารกับบุคลากรให้เกิด
ความเข้าใจอย่างถ่องแท้
ทบทวนว่าผู้นาสื่อสารกับบุคลากรอย่างไร ได้ผล
หรือไม่ ควรปรับปรุงวิธีการสื่อสารอย่างไร
อะไรคือช่องทางการสื่อสารสองทางที่ได้ผล หาทางขยายผลการสื่อสารในลักษณะดังกล่าว
ควรเสริมพลังให้ผู้ปฏิบัติงานตัดสินใจด้วยตนเองใน
เรื่องอะไรเพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่
สนับสนุนข้อมูลข่าวสาร แนวทาง ทรัพยากร และ
ความมั่นใจ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานเพื่อการตัดสินใจที่
รวดเร็วและตอบสนองความต้องการของ
ผู้รับบริการ
ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมอะไรที่จะทาให้ผู้ปฏิบัติงาน
ต้องการพัฒนากระบวนการทางานของตน
ส่งเสริมปัจจัยและสิ่งแวดล้อมดังกล่าว
การให้รางวัลและแรงจูงใจที่ให้ผลดีสาหรับบุคลากร
แต่ละกลุ่มคืออะไร
เชื่อมโยงการให้รางวัลดังกล่าวกับการมุ่งเน้นผู้ป่วย
การทางานที่มีผลงานดี มีคุณภาพและปลอดภัย
(2) ผู้นาระดับสูงกาหนดจุดเน้นที่การปฏิบัติเพื่อปรับปรุงผลงาน การบรรลุวัตถุประสงค์และวิสัยทัศน์ขององค์กร
รวมทั้งระดับความคาดหวังในจุดเน้นดังกล่าว. ผู้นาระดับสูงทบทวนตัวชี้วัดผลการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอเพื่อ
ระบุการดาเนินการที่จาเป็น.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
อะไรคือจุดเน้นที่ต้องการให้มีการปฏิบัติอย่าง
จริงจัง จุดเน้นดังกล่าวได้มาจากการพิจารณาข้อมูล
อะไรบ้าง มีการกาหนดระดับที่คาดหวังชัดเจน
หรือไม่ มีความตื่นตัวในการนาไปปฏิบัติอย่างไร
ผลลัพธ์เปลี่ยนแปลงไปตามเป้าหมายที่คาดไว้
หรือไม่
หาทางทาให้เกิดความตื่นตัวในการปฏิบัติเพื่อให้
ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่คาดหวัง
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 5
I-1.2 กำรกำกับดูแลกิจกำรและควำมรับผิดชอบต่อสังคม (LED.2)
องค์กรแสดงถึงระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ สร้างความมั่นใจว่ามีการ
ดาเนินงานอย่างมีจริยธรรม และมีส่วนสนับสนุนต่อสุขภาพของชุมชน.
ก. การกากับดูแลกิจการ
(1) องค์กรทบทวนและแสดงให้เห็นระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี ในด้านความรับผิดชอบต่อการกระทาของ
ผู้บริหาร, ความรับผิดชอบด้านการเงิน, ความโปร่งใสในการดาเนินงาน, การตรวจสอบที่เป็นอิสระทั้งภายในและ
ภายนอก, และการพิทักษ์ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
กลไกกากับดูแลการทางานของผู้บริหารสูงสุดคือ
อะไร
ทบทวนให้เกิดความชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ถ้าการกากับดูแลนั้นผ่านมาตามสายการบังคับ
บัญชาหลายชั้น ทาให้เกิดความชัดเจนในเรื่อง
การทาสัญญาข้อตกลง การรายงานต่อผู้กากับ
ดูแล และการสนองตอบต่อรายงาน
อะไรคือความเสี่ยงต่อข้อครหาในเรื่องความโปร่งใส
ในการดาเนินงานขององค์กรและการตัดสินใจของ
ผู้บริหาร
วางมาตรการเพื่อให้เกิดความมั่นใจในความ
โปร่งใสสาหรับเรื่องเหล่านั้น
ข้อเสนอแนะสาคัญจากผลการตรวจสอบภายในใน
รอบปีที่ผานมามีอะไรบ้าง
ทาให้มั่นใจว่ามีการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
อย่างเหมาะสม
ข้อเสนอแนะสาคัญจากผลการตรวจสอบภายนอกมี
อะไรบ้าง
ทาให้มั่นใจว่ามีการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
อย่างเหมาะสม
อะไรคือผลประโยชน์ที่องค์กรต้องพิทักษ์ให้แก่ผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียสาคัญ
วางมาตรการพิทักษ์ผลประโยชน์อย่างเหมาะสม
เสียงสะท้อนและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียต่อผู้บริหารมีอะไรบ้าง
ตอบสนองต่อเสียงสะท้อนดังกล่าวอย่างเหมาะสม
(2) องค์กรประเมินผลงานของผู้นาทุกระดับ. ผู้นาระดับสูงใช้ผลการทบทวนเหล่านี้ไปปรับปรุงประสิทธิผลของผู้นา
แต่ละคน และประสิทธิผลของระบบการนา.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
Managerial competency ของผู้นาที่องค์กรให้
ความสาคัญมีอะไรบ้าง
นาไปใช้ในการประเมินและปรับปรุง
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 6
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ผู้นาให้ความหมายของประสิทธิผลของระบบการ
นาว่าอย่างไร อะไรคือประเด็นสาคัญที่ผู้นามุ่งเน้น
ทบทวนในกลุ่มผู้นาและรับเสียงสะท้อนจาก
บุคลากรต่อประเด็นต่างๆ ที่ผู้นาให้ความสาคัญ
เพื่อนามาสู่การปรับปรุง
ข. พฤติกรรมที่ปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม
(1) องค์กรระบุและคาดการณ์ถึงความเสี่ยง / ผลกระทบด้านลบต่อสังคม และความกังวลของสาธารณะ เนื่องมาจาก
บริการ / การดาเนินงานขององค์กร. องค์กรมีการเตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าว รวมถึงการใช้กระบวนการ
ที่ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและรักษาสิ่งแวดล้อม. มีการกาหนดกระบวนการ ตัวชี้วัด และเป้าหมายสาคัญ เพื่อให้
มีการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย รวมทั้งลดความเสี่ยงหรือผลกระทบด้านลบเหล่านั้น.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
อะไรคือความเสี่ยงหรือผลกระทบด้านลบสาคัญที่มี
ต่อสังคม จากการให้บริการของ รพ.
เตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าว โดยกาหนด
เป้าหมายที่ชัดเจน
อะไรคือความกังวลของประชาชนหรือสาธารณชน
ต่อการให้บริการของ รพ.
เตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าว โดยกาหนด
เป้าหมายที่ชัดเจน
ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของ รพ.ในแต่ละปีเป็น
อย่างไร เพิ่มขึ้นในอัตราเท่าใด
วางมาตรการในการประหยัดพลังงานที่ได้ผล
การใช้ทรัพยากรใดที่มีโอกาสจะลดลงได้โดยไม่มี
ผลเสียต่อการบริการผู้ป่วย
ร่วมรณรงค์เพื่อลดการใช้ทรัพยากรดังกล่าว
รพ.ปล่อยของเสียหรือสร้างการรบกวนต่อ
สิ่งแวดล้อมอะไรบ้าง
ตรวจสอบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานที่
กฎหมายกาหนด และปรับปรุง
มีข้อบังคับหรือกฎหมายอะไรที่ รพ.ยังไม่สามารถ
ปฏิบัติตามได้ หรือยังไม่ได้ทบทวนว่ามีการปฏิบัติ
ตามเพียงใด
ทบทวนและปรับปรุง
(2) องค์กรส่งเสริมและสร้างความมั่นใจว่าจะมีพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในปฏิสัมพันธ์ทุกกรณี มีการติดตามกากับ และ
ดาเนินการต่อพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนหลักจริยธรรม.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
รพ.มีความเสี่ยงด้านจริยธรรมของผู้ปฏิบัติงานและ
ผู้บริหารอย่างไรในประเด็นต่อไปนี้ การคิด
ค่าบริการ การส่งตรวจโดยได้รับค่าตอบแทนพิเศษ
การสั่งยาหรือสั่งการรักษาที่เกินความจาเป็น การ
กาหนดนโยบายที่ชัดเจน จัดให้มีแนวทางป้องกัน
ป้องปราม ติดตามกากับ และดาเนินการอย่าง
เหมาะสมเมื่อมีการฝ่าฝืนหลักจริยธรรม
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 7
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ประชาสัมพันธ์ การตัดสินใจรับไว้/ส่งต่อ
รพ.จัดบริการที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาจริยธรรม
อะไรบ้าง เช่น การรักษาผู้มีบุตรยาก การปลูกถ่าย
อวัยวะ การผ่าตัดแปลงเพศ
วางแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและรัดกุมเพื่อป้องกัน
ปัญหาดังกล่าว
กรณีที่ยากต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบวิชาชีพ
เนื่องจากความไม่ลงตัวระหว่างมุมมองต่างๆ มี
อะไรบ้าง (เช่น การตัดสินใจการยุติการรักษา การ
เลือกช่วยชีวิตคนหนึ่งแต่ต้องสละโอกาสช่วยชีวิต
อีกคนหนึ่ง)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
ในด้านนั้นๆ
จริยธรรมวิชาชีพต่อไปนี้ เรื่องใดที่ยังเป็นโอกาส
พัฒนา: การรักษาความลับ, การเปิดเผยข้อเท็จจริง
, การหลีกเลี่ยงผลประโยชน์ทับซ้อน, การยึดมั่นใน
ความรับผิดชอบของวิชาชีพ
ส่งเสริมให้วิชาชีพจัดเวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนเพื่อ
ร่วมกันกาหนดแนวทางปฏิบัติที่ดี
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 8
I – 2 การบริหารเชิงกลยุทธ์
I-2.1 กำรจัดทำกลยุทธ์ (STM.1)
องค์กรกาหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เพื่อตอบสนองกับความท้าทายขององค์กร และ
สร้างความเข้มแข็งให้กับการดาเนินงานขององค์กร.
ก. กระบวนการจัดทากลยุทธ์
(1) ผู้นาระดับสูง ด้วยความร่วมมือของบุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสาคัญ ดาเนินการวางแผนกลยุทธ์ตาม
ขั้นตอนและใช้กรอบเวลาที่เหมาะสม. มีการวิเคราะห์และกาหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์และข้อได้เปรียบของ
องค์กร. มีกระบวนการที่ช่วยให้องค์กรทราบถึงจุดอ่อนหรือจุดด้อยสาคัญที่อาจถูกมองข้าม.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
มีการกาหนดจังหวะเวลาและขั้นตอนของการ
ทบทวนแผนกลยุทธ์ในแต่ละปีอย่างชัดเจนหรือไม่
เตรียมข้อมูล เตรียมคน ให้พร้อมที่จะทบทวนแผน
กลยุทธ์ตามกาหนดเวลา
อะไรคือความท้าทายเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ทบทวนว่าความท้าทายนั้นเป็นประเด็นที่มี
ความสาคัญต่อความสาเร็จขององค์กรในอนาคต
เพียงใด มีประเด็นอื่นสาคัญกว่าหรือไม่
อะไรคือข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ทบทวนว่าข้อได้เปรียบนั้นเป็นประเด็นที่มี
ความสาคัญจริงหรือไม่ มีประเด็นอื่นสาคัญกว่า
หรือไม่
วันนี้เราเรียนรู้อะไร ที่เราไม่เคยรู้มาก่อนเมื่อ 5 ปีที่
แล้ว
นาสิ่งที่รู้ไปใช้ประโยชน์ในการทา/ปรับแผนกลยุทธ์
หาวิธีทาให้รู้ในสิ่งเหล่านี้ได้เร็วขึ้น
คนอื่นมีการเตรียมตัวอย่างไร ในสิ่งที่เราไม่ได้
เตรียมตัวไว้ก่อน
รีบปรับตัวในสิ่งที่เราไม่ได้เตรียมตัว หาวิธีรู้ให้เร็ว
ขึ้นว่าคนอื่นเตรียมตัวล่วงหน้าอย่างไร
มีความผิดพลาดหรือการเสียโอกาสอะไรที่ดูเหมือน
จะเกิดซ้าได้อีก
วางแนวทางป้องกันความผิดพลาดหรือการเสีย
โอกาส
วัฒนธรรมของเรามีข้อจากัดอะไร หาทางปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมที่เป็นข้อจากัด
ประเด็นอะไรที่เป็นเรื่องที่นามาพูดคุยกันไม่ได้ใน
องค์กรแห่งนี้
หาเวทีที่จะทาให้พูดคุยเรื่องเหล่านี้ได้อย่าง
ปลอดภัย
แผนกลยุทธ์ซึ่งจัดทาขึ้นเมื่อหลายปีก่อนมีความ
เหมาะสมเพียงใด
ทาให้แผนกลยุทธ์มีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม
ตลอดเวลา
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 9
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
มีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างที่เราไม่ได้เตรียมตัว
รับมือไว้สาหรับอนาคต
ปรับแผนให้ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง คาดการณ์
ล่วงหน้าว่าจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงอีก
อะไรคือศักยภาพหรือจุดอ่อนที่เราเคยมองข้ามไป นาจุดที่เรามองไม่เห็นมาทบทวนแผนกลยุทธ์
ทบทวนวิธีการที่ช่วยให้เรามองเห็น blind spot
เพื่อการทาแผนที่ดีขึ้น
(2) ในกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ มีการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของผู้รับบริการ / ชุมชนที่
รับผิดชอบ, จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส สิ่งคุกคามขององค์กร รวมทั้งปัจจัยสาคัญอื่นๆ และความสามารถในการนา
แผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
อะไรคือปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพที่เป็น
ความท้าทายสาคัญ
ทบทวนว่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด และกลยุทธ์ที่วางไว้
จะนาไปสู่การเอาชนะความท้าทายนั้นได้เพียงใด
อะไรคือจุดแข็งสาคัญขององค์กร 3 ประการ ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรได้ใช้จุดแข็งนั้น
อย่างไร
อะไรคือจุดอ่อนสาคัญขององค์กร 3 ประการ ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรมีแนวทางปิดจุดอ่อน
นั้นอย่างไร
อะไรคือสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาสสาคัญ
ขององค์กร 3 ประการ
ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรได้ใช้โอกาสนั้น
อย่างไร
อะไรคือสิ่งแวดล้อมภายนอกที่คุกคามองค์กร ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรตอบสนองต่อสิ่ง
คุกคามนั้นอย่างไร
มุมมอง/ความคาดหวังของผู้รับบริการ/ชุมชนเป็น
อย่างไร
ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรตอบสนองต่อความ
คาดหวังดังกล่าวนั้นอย่างไร
สภาพแวดล้อมด้านความร่วมมือ การแข่งขัน และ
ความสามารถขององค์กรที่ให้บริการในพื้นที่
เดียวกันหรือมีลักษณะคล้ายกันเป็นอย่างไร
ทบทวนว่าองค์กรใช้กลยุทธ์อะไรเพื่อตอบสนองต่อ
สภาพแวดล้อมดังกล่าว
นวตกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีที่
อาจมีผลต่อการจัดบริการมีอะไรบ้าง
ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรใช้ประโยชน์จากนว
ตกรรมและเทคโนโลยีดังกล่าวอย่างไร
ความต้องการขององค์กรในด้านบุคลากรและ
ทรัพยากรอื่นๆ เป็นอย่างไร
ทบทวนว่าองค์กรใช้กลยุทธ์อะไรเพื่อให้ได้บุคลากร
และทรัพยากรดังกล่าว
โอกาสปรับเปลี่ยนการใช้ทรัพยากรไปสู่บริการหรือ
กิจกรรมที่มีความสาคัญสูงกว่า
ทบทวนว่าองค์กรให้ความสาคัญหรือปรับเปลี่ยน
วิธีการใช้ทรัพยากรอย่างไร
อะไรคือความเสี่ยงด้านการเงิน สังคม จริยธรรม ทบทวนว่าองค์กรมีกลยุทธ์เพื่อรองรับความเสี่ยง
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 10
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ระเบียบข้อบังคับ เทคโนโลยี ต่างๆ ดังกล่าวอย่างไร
ความสามารถในการป้องกันและตอบสนองต่อภาวะ
ฉุกเฉิน
ทบทวนว่าองค์กรมีกลยุทธ์เพื่อเตรียมความพร้อม
อย่างไร
สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปของระบบบริการสุขภาพ
และเศรษฐกิจ
ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรจะรองรับการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อย่างไร
ปัจจัยอื่นๆ ที่มีความเฉพาะเจาะจงสาหรับองค์กร ทบทวนว่าองค์กรมีกลยุทธ์อะไรต่อปัจจัยดังกล่าว
อะไรที่จะเป็นอุปสรรคต่อการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ
เช่น ทรัพยากร ความรู้ ความคล่องตัว การ
เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน
วางแผนว่าจะพัฒนาความสามารถขององค์กรเพื่อ
ฝ่าฟันอุปสรรคดังกล่าวอย่างไร
ข. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
(1) มีการจัดทาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สาคัญ และกรอบเวลาที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เหล่านั้น. (นาเสนอวัตถุประสงค์
เชิงกลยุทธ์สาคัญ)
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
อะไรคือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สาคัญที่จะบรรลุ
ในช่วง 1-2 ปีข้างหน้า
ทบทวนความเป็นไปได้ที่จะบรรลุตามกาหนดเวลา
และความเชื่อมโยงกับพันธกิจขององค์กร
อะไรคือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สาคัญที่จะบรรลุใน
3-5 ปีข้างหน้า
ทบทวนว่าเหมาะสมที่จะใช้เป็นเป็นทิศทางระยะ
ยาวขององค์กร เป็นสิ่งที่องค์กรต้องบรรลุเพื่อให้
สามารถอยู่รอดได้ในระยะยาวหรือไม่
(2) วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตอบสนองต่อความท้าทายที่สาคัญและใช้ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ขององค์กร,
ตอบสนองต่อสถานะสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของชุมชนหรือกลุ่มประชากรที่ให้บริการ และมีส่วนต่อ
ผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้น.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
อะไรคือความท้าทายเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ทบทวนว่าวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ตอบสนองต่อ
ความท้าทายดังกล่าวเพียงใด
อะไรคือข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ทบทวนว่ามีการนาข้อได้เปรียบดังกล่าวมาใช้ใน
การจัดทากลยุทธ์เพียงใด
อะไรคือปัญหาหรือความต้องการด้านสุขภาพที่
สาคัญของชุมชน/ผู้รับบริการ
ทบทวนว่าวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ตอบสนองต่อ
ปัญหาหรือความต้องการดังกล่าวอย่างไร จะทาให้
ผลลัพธ์สุขภาพในปัญหาหรือความต้องการดังกล่าว
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 11
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ดีขึ้นอย่างไร
ประเด็นต่อไปนี้มีความสาคัญที่จะนาไปสู่
ความสาเร็จขององค์หรือไม่: การเข้าถึง, การปรับ
บริการให้เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละราย, ขีด
ความสามารถและความเพียงพอของบุคลากร, การ
สร้างนวตกรรมอย่างรวดเร็ว, การบริหาร
ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย, การใช้เวชระเบียน
อิเล็คโทรนิคและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คุณภาพ
และความปลอดภัย, การตอบสนองอย่างรวดเร็ว,
การให้บริการในลักษณะบูรณาการ, การให้บริการที่
มีต้นทุนต่า, การสร้างพันธมิตรและแนวร่วมใหม่ๆ
นาประเด็นที่สาคัญมาพิจารณากาหนดเป็น
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
(3) วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพมุ่งที่ผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้นของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน
บุคลากร และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
อะไรคือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เกี่ยวกับการสร้าง
เสริมสุขภาพ
ทบทวนว่าวัตถุประสงค์ดังกล่าวครอบคลุม
กลุ่มเป้าหมายทั้งผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน และ
บุคลากรหรือไม่
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 12
I-2.2 กำรถ่ำยทอดกลยุทธ์เพื่อนำไปปฏิบัติ (STM.2)
องค์กรถ่ายทอดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ และติดตามความก้าวหน้าเพื่อให้มั่นใจว่าบรรลุ
เป้าประสงค์.
ก. การจัดทาแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดเพื่อนาไปปฏิบัติ
(1) มีการจัดทาแผนปฏิบัติการและถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สาคัญ, สร้าง
ความมั่นใจในความยั่งยืนของการเปลี่ยนแปลงสาคัญที่เป็นผลจากแผนปฏิบัติการ. บุคลากรตระหนักในบทบาท
และการมีส่วนต่อการบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ผู้รับผิดชอบแต่ละกลยุทธ์มีใครบ้าง ผู้รับผิดชอบกลยุทธ์ตรวจสอบการจัดทาแผนปฏิบัติ
การ ความเข้าใจของผู้เกี่ยวข้อง กาหนดแนวทาง
ติดตามตัวชี้วัดความสาเร็จและความก้าวหน้า
แผนปฏิบัติการที่ท้าทายหรือต้องใช้ความพยายาม
สูงมีอะไรบ้าง
ทีมนาร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคและวางแนว
ทางแก้ไข/สนับสนุน
แผนปฏิบัติการที่ต้องการความเข้าใจและความ
ร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงานสูงมีอะไรบ้าง
ทีมนาร่วมกันสร้างความเข้าใจและติดตามประเมิน
การรับรู้ของผู้ปฏิบัติงาน
การเปลี่ยนแปลงที่ต้องการให้เกิดอย่างยั่งยืนมี
อะไรบ้าง
วิเคราะห์อุปสรรคต่อความยั่งยืนและปัจจัยสาคัญ
ต่อความยั่งยืน และดาเนินการอย่างเหมาะสม
(2) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีทรัพยากรด้านการเงินและด้านอื่นๆ เพียงพอที่จะนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติให้
บรรลุผล. องค์กรประเมินความเสี่ยงด้านการเงินและด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนปฏิบัติการ. องค์กรจัดสรร
ทรัพยากรอย่างสมดุลเพื่อให้มั่นใจว่าจะมีทรัพยากรเพียงพอสาหรับสิ่งที่จาเป็นต้องปฏิบัติ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
มีความเสี่ยงด้านการเงินอะไรบ้าง ดาเนินการสรรหาและวางแนวทางป้องกันความ
เสี่ยง
แผนงานที่อาจประสบปัญหาด้านการเงินมีอะไรบ้าง สร้างความมั่นใจว่ามีการจัดสรรทรัพยากรด้าน
การเงินอย่างสมดุล
แผนงานที่อาจประสบปัญหาทรัพยากรอื่นๆ ไม่
เพียงพอมีอะไรบ้าง
สร้างความมั่นใจว่ามีการจัดสรรทรัพยากรด้านอื่นๆ
อย่างสมดุล
(3) มีการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการและนาแผนที่ปรับเปลี่ยนไปสู่การปฏิบัติ ในกรณีที่มีความจาเป็น.
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 13
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ความไม่แน่นอนของสิ่งแวดล้อมภายนอกที่อาจ
ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการมี
อะไรบ้าง
วางแนวทางในการเฝ้าระวัง เตรียมแผนสารอง และ
เตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติตามแผนสารอง
อุปสรรคภายในองค์กรที่อาจทาให้แผนไม่ก้าวหน้า
ไปตามเป้าหมายมีอะไรบ้าง จะมีผลต่อแผนใด
วางแนวทางในการลดอุปสรรคดังกล่าว
ในรอบปีที่ผ่านมามีการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ
อะไรบ้าง มีที่มาอย่างไร
สรุปบทเรียนถึงความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยน
แผนและการนาแผนที่ปรับเปลี่ยนไปปฏิบัติ
(4) องค์กรจัดทาแผนด้านทรัพยากรบุคคลที่สาคัญ เพื่อให้สามารถปฏิบัติตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติ
การที่กาหนดไว้ได้. แผนระบุผลกระทบที่มีโอกาสเกิดขึ้นต่อบุคลากร และโอกาสที่จะมีการเปลี่ยนแปลงความ
ต้องการด้านขีดความสามารถของบุคลกรและระดับกาลังคนที่ต้องการ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
มีวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เรื่องอะไรบ้างที่
จาเป็นต้องทาแผนด้านทรัพยากรบุคคลเพื่อสิ่ง
ต่อไปนี้: การเพิ่มการตัดสินใจแก่บุคลากร, การ
ประสานงานระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพและผู้บริหาร
, การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร, การปรับระบบ
บริหารค่าตอบแทน
จัดทาแผนด้านทรัพยากรเพื่อรองรับความต้องการ
ดังกล่าว
มีวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เรื่องอะไรบ้างที่ต้อง
พิจารณาความสามารถของบุคลากรหรืออัตรากาลัง
ที่เปลี่ยนไปจากเดิม
จัดทาแผนด้านทรัพยากรเพื่อรองรับความต้องการ
ดังกล่าว
(5) มีการจัดทาตัวชี้วัดสาคัญเพื่อติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติตามแผน. ระบบการวัดผลครอบคลุมประเด็น
สาคัญ / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด และหนุนเสริมให้ทั้งองค์กรมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ตัวชี้วัดสาคัญที่ใช้ติดตามความก้าวหน้าและ
ความสาเร็จของการปฏิบัติตามแผน 20 ตัวแรกมี
อะไรบ้าง
ทบทวนว่าตัวชี้วัด 20 ตัวแรกครอบคลุมประเด็น
สาคัญ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดหรือไม่ ทีม
นาวางแผนติดตามตัวชี้วัดดังกล่าวอย่างสม่าเสมอ
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 14
ข. การคาดการณ์และเปรียบเทียบผลการดาเนินงาน
องค์กรคาดการณ์ผลการดาเนินงานสาหรับตัวชี้วัดสาคัญในข้อ 2.2 ก (5) ตามกรอบเวลาของการวางแผน โดย
พิจารณาจากเป้าประสงค์ ผลงานที่ผ่านมา และข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม. องค์กรตอบสนองต่อความ
แตกต่างของผลงานเมื่อเทียบกับองค์กรที่ดาเนินงานหรือมีกิจกรรมในลักษณะใกล้เคียงกัน ทั้งความแตกต่างใน
ปัจจุบันและความแตกต่างที่ได้จากการคาดการณ์.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ผลการดาเนินงานที่เป็นไปตามค่าที่คาดการณ์มี
อะไรบ้าง
พิจารณาว่าควรปรับค่าคาดการณ์ให้ท้าทายยิ่งขึ้น
หรือไม่
ผลการดาเนินงานที่ไม่เป็นไปตามค่าที่คาดการณ์มี
อะไรบ้าง
ทบทวนปรับแผนปฏิบัติการ
มีการเปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับองค์กรที่
ดาเนินงานในลักษณะใกล้เคียงกันในเรื่องใดบ้าง
ผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบเป็นอย่างไร
ตอบสนองต่อการเปรียบเทียบอย่างเหมาะสม เช่น
นามากาหนดเป้าหมายที่ท้าทาย หรือปรับใช้ข้อมูล
เชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม ขยับจากผลงานของ
องค์กรที่ใกล้เคียงกัน มาเป็นผลงานของคู่แข่ง และ
ผลงานที่เป็นเลิศตามลาดับ
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 15
I – 3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน
I-3.1 ควำมรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงำน (PCF.1)
องค์กรเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวังที่สาคัญของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานของตน เพื่อให้มั่นใจว่า
บริการที่จัดให้สอดคล้องกับความต้องการดังกล่าว.
ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน
(1) องค์กรระบุการจาแนกส่วน ของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน กลุ่มผู้รับผลงาน และตลาดบริการสุขภาพ. องค์กรกาหนด
ว่าจะมุ่งเน้นบริการสุขภาพสาหรับส่วนใดของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน กลุ่มผู้รับผลงาน และตลาดบริการสุขภาพ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
องค์กรใช้จาแนกส่วนของผู้รับบริการอย่างไร ทบทวนว่าการจาแนกดังกล่าวมีประโยชน์ต่อวิธีการ
รับฟังความต้องการของผู้ป่วยแต่ละกลุ่มหรือไม่ แต่
ละกลุ่มมีความต้องการที่แตกต่างกันหรือไม่
สามารถใช้มากาหนดกลุ่มที่มุ่งเน้นได้หรือไม่
องค์กรกาหนดกลุ่มผู้รับบริการที่มุ่งเน้นหรือกลุ่มที่
ต้องใส่ใจเป็นพิเศษเป็นกลุ่มใดบ้าง
ทบทวนเหตุผลของการกาหนดกลุ่มที่มุ่งเน้นหรือ
กลุ่มที่ต้องใส่ใจเป็นพิเศษ และแนวทางการ
ตอบสนองความต้องการเฉพาะของกลุ่มดังกล่าว
(2) องค์กรรับฟังและเรียนรู้ ความต้องการและความคาดหวัง ของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน รวมทั้งระดับความสาคัญต่อ
การตัดสินใจเลือกใช้บริการของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน. วิธีการรับฟังเหมาะสมกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน แต่ละกลุ่ม.
มีการนาความรู้นี้ไปใช้ในการวางแผนจัดบริการและปรับปรุงกระบวนการทางาน.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
องค์กรใช้วิธีการรับฟังความต้องการและความ
คาดหวังของผู้รับบริการด้วยวิธีใดบ้าง มีความ
แตกต่างกันระหว่างผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ อย่างไร
พิจารณาวิธีการรับฟังที่ยังไม่ได้ใช้ เช่น การสารวจ
การวิจัยตลาด การใช้ข้อมูลทางระบาดวิทยา การ
สนทนากลุ่ม การใช้ข้อมูลจาก web และการใช้
ข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ และศึกษาวิธีการรับฟังที่
เหมาะสมสาหรับผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ
อะไรคือข้อมูลความต้องการที่ได้รับและสามารถ
นามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาได้
ติดตามว่ามีการดาเนินการตอบสนองอย่างไร
อะไรคือตัวอย่างของความต้องการด้านสุขภาพที่ นาความต้องการดังกล่าวมาออกแบบบริการที่
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 16
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ประชาชนอาจไม่รับทราบ เช่น พฤติกรรมสุขภาพ
ต่างๆ
สอดคล้องกับปัญหา
อะไรที่ข้อมูลที่สะท้อนความต้องการลึกๆ ของ
ผู้ป่วย
ทบทวนว่ารับรู้ข้อมูลดังกล่าวด้วยวิธีการใด มีการ
ตอบสนองอย่างไร
แนวโน้มที่เปลี่ยนไปของความต้องการและความ
คาดหวังของผู้ป่วยคืออะไร
ทาความเข้าใจกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมการรองรับ
และปรับระบบบริการ
(3) องค์กรใช้ความเห็นและเสียงสะท้อนของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อเป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้รับผลงานมากขึ้น
, ตอบสนองความต้องการและทาให้ผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน พึงพอใจมากขึ้น, และเพื่อค้นหาโอกาสสร้างนวตกรรม.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
โอกาสง่ายๆ ในการทาให้เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผู้ป่วย
มากขึ้นมีอะไรบ้าง
สร้างความตื่นตัวให้มีการปฏิบัติอย่างทั่วถึง
โอกาสสร้างนวตกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการ
ของผู้รับบริการมีอะไรบ้าง
ผู้นาให้การสนับสนุนเพื่อสร้างนวตกรรมดังกล่าว
มีระบบในการประมวลผลความเห็นและเสียง
สะท้อนของผู้ป่วยอย่างไร
สร้างความมั่นใจว่ามีระบบ ดาเนินการอย่าง
สม่าเสมอ และส่งข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้อง
(4) องค์กรปรับปรุงวิธีการรับฟังและเรียนรู้ให้ทันความต้องการของผู้เกี่ยวข้องและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของ
บริการสุขภาพ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
เสียงสะท้อนของผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับวิธีการรับฟัง
ผู้รับบริการเป็นอย่างไร
นาข้อคิดเห็นมาพิจารณาปรับปรุงวิธีการรับฟัง
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 17
I-3.2 ควำมสัมพันธ์และควำมพึงพอใจของผู้รับผลงำน (PCF.2)
องค์กรสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธา ความพึงพอใจ และ
ความร่วมมือ. มีการประเมินและนาข้อมูลความพึงพอใจของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานมาใช้ปรับปรุงการ
ดาเนินงาน.
ก. การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน
(1) องค์กรสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน เพื่อตอบสนองความต้องการ, เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธา,
และเพื่อให้ได้รับความร่วมมือ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
สมมติเป็นผู้ป่วย หรือเดินตามหลังผู้ป่วยไปตามจุด
บริการต่างๆ พิจารณาว่าผู้รับบริการมีความรู้สึก
อย่างไรต่อปฏิสัมพันธ์ที่ผู้ให้บริการ ณ จุดต่างๆ
แสดงออกต่อตน
ทบทวนแนวทางปฏิบัติของผู้ให้บริการ ณ จุดต่างๆ
ซึ่งง่ายต่อการปฏิบัติและส่งผลดีต่อการสร้าง
ความสัมพันธ์
กลุ่มต่างๆ ที่ได้รับบริการหรือการสนับสนุนจาก
รพ. มีข้อเสนอแนะอย่างไรต่อความสัมพันธ์กับ รพ.
นาข้อเสนอแนะไปดาเนินการ
อะไรคือโอกาสสร้างความสัมพันธ์กับหน่วงานและ
องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
นาโอกาสไปดาเนินการ
ผู้ป่วยกลุ่มใดที่ต้องการความร่วมมือในการ
บาบัดรักษาสูงหรือมากกว่าที่เป็นอยู่
เรียนรู้จากผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวเพื่อหาวิธีการที่
เหมาะสมในการเพิ่มความร่วมมือ
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นศรัทธาของผู้รับบริการ
มีอะไรบ้าง
ดาเนินการปรับปรุงตามปัจจัยดังกล่าว
(2) มีช่องทางสาหรับให้ผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน ค้นหาข้อมูลข่าวสาร ขอรับบริการ และเสนอข้อร้องเรียน. องค์กรจัดทา
ข้อกาหนดที่พึงปฏิบัติสาหรับช่องทางการติดต่อแต่ละรูปแบบและสร้างความมั่นใจว่าข้อกาหนดดังกล่าวได้รับการ
นาไปปฏิบัติโดยบุคลากรทุกคนและในทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง. มีการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะในการ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริการและคุณภาพบริการ
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ช่องทางการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพและ
บริการของ รพ. มีอะไรบ้าง
ทบทวนประสิทธิภาพของช่องทางที่มีอยู่เดิม
พิจารณาเพิ่มช่องทางการค้นหาข้อมูลทาง internet
ซึ่งมีข้อมูลต่างๆ ที่ผู้รับบริการต้องการ
ช่องทางการได้รับบริการจาก รพ. มีอะไรบ้าง ทบทวนประสิทธิภาพของช่องทางที่มีอยู่เดิม
พิจารณาเพิ่มช่องทางการขอรับบริการด้วยระบบ
นัด และช่องทางให้บริการต่างๆ เช่น การให้
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 18
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
คาปรึกษาทางโทรศัพท์ การให้บริการร่วมกับชุมชน
ฯลฯ
ช่องทางการเสนอข้อร้องเรียนต่อ รพ. มีอะไรบ้าง ทบทวนประสิทธิภาพของช่องทางที่มีอยู่เดิม
พิจารณาเพิ่มช่องทางในการเสนอข้อร้องเรียนที่
สะดวก
มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพบริการต่อ
สาธารณะอะไรบ้าง
ทบทวนว่าข้อมูลดังกล่าวมีส่วนช่วยให้ประชาชน
เข้าใจระดับคุณภาพและความพยายามในการ
พัฒนาคุณภาพของ รพ.เพิ่มขึ้นหรือไม่ มีความ
สมดุลในข้อมูลด้านต่างๆ หรือไม่
(3) องค์กรจัดการกับคาร้องเรียนของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อให้มีการแก้ไขอย่างได้ผลและทันท่วงที. มีการรวบรวม
และวิเคราะห์คาร้องเรียนเพื่อใช้ในการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ผลการวิเคราะห์คาร้องเรียนของผู้รับบริการเป็น
อย่างไร
นามาจัดลาดับความสาคัญ สื่อสาร เพื่อให้มีการ
ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งทบทวนการนาไป
ตอบสนอง
ขั้นตอนใดบ้างที่ยังมีจุดอ่อนในระบบการจัดการกับ
คาร้องเรียน ความรวดเร็วในการตอบสนองเป็น
อย่างไร
ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบจัดการกับคา
ร้องเรียนตามผลการวิเคราะห์
อะไรคือคาร้องเรียนที่สะท้อนถึงจุดอ่อนในระบบ
การดูแลผู้ป่วยของ รพ.
PCT นาคาร้องเรียนดังกล่าวมาพิจารณาปรับปรุง
อะไรคือคาร้องเรียนที่เกิดขึ้นซ้าๆ และไม่มีแนวโน้ม
ลดลง
ทีมนาสนับสนุนให้วิเคราะห์สาเหตุเชิงระบบและ
นามาปรับปรุง
(4) องค์กรปรับปรุงวิธีการสร้างความสัมพันธ์และช่องทางการติดต่อกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน ให้ทันกับความต้องการ
ของผู้เกี่ยวข้องและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของบริการสุขภาพ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
อะไรคือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ เทคโนโลยีการสื่อสาร แนวโน้มของ
ผู้รับบริการที่เปลี่ยนแปลงไป ปัญหาสุขภาพที่
เปลี่ยนแปลงไป ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และ
ผู้รับบริการ
พิจารณาว่าจะปรับปรุงวิธีการสร้างความสัมพันธ์
และช่องทางการติดต่อกับผู้รับบริการอย่างไร
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 19
ข. การประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน
(1) มีการประเมินความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน และใช้ข้อมูลนี้เพื่อปรับปรุงการ
ดาเนินงาน. วิธีการวัดผลเหมาะสมกับกลุ่มผู้ป่วย / ผู้รับผลงานแต่ละกลุ่ม และได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการ
นาไปปรับปรุง.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ข้อมูลสาคัญที่ได้จากการประเมินความพึงพอใจ
และความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการมีอะไรบ้าง
ทบทวนว่ามีการตอบสนองอย่างไร ดาเนินการ
เพิ่มเติมตามความเหมาะสม
(2) มีการติดตามผลหลังการเข้ารับบริการจากผู้ป่วย / ผู้รับผลงานทันที เพื่อให้ได้รับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับคุณภาพ
บริการที่เป็นประโยชน์ในการนาไปปรับปรุง.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ข้อมูลสาคัญที่ได้จากการติดตามผลหลังการเข้ารับ
บริการทันทีมีอะไรบ้าง
ทบทวนว่ามีการตอบสนองอย่างไร ดาเนินการ
เพิ่มเติมตามความเหมาะสม
(3) องค์กรปรับปรุงวิธีการประเมินความพึงพอใจให้ทันกับความต้องการของผู้เกี่ยวข้องและทิศทางการเปลี่ยนแปลง
ของบริการสุขภาพ
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
มีโอกาสปรับปรุงวิธีการประเมินความพึงพอใจและ
การติดตามผลหลังเข้ารับบริการอะไรบ้าง
ปรับปรุงตามความเหมาะสม
SPA in Action (Part I)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 20
I-3.3 สิทธิผู้ป่วย (PCF.3)
องค์กรตระหนักและให้การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย.
ก. คาประกาศสิทธิผู้ป่วย
(1) ผู้ป่วยได้รับการคุ้มครองตามคาประกาศสิทธิผู้ป่วยขององค์กรวิชาชีพและกระทรวงสาธารณสุข
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ในคาประกาศสิทธิผู้ป่วย 10 ประการ ที่องค์กร
วิชาชีพและกระทรวงสาธารณสุขประกาศไว้ มีสิทธิ
ผู้ป่วยด้านใดบ้างที่ยังไม่ชัดเจนในแนวทางปฏิบัติ
หรือยากลาบากในการปฏิบัติ
ร่วมกันจัดทาแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน
โอกาสที่ผู้รับบริการจะไม่ได้รับทราบข้อมูล หรือไม่
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ หรือได้รับข้อมูลใน
ลักษณะที่ทาให้เกิดการตัดสินใจอย่างไม่เหมาะสมมี
อะไรบ้าง
ทีมที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนทางการให้ข้อมูลใน
สถานการณ์ดังกลลล่าวอย่างเหมาะสม
ข. กระบวนการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
(1) องค์กรสร้างหลักประกันว่าผู้ปฏิบัติงานมีความตระหนักและทราบบทบาทของตนในการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย และมี
ระบบพร้อมที่จะตอบสนองเมื่อผู้ป่วยขอใช้สิทธิ.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ความเชื่อและเจตคติที่ต้องการปลูกฝังให้แก่
ผู้ปฏิบัติงานในเรื่องสิทธิผู้ป่วยคืออะไร
ประเมินว่าผู้ปฏิบัติงานมีความเชื่อและเจตคติที่
ต้องการเพียงใด จะปลูกฝังอย่างไร
การปฏิบัติง่ายๆ ที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถกระทาได้
ในชีวิตประจาวันในเรื่องสิทธิผู้ป่วยคืออะไรบ้าง
หาวิธีทาให้เป็นเรื่องง่าย เป็นเรื่องปกติ มีการ
สะท้อนกลับหรือแลกเปลี่ยนอย่างสม่าเสมอ
การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยที่ต้องประสานงานกันหลาย
ฝ่าย ต้องมีระบบหรือขั้นตอนมารองรับมีอะไรบ้าง
ออกแบบระบบให้พร้อมที่จะตอบสนอง
(2) ผู้ป่วยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ในลักษณะที่เข้าใจได้ง่าย.
คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง
ผู้ปวยนอกควรได้รับรู้สิทธิและหน้าที่ในเรื่อง
อะไรบ้าง
ประเมินระบบงาน การรับรู้ และนาไปปรับปรุง
ผู้ป่วยในควรได้รับรู้สิทธิและหน้าที่ในเรื่องอะไรบ้าง ประเมินระบบงาน การรับรู้ และนาไปปรับปรุง
ผู้ป่วยผ่าตัดควรได้รับรู้สิทธิและหน้าที่ในเรื่อง ประเมินระบบงาน การรับรู้ และนาไปปรับปรุง
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล

More Related Content

What's hot

4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
Suradet Sriangkoon
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
nhs0
 
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSpa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSuradet Sriangkoon
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
softganz
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัว
Chuchai Sornchumni
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Prachaya Sriswang
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSpa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัว
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 

Viewers also liked

Business Plan
Business PlanBusiness Plan
Business Plan
Mase Poramase
 
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal BrandingBrand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
Brand Department./ Bangkok University
 
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
monsadako
 
How to set up brand personality?
How to set up brand personality?How to set up brand personality?
How to set up brand personality?
Cholakarn Visutipitakul
 
2009 06 07 brand building for beginer part 3
2009 06 07 brand building for beginer part 32009 06 07 brand building for beginer part 3
2009 06 07 brand building for beginer part 3
Cholakarn Visutipitakul
 
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...Faii Kp
 
ใบความรู้ ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
ใบความรู้  ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1pageใบความรู้  ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
ใบความรู้ ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
marketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงmarketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงglenferry
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
Wiriya Boonmalert
 
Cpf case rev1
Cpf case rev1Cpf case rev1
Cpf case rev1
Chatchamon Uthaikao
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
innoobecgoth
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
Wichien Juthamongkol
 
coffee shop market ppt
coffee shop market pptcoffee shop market ppt
coffee shop market ppt
market1234
 
Business plan coffee shop
Business plan coffee shopBusiness plan coffee shop
Business plan coffee shopAmol Kadu
 
Restaurant Business Plan Presentation
Restaurant Business Plan PresentationRestaurant Business Plan Presentation
Restaurant Business Plan Presentation
Mahadi Hasan
 
Business plan for fast food restaurant
Business plan for fast food restaurantBusiness plan for fast food restaurant
Business plan for fast food restaurant
Elizabeth Marcus
 
Business Plan
Business PlanBusiness Plan
Business Plan
Akhil Gupta
 

Viewers also liked (19)

Business Plan
Business PlanBusiness Plan
Business Plan
 
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal BrandingBrand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
 
05
0505
05
 
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
 
How to set up brand personality?
How to set up brand personality?How to set up brand personality?
How to set up brand personality?
 
2009 06 07 brand building for beginer part 3
2009 06 07 brand building for beginer part 32009 06 07 brand building for beginer part 3
2009 06 07 brand building for beginer part 3
 
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
 
ใบความรู้ ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
ใบความรู้  ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1pageใบความรู้  ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
ใบความรู้ ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
 
marketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงmarketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดง
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
Cpf case rev1
Cpf case rev1Cpf case rev1
Cpf case rev1
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
coffee shop market ppt
coffee shop market pptcoffee shop market ppt
coffee shop market ppt
 
Business plan coffee shop
Business plan coffee shopBusiness plan coffee shop
Business plan coffee shop
 
Restaurant Business Plan Presentation
Restaurant Business Plan PresentationRestaurant Business Plan Presentation
Restaurant Business Plan Presentation
 
Business plan for fast food restaurant
Business plan for fast food restaurantBusiness plan for fast food restaurant
Business plan for fast food restaurant
 
Business Plan
Business PlanBusiness Plan
Business Plan
 

Similar to Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล

มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
Oldcat4
 
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
Utai Sukviwatsirikul
 
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
เอกลักษณ์ของ  HA  ไทยเอกลักษณ์ของ  HA  ไทย
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
Theeraphisith Candasaro
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
Utai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าโครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
Vorawut Wongumpornpinit
 

Similar to Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (12)

มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
 
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
 
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
เอกลักษณ์ของ  HA  ไทยเอกลักษณ์ของ  HA  ไทย
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
 
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
 
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
 
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าโครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
 

More from Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
Suradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
Suradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
Suradet Sriangkoon
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
Suradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
Suradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
Suradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
Suradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 

More from Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล

  • 1. SPA in Action (Part I) i คู่มือการนามาตรฐานสู่การปฏิบัติ SPA (Part I) in Action สาหรับมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 2556
  • 2. SPA in Action (Part I) ii คำนำ มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี หรือที่เรียกว่า มาตรฐาน HA/HPH 2006 จัดทาเสร็จสิ้นเมื่อปี พ.ศ. 2549 มีเนื้อหาหลักในด้านคุณภาพและความปลอดภัยในการ ดูแลผู้ป่วยและระบบงานสาคัญของโรงพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพ และคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร โดยรวม เพื่อให้โรงพยาบาลสามารถทาความเข้าใจเนื้อหาของมาตรฐาน สามารถนามาตรฐานไปสู่การปฏิบัติได้ เหมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงพยาบาล สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) จึงได้จัดทาคู่มือ SPAขึ้น เป็นการขยายความกิจกรรมที่ควรดาเนินการสาหรับมาตรฐานแต่ละข้อ โดยอธิบายให้เห็นรูปธรรมของการปฏิบัติ อย่างเป็นขั้นตอน และให้แนวทางการประเมินตนเองอย่างกระชับซึ่งมุ่งให้ตอบเนื้อหาที่ได้จากผลของการปฏิบัติตาม มาตรฐาน SPA in Action Part I นี้เป็นการนาคู่มือ SPA สาหรับมาตรฐานตอนที่ I การบริหารองค์กรในภาพรวม มา จัดทาเป็นคาถามเริ่มต้นเพื่อให้โรงพยาบาลเข้าใจบริบทของตนเอง และนาไปสู่การดาเนินการปรับปรุงที่มีความ เฉพาะเจาะจงสาหรับโรงพยาบาล ทั้งนี้ผู้นาไปปฏิบัติควรนึกถึงวงล้อของระบบงานที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องอัน ได้แก่ PDCA หรือ DALI (Design-Action-Learning-Improvement) อันได้แก่การออกแบบระบบ การปฏิบัติตาม ระบบที่ออกแบบไว้ การกากับติดตาม/ทบทวน/เรียนรู้ และการปรับปรุง การถามหาระบบการกากับติดตามในเรื่อง ต่างๆ นับว่าเป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้วงล้อนี้หมุนไปอย่างต่อเนื่อง สรพ.หวังว่าความเข้าใจและการนามาตรฐานไปสู่การปฏิบัติ จะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่มีคุณภาพและ ความปลอดภัยยิ่งขึ้น รวมทั้งจะมีข้อมูลเชิงปฏิบัติต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) กรกฎาคม 2556
  • 3. SPA in Action (Part I) iii สำรบัญ คานา................................................................................................................................................................ii สารบัญ............................................................................................................................................................iii I-1.1 การนาองค์กรโดยผู้นาระดับสูง (LED.1)......................................................................................................1 I-1.2 การกากับดูแลกิจการและความรับผิดชอบต่อสังคม (LED.2)........................................................................5 I-2.1 การจัดทากลยุทธ์ (STM.1) ........................................................................................................................8 I-2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนาไปปฏิบัติ (STM.2)..........................................................................................12 I-3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน (PCF.1) ............................................................................................15 I-3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับผลงาน (PCF.2)..........................................................................17 I-3.3 สิทธิผู้ป่วย (PCF.3).................................................................................................................................20 I-4.1 การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลงานขององค์กร (MAK.1) .......................................................................24 I-4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการความรู้ (MAK.2) ............................................27 I-5.1 ความผูกพันของบุคลากร (HRF.1)...........................................................................................................31 I-5.2 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (HRF.2).......................................................................................................35 I-6.1 การออกแบบระบบงาน............................................................................................................................40 I-6.2 การจัดการและปรับปรุงกระบวนการทางาน...............................................................................................43
  • 4. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 1 I-1 การนาองค์กร I-1.1 กำรนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง (LED.1) ผู้นาระดับสูงชี้นาองค์กร สื่อสารและส่งเสริมผลการดาเนินงานที่ดี ให้ความมั่นใจในคุณภาพและความ ปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ. ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม (1) ผู้นาระดับสูงกาหนดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม. ผู้นาระดับสูงถ่ายทอดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ผ่านระบบการ นา ไปยังบุคลากรทุกคนและคู่พันธมิตรสาคัญ เพื่อนาไปปฏิบัติ. การปฏิบัติตนของผู้นาระดับสูงสะท้อนถึงความ มุ่งมั่นต่อค่านิยมขององค์กร. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง วิสัยทัศน์ของ รพ.คืออะไร Top-down: ทบทวนในภาพใหญ่ว่าเส้นทางหลักๆ ที่จะไปสู่วิสัยทัศน์นั้นคืออะไร Bottom-up: ชักชวนให้แต่ละหน่วยงานพิจารณาว่า วิสัยทัศน์ดังกล่าวมีความหมายอย่างไรกับ หน่วยงานของตน และหน่วยงานสามารถทาอะไร ได้บ้างเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนสู่ วิสัยทัศน์ ค่านิยมขององค์กรที่เห็นการปฏิบัติอย่างชัดเจน หรือปฏิบัติได้ดี มีอะไรบ้าง ทบทวนและยกตัวอย่างเพื่อสื่อสารให้เกิดความ มั่นใจในการปฏิบัติในวงกว้าง ค่านิยมขององค์กรที่ปฏิบัติได้ยากหรือยังไม่เห็น การปฏิบัติอย่างชัดเจน มีอะไรบ้าง ผู้นาหาวิธีการแสดงตัวอย่างการปฏิบัติในค่านิยม เหล่านี้ ค่านิยมของ HA/HPH ข้อใดที่ไม่ปรากฏในค่านิยม ขององค์กร หาทางเชื่อมค่านิยมเหล่านี้กับค่านิยมขององค์กร และหาทางส่งเสริมให้มีการนาไปปฏิบัติ (2) ผู้นาระดับสูงสร้างสิ่งแวดล้อมขององค์กรที่ส่งเสริม กาหนด และส่งผลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและมี จริยธรรมที่ดี. (นาไปประเมินรวมในหัวข้อ 1.2)
  • 5. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 2 (3) ผู้นาระดับสูงสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการปรับปรุงผลงาน, การบรรลุพันธกิจและวัตถุประสงค์ของ องค์กร, การสร้างนวตกรรม, ความคล่องตัวขององค์กร, การเรียนรู้ในระดับองค์กรและบุคลากร, สัมพันธภาพใน การทางานที่ดี, ความร่วมมือและการประสานบริการ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง สิ่งแวดล้อมและบรรยกาศที่เอื้อต่อการพัฒนาที่ดีอยู่ แล้วมีอะไร ที่ต้องการเพิ่มเติมมีอะไร ทาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้เข้มแข็งขึ้น เติมเต็มสิ่งที่ต้องการ เพิ่มเติม เป้าหมายในแผนยุทธศาสตร์ที่มีโอกาสประสบ ความสาเร็จสูงคืออะไร ที่ต้องใช้ความพยายาม อย่างมากคืออะไร จะสร้างสิ่งแวดล้อมอย่างไรเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุ่มเท เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ท้าทายและต้องใช้ความ พยายาม ปัญหาเก่าๆ ที่ยังคงค้างคาและต้องการวิธีการ ใหม่ๆ ในการแก้ปัญหามีอะไรบ้าง จะส่งเสริมให้มองหาวิธีคิดและหนทางใหม่ๆ ในการ แก้ปัญหาดังกล่าวอย่างไร เงื่อนไข กฎระเบียบและประเพณีปฏิบัติที่ก่อให้เกิด ความไม่คล่องตัวในการปฏิบัติงานมีอะไรบ้าง ส่งผลอย่างไร ผู้นาพิจารณาว่าจะลดเงื่อนไข หรือปรับเปลี่ยน กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคอย่างไร ตัวอย่างการเรียนรู้จากงานประจามีอะไรบ้าง ส่งเสริมให้เกิดการตั้งคาถามเพื่อเรียนรู้จากงาน ประจาและค้นหาความรู้ที่จาเป็นให้มากขึ้น บทเรียนขององค์กรที่จะมีประโยชน์ในการทางาน ใหญ่ๆ หรือทางานเชิงกลยุทธ์ให้สาเร็จมีอะไรบ้าง นาบทเรียนดังกล่าวมาใช้ในการตัดสินใจและสร้าง การเรียนรู้ในระดับองค์กรเพื่อขับเคลื่อนงานเชิงกล ยุทธ์ ตัวอย่างสัมพันธ์ภาพที่ดีในการทางานมีอะไรบ้าง จะส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีให้ดียิ่งขึ้น และนาไป ปรับในส่วนที่ยังมีปัญหาอย่างไร บริการหรือแผนงาน/โครงการที่ต้องการความ ร่วมมือและการประสานงานสูงมีอะไร ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและการประสานงานที่ เหมาะสมกับลักษณะงาน (4) ผู้นาระดับสูงสร้างและส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง เป้าหมายความปลอดภัยผู้ป่วยมีอะไรบ้าง ติดตามการปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนดไว้ ปรับปรุงเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ดีขึ้น ช่องทางการรับรู้เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่ใช้เป็น หลักคืออะไร มีช่องทางอะไรอีกที่ยังไม่ได้ใช้เต็มที่ หาทางใช้ช่องทางที่ยังไม่ได้ใช้เต็มที่ให้มากขึ้น ผู้นาใช้ช่องทางใดในการสื่อสารเพื่อให้เกิดความ มั่นใจว่าผู้นามุ่งมั่นปรับปรุงที่ระบบมากกว่าการ กล่าวโทษตัวบุคคล ทบทวนว่าช่องทางนั้นได้ผลเพียงใด พิจารณาว่า สมควรทดลองวิธีการอื่นๆ หรือไม่ แล้วทดลองทา
  • 6. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 3 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง อะไรคือตัวอย่างการทา RCA ที่ดีที่สุด 2-3 เรื่อง ร่วมกันทบทวนว่าการวิเคราะห์นั้นได้ถึง root cause หรือไม่ จะมีแนวทางปรับปรุงให้ดีขึ้น อย่างไร วิธีการที่สมาชิกสื่อสารกันภายในทีมเกี่ยวกับเรื่อง ความเสี่ยงคืออะไร ร่วมกันทบทวนว่าเป็นการสื่อสารที่เพียงพอหรือไม่ ควรเพิ่มโอกาสและวิธีการในการสื่อสารให้บ่อยขึ้น อย่างไร โดยไม่เป็นภาระของผู้ปฏิบัติ ผลการสารวจ patient safety culture survey เป็น อย่างไร นาประเด็นที่ได้รับมาพิจารณาว่าจะปรับปรุง อย่างไร ขอให้นึกถึงอุบัติการณ์รุนแรงที่สุดที่เคยเกิดขึ้น ผู้คนตอบสนองต่อเหตุการณ์ดังกล่าวอย่างไร ทบทวนว่าการตอบสนองดังกล่าวนั้นส่งผลดีหรือ ผลเสียต่อการแก้ไขและป้องกันปั้ญหา ความเชื่อ และความกล้าที่จะเปิดเผยข้อมูล รวมถึงผลต่อ วัฒนธรรมความปลอดภัยในระยะยาว แล้วกาหนด แนวทางตอบสนองที่เหมาะสมยิ่งขึ้น มีการปรับปรุงระบบงานอะไรที่เป็นผลมาจากการ ทบทวนเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ เรียนรู้ว่าการปรับปรุงดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไร หาทางส่งเสริมให้เกิดมากขึ้น อะไรเป็นการเปลี่ยนแปลงสาคัญที่เกิดจากการ เยี่ยมหน้างานของผู้นา ส่งเสริมให้ผู้นาได้ไปเยี่ยมหน้างานเพื่อพูดคุยเรื่อง ความปลอดภัยอย่างสม่าเสมอ และตอบสนองต่อ สถานการณ์หรือความต้องการการช่วยเหลืออย่าง ฉับพลัน
  • 7. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 4 ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร (1) ผู้นาระดับสูงสื่อสารกับบุคลากร, ให้อานาจการตัดสินใจ, และจูงใจบุคลากรทุกคนทั่วทั้งองค์กร. ผู้นาระดับสูง กระตุ้นให้เกิดการสื่อสารสองทางที่ตรงไปตรงมาทั่วทั้งองค์กร. ผู้นาระดับสูงมีบทบาทเชิงรุกในการให้รางวัลและ การยกย่องชมเชย เพื่อหนุนเสริมการมุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน, การมุ่งเน้นคุณภาพและความปลอดภัยในการ ดูแลผู้รับบริการ, และการมุ่งเน้นผลงานที่ดี. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ขอตัวอย่างเรื่องที่จะต้องสื่อสารกับบุคลากรให้เกิด ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ทบทวนว่าผู้นาสื่อสารกับบุคลากรอย่างไร ได้ผล หรือไม่ ควรปรับปรุงวิธีการสื่อสารอย่างไร อะไรคือช่องทางการสื่อสารสองทางที่ได้ผล หาทางขยายผลการสื่อสารในลักษณะดังกล่าว ควรเสริมพลังให้ผู้ปฏิบัติงานตัดสินใจด้วยตนเองใน เรื่องอะไรเพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่ สนับสนุนข้อมูลข่าวสาร แนวทาง ทรัพยากร และ ความมั่นใจ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานเพื่อการตัดสินใจที่ รวดเร็วและตอบสนองความต้องการของ ผู้รับบริการ ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมอะไรที่จะทาให้ผู้ปฏิบัติงาน ต้องการพัฒนากระบวนการทางานของตน ส่งเสริมปัจจัยและสิ่งแวดล้อมดังกล่าว การให้รางวัลและแรงจูงใจที่ให้ผลดีสาหรับบุคลากร แต่ละกลุ่มคืออะไร เชื่อมโยงการให้รางวัลดังกล่าวกับการมุ่งเน้นผู้ป่วย การทางานที่มีผลงานดี มีคุณภาพและปลอดภัย (2) ผู้นาระดับสูงกาหนดจุดเน้นที่การปฏิบัติเพื่อปรับปรุงผลงาน การบรรลุวัตถุประสงค์และวิสัยทัศน์ขององค์กร รวมทั้งระดับความคาดหวังในจุดเน้นดังกล่าว. ผู้นาระดับสูงทบทวนตัวชี้วัดผลการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอเพื่อ ระบุการดาเนินการที่จาเป็น. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง อะไรคือจุดเน้นที่ต้องการให้มีการปฏิบัติอย่าง จริงจัง จุดเน้นดังกล่าวได้มาจากการพิจารณาข้อมูล อะไรบ้าง มีการกาหนดระดับที่คาดหวังชัดเจน หรือไม่ มีความตื่นตัวในการนาไปปฏิบัติอย่างไร ผลลัพธ์เปลี่ยนแปลงไปตามเป้าหมายที่คาดไว้ หรือไม่ หาทางทาให้เกิดความตื่นตัวในการปฏิบัติเพื่อให้ ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่คาดหวัง
  • 8. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 5 I-1.2 กำรกำกับดูแลกิจกำรและควำมรับผิดชอบต่อสังคม (LED.2) องค์กรแสดงถึงระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ สร้างความมั่นใจว่ามีการ ดาเนินงานอย่างมีจริยธรรม และมีส่วนสนับสนุนต่อสุขภาพของชุมชน. ก. การกากับดูแลกิจการ (1) องค์กรทบทวนและแสดงให้เห็นระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี ในด้านความรับผิดชอบต่อการกระทาของ ผู้บริหาร, ความรับผิดชอบด้านการเงิน, ความโปร่งใสในการดาเนินงาน, การตรวจสอบที่เป็นอิสระทั้งภายในและ ภายนอก, และการพิทักษ์ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง กลไกกากับดูแลการทางานของผู้บริหารสูงสุดคือ อะไร ทบทวนให้เกิดความชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าการกากับดูแลนั้นผ่านมาตามสายการบังคับ บัญชาหลายชั้น ทาให้เกิดความชัดเจนในเรื่อง การทาสัญญาข้อตกลง การรายงานต่อผู้กากับ ดูแล และการสนองตอบต่อรายงาน อะไรคือความเสี่ยงต่อข้อครหาในเรื่องความโปร่งใส ในการดาเนินงานขององค์กรและการตัดสินใจของ ผู้บริหาร วางมาตรการเพื่อให้เกิดความมั่นใจในความ โปร่งใสสาหรับเรื่องเหล่านั้น ข้อเสนอแนะสาคัญจากผลการตรวจสอบภายในใน รอบปีที่ผานมามีอะไรบ้าง ทาให้มั่นใจว่ามีการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ อย่างเหมาะสม ข้อเสนอแนะสาคัญจากผลการตรวจสอบภายนอกมี อะไรบ้าง ทาให้มั่นใจว่ามีการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ อย่างเหมาะสม อะไรคือผลประโยชน์ที่องค์กรต้องพิทักษ์ให้แก่ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียสาคัญ วางมาตรการพิทักษ์ผลประโยชน์อย่างเหมาะสม เสียงสะท้อนและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วน เสียต่อผู้บริหารมีอะไรบ้าง ตอบสนองต่อเสียงสะท้อนดังกล่าวอย่างเหมาะสม (2) องค์กรประเมินผลงานของผู้นาทุกระดับ. ผู้นาระดับสูงใช้ผลการทบทวนเหล่านี้ไปปรับปรุงประสิทธิผลของผู้นา แต่ละคน และประสิทธิผลของระบบการนา. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง Managerial competency ของผู้นาที่องค์กรให้ ความสาคัญมีอะไรบ้าง นาไปใช้ในการประเมินและปรับปรุง
  • 9. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 6 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ผู้นาให้ความหมายของประสิทธิผลของระบบการ นาว่าอย่างไร อะไรคือประเด็นสาคัญที่ผู้นามุ่งเน้น ทบทวนในกลุ่มผู้นาและรับเสียงสะท้อนจาก บุคลากรต่อประเด็นต่างๆ ที่ผู้นาให้ความสาคัญ เพื่อนามาสู่การปรับปรุง ข. พฤติกรรมที่ปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม (1) องค์กรระบุและคาดการณ์ถึงความเสี่ยง / ผลกระทบด้านลบต่อสังคม และความกังวลของสาธารณะ เนื่องมาจาก บริการ / การดาเนินงานขององค์กร. องค์กรมีการเตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าว รวมถึงการใช้กระบวนการ ที่ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและรักษาสิ่งแวดล้อม. มีการกาหนดกระบวนการ ตัวชี้วัด และเป้าหมายสาคัญ เพื่อให้ มีการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย รวมทั้งลดความเสี่ยงหรือผลกระทบด้านลบเหล่านั้น. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง อะไรคือความเสี่ยงหรือผลกระทบด้านลบสาคัญที่มี ต่อสังคม จากการให้บริการของ รพ. เตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าว โดยกาหนด เป้าหมายที่ชัดเจน อะไรคือความกังวลของประชาชนหรือสาธารณชน ต่อการให้บริการของ รพ. เตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าว โดยกาหนด เป้าหมายที่ชัดเจน ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของ รพ.ในแต่ละปีเป็น อย่างไร เพิ่มขึ้นในอัตราเท่าใด วางมาตรการในการประหยัดพลังงานที่ได้ผล การใช้ทรัพยากรใดที่มีโอกาสจะลดลงได้โดยไม่มี ผลเสียต่อการบริการผู้ป่วย ร่วมรณรงค์เพื่อลดการใช้ทรัพยากรดังกล่าว รพ.ปล่อยของเสียหรือสร้างการรบกวนต่อ สิ่งแวดล้อมอะไรบ้าง ตรวจสอบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานที่ กฎหมายกาหนด และปรับปรุง มีข้อบังคับหรือกฎหมายอะไรที่ รพ.ยังไม่สามารถ ปฏิบัติตามได้ หรือยังไม่ได้ทบทวนว่ามีการปฏิบัติ ตามเพียงใด ทบทวนและปรับปรุง (2) องค์กรส่งเสริมและสร้างความมั่นใจว่าจะมีพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในปฏิสัมพันธ์ทุกกรณี มีการติดตามกากับ และ ดาเนินการต่อพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนหลักจริยธรรม. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง รพ.มีความเสี่ยงด้านจริยธรรมของผู้ปฏิบัติงานและ ผู้บริหารอย่างไรในประเด็นต่อไปนี้ การคิด ค่าบริการ การส่งตรวจโดยได้รับค่าตอบแทนพิเศษ การสั่งยาหรือสั่งการรักษาที่เกินความจาเป็น การ กาหนดนโยบายที่ชัดเจน จัดให้มีแนวทางป้องกัน ป้องปราม ติดตามกากับ และดาเนินการอย่าง เหมาะสมเมื่อมีการฝ่าฝืนหลักจริยธรรม
  • 10. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 7 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ประชาสัมพันธ์ การตัดสินใจรับไว้/ส่งต่อ รพ.จัดบริการที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาจริยธรรม อะไรบ้าง เช่น การรักษาผู้มีบุตรยาก การปลูกถ่าย อวัยวะ การผ่าตัดแปลงเพศ วางแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและรัดกุมเพื่อป้องกัน ปัญหาดังกล่าว กรณีที่ยากต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบวิชาชีพ เนื่องจากความไม่ลงตัวระหว่างมุมมองต่างๆ มี อะไรบ้าง (เช่น การตัดสินใจการยุติการรักษา การ เลือกช่วยชีวิตคนหนึ่งแต่ต้องสละโอกาสช่วยชีวิต อีกคนหนึ่ง) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ในด้านนั้นๆ จริยธรรมวิชาชีพต่อไปนี้ เรื่องใดที่ยังเป็นโอกาส พัฒนา: การรักษาความลับ, การเปิดเผยข้อเท็จจริง , การหลีกเลี่ยงผลประโยชน์ทับซ้อน, การยึดมั่นใน ความรับผิดชอบของวิชาชีพ ส่งเสริมให้วิชาชีพจัดเวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนเพื่อ ร่วมกันกาหนดแนวทางปฏิบัติที่ดี
  • 11. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 8 I – 2 การบริหารเชิงกลยุทธ์ I-2.1 กำรจัดทำกลยุทธ์ (STM.1) องค์กรกาหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เพื่อตอบสนองกับความท้าทายขององค์กร และ สร้างความเข้มแข็งให้กับการดาเนินงานขององค์กร. ก. กระบวนการจัดทากลยุทธ์ (1) ผู้นาระดับสูง ด้วยความร่วมมือของบุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสาคัญ ดาเนินการวางแผนกลยุทธ์ตาม ขั้นตอนและใช้กรอบเวลาที่เหมาะสม. มีการวิเคราะห์และกาหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์และข้อได้เปรียบของ องค์กร. มีกระบวนการที่ช่วยให้องค์กรทราบถึงจุดอ่อนหรือจุดด้อยสาคัญที่อาจถูกมองข้าม. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง มีการกาหนดจังหวะเวลาและขั้นตอนของการ ทบทวนแผนกลยุทธ์ในแต่ละปีอย่างชัดเจนหรือไม่ เตรียมข้อมูล เตรียมคน ให้พร้อมที่จะทบทวนแผน กลยุทธ์ตามกาหนดเวลา อะไรคือความท้าทายเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ทบทวนว่าความท้าทายนั้นเป็นประเด็นที่มี ความสาคัญต่อความสาเร็จขององค์กรในอนาคต เพียงใด มีประเด็นอื่นสาคัญกว่าหรือไม่ อะไรคือข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ทบทวนว่าข้อได้เปรียบนั้นเป็นประเด็นที่มี ความสาคัญจริงหรือไม่ มีประเด็นอื่นสาคัญกว่า หรือไม่ วันนี้เราเรียนรู้อะไร ที่เราไม่เคยรู้มาก่อนเมื่อ 5 ปีที่ แล้ว นาสิ่งที่รู้ไปใช้ประโยชน์ในการทา/ปรับแผนกลยุทธ์ หาวิธีทาให้รู้ในสิ่งเหล่านี้ได้เร็วขึ้น คนอื่นมีการเตรียมตัวอย่างไร ในสิ่งที่เราไม่ได้ เตรียมตัวไว้ก่อน รีบปรับตัวในสิ่งที่เราไม่ได้เตรียมตัว หาวิธีรู้ให้เร็ว ขึ้นว่าคนอื่นเตรียมตัวล่วงหน้าอย่างไร มีความผิดพลาดหรือการเสียโอกาสอะไรที่ดูเหมือน จะเกิดซ้าได้อีก วางแนวทางป้องกันความผิดพลาดหรือการเสีย โอกาส วัฒนธรรมของเรามีข้อจากัดอะไร หาทางปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมที่เป็นข้อจากัด ประเด็นอะไรที่เป็นเรื่องที่นามาพูดคุยกันไม่ได้ใน องค์กรแห่งนี้ หาเวทีที่จะทาให้พูดคุยเรื่องเหล่านี้ได้อย่าง ปลอดภัย แผนกลยุทธ์ซึ่งจัดทาขึ้นเมื่อหลายปีก่อนมีความ เหมาะสมเพียงใด ทาให้แผนกลยุทธ์มีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม ตลอดเวลา
  • 12. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 9 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง มีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างที่เราไม่ได้เตรียมตัว รับมือไว้สาหรับอนาคต ปรับแผนให้ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง คาดการณ์ ล่วงหน้าว่าจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงอีก อะไรคือศักยภาพหรือจุดอ่อนที่เราเคยมองข้ามไป นาจุดที่เรามองไม่เห็นมาทบทวนแผนกลยุทธ์ ทบทวนวิธีการที่ช่วยให้เรามองเห็น blind spot เพื่อการทาแผนที่ดีขึ้น (2) ในกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ มีการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของผู้รับบริการ / ชุมชนที่ รับผิดชอบ, จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส สิ่งคุกคามขององค์กร รวมทั้งปัจจัยสาคัญอื่นๆ และความสามารถในการนา แผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง อะไรคือปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพที่เป็น ความท้าทายสาคัญ ทบทวนว่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด และกลยุทธ์ที่วางไว้ จะนาไปสู่การเอาชนะความท้าทายนั้นได้เพียงใด อะไรคือจุดแข็งสาคัญขององค์กร 3 ประการ ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรได้ใช้จุดแข็งนั้น อย่างไร อะไรคือจุดอ่อนสาคัญขององค์กร 3 ประการ ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรมีแนวทางปิดจุดอ่อน นั้นอย่างไร อะไรคือสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาสสาคัญ ขององค์กร 3 ประการ ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรได้ใช้โอกาสนั้น อย่างไร อะไรคือสิ่งแวดล้อมภายนอกที่คุกคามองค์กร ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรตอบสนองต่อสิ่ง คุกคามนั้นอย่างไร มุมมอง/ความคาดหวังของผู้รับบริการ/ชุมชนเป็น อย่างไร ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรตอบสนองต่อความ คาดหวังดังกล่าวนั้นอย่างไร สภาพแวดล้อมด้านความร่วมมือ การแข่งขัน และ ความสามารถขององค์กรที่ให้บริการในพื้นที่ เดียวกันหรือมีลักษณะคล้ายกันเป็นอย่างไร ทบทวนว่าองค์กรใช้กลยุทธ์อะไรเพื่อตอบสนองต่อ สภาพแวดล้อมดังกล่าว นวตกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีที่ อาจมีผลต่อการจัดบริการมีอะไรบ้าง ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรใช้ประโยชน์จากนว ตกรรมและเทคโนโลยีดังกล่าวอย่างไร ความต้องการขององค์กรในด้านบุคลากรและ ทรัพยากรอื่นๆ เป็นอย่างไร ทบทวนว่าองค์กรใช้กลยุทธ์อะไรเพื่อให้ได้บุคลากร และทรัพยากรดังกล่าว โอกาสปรับเปลี่ยนการใช้ทรัพยากรไปสู่บริการหรือ กิจกรรมที่มีความสาคัญสูงกว่า ทบทวนว่าองค์กรให้ความสาคัญหรือปรับเปลี่ยน วิธีการใช้ทรัพยากรอย่างไร อะไรคือความเสี่ยงด้านการเงิน สังคม จริยธรรม ทบทวนว่าองค์กรมีกลยุทธ์เพื่อรองรับความเสี่ยง
  • 13. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 10 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ระเบียบข้อบังคับ เทคโนโลยี ต่างๆ ดังกล่าวอย่างไร ความสามารถในการป้องกันและตอบสนองต่อภาวะ ฉุกเฉิน ทบทวนว่าองค์กรมีกลยุทธ์เพื่อเตรียมความพร้อม อย่างไร สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปของระบบบริการสุขภาพ และเศรษฐกิจ ทบทวนว่ากลยุทธ์ขององค์กรจะรองรับการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อย่างไร ปัจจัยอื่นๆ ที่มีความเฉพาะเจาะจงสาหรับองค์กร ทบทวนว่าองค์กรมีกลยุทธ์อะไรต่อปัจจัยดังกล่าว อะไรที่จะเป็นอุปสรรคต่อการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ เช่น ทรัพยากร ความรู้ ความคล่องตัว การ เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน วางแผนว่าจะพัฒนาความสามารถขององค์กรเพื่อ ฝ่าฟันอุปสรรคดังกล่าวอย่างไร ข. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (1) มีการจัดทาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สาคัญ และกรอบเวลาที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เหล่านั้น. (นาเสนอวัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์สาคัญ) คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง อะไรคือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สาคัญที่จะบรรลุ ในช่วง 1-2 ปีข้างหน้า ทบทวนความเป็นไปได้ที่จะบรรลุตามกาหนดเวลา และความเชื่อมโยงกับพันธกิจขององค์กร อะไรคือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สาคัญที่จะบรรลุใน 3-5 ปีข้างหน้า ทบทวนว่าเหมาะสมที่จะใช้เป็นเป็นทิศทางระยะ ยาวขององค์กร เป็นสิ่งที่องค์กรต้องบรรลุเพื่อให้ สามารถอยู่รอดได้ในระยะยาวหรือไม่ (2) วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตอบสนองต่อความท้าทายที่สาคัญและใช้ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ขององค์กร, ตอบสนองต่อสถานะสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของชุมชนหรือกลุ่มประชากรที่ให้บริการ และมีส่วนต่อ ผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้น. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง อะไรคือความท้าทายเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ทบทวนว่าวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ตอบสนองต่อ ความท้าทายดังกล่าวเพียงใด อะไรคือข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ทบทวนว่ามีการนาข้อได้เปรียบดังกล่าวมาใช้ใน การจัดทากลยุทธ์เพียงใด อะไรคือปัญหาหรือความต้องการด้านสุขภาพที่ สาคัญของชุมชน/ผู้รับบริการ ทบทวนว่าวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ตอบสนองต่อ ปัญหาหรือความต้องการดังกล่าวอย่างไร จะทาให้ ผลลัพธ์สุขภาพในปัญหาหรือความต้องการดังกล่าว
  • 14. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 11 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ดีขึ้นอย่างไร ประเด็นต่อไปนี้มีความสาคัญที่จะนาไปสู่ ความสาเร็จขององค์หรือไม่: การเข้าถึง, การปรับ บริการให้เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละราย, ขีด ความสามารถและความเพียงพอของบุคลากร, การ สร้างนวตกรรมอย่างรวดเร็ว, การบริหาร ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย, การใช้เวชระเบียน อิเล็คโทรนิคและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คุณภาพ และความปลอดภัย, การตอบสนองอย่างรวดเร็ว, การให้บริการในลักษณะบูรณาการ, การให้บริการที่ มีต้นทุนต่า, การสร้างพันธมิตรและแนวร่วมใหม่ๆ นาประเด็นที่สาคัญมาพิจารณากาหนดเป็น วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (3) วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพมุ่งที่ผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้นของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน บุคลากร และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง อะไรคือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เกี่ยวกับการสร้าง เสริมสุขภาพ ทบทวนว่าวัตถุประสงค์ดังกล่าวครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายทั้งผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน และ บุคลากรหรือไม่
  • 15. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 12 I-2.2 กำรถ่ำยทอดกลยุทธ์เพื่อนำไปปฏิบัติ (STM.2) องค์กรถ่ายทอดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ และติดตามความก้าวหน้าเพื่อให้มั่นใจว่าบรรลุ เป้าประสงค์. ก. การจัดทาแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดเพื่อนาไปปฏิบัติ (1) มีการจัดทาแผนปฏิบัติการและถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สาคัญ, สร้าง ความมั่นใจในความยั่งยืนของการเปลี่ยนแปลงสาคัญที่เป็นผลจากแผนปฏิบัติการ. บุคลากรตระหนักในบทบาท และการมีส่วนต่อการบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ผู้รับผิดชอบแต่ละกลยุทธ์มีใครบ้าง ผู้รับผิดชอบกลยุทธ์ตรวจสอบการจัดทาแผนปฏิบัติ การ ความเข้าใจของผู้เกี่ยวข้อง กาหนดแนวทาง ติดตามตัวชี้วัดความสาเร็จและความก้าวหน้า แผนปฏิบัติการที่ท้าทายหรือต้องใช้ความพยายาม สูงมีอะไรบ้าง ทีมนาร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคและวางแนว ทางแก้ไข/สนับสนุน แผนปฏิบัติการที่ต้องการความเข้าใจและความ ร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงานสูงมีอะไรบ้าง ทีมนาร่วมกันสร้างความเข้าใจและติดตามประเมิน การรับรู้ของผู้ปฏิบัติงาน การเปลี่ยนแปลงที่ต้องการให้เกิดอย่างยั่งยืนมี อะไรบ้าง วิเคราะห์อุปสรรคต่อความยั่งยืนและปัจจัยสาคัญ ต่อความยั่งยืน และดาเนินการอย่างเหมาะสม (2) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีทรัพยากรด้านการเงินและด้านอื่นๆ เพียงพอที่จะนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติให้ บรรลุผล. องค์กรประเมินความเสี่ยงด้านการเงินและด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนปฏิบัติการ. องค์กรจัดสรร ทรัพยากรอย่างสมดุลเพื่อให้มั่นใจว่าจะมีทรัพยากรเพียงพอสาหรับสิ่งที่จาเป็นต้องปฏิบัติ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง มีความเสี่ยงด้านการเงินอะไรบ้าง ดาเนินการสรรหาและวางแนวทางป้องกันความ เสี่ยง แผนงานที่อาจประสบปัญหาด้านการเงินมีอะไรบ้าง สร้างความมั่นใจว่ามีการจัดสรรทรัพยากรด้าน การเงินอย่างสมดุล แผนงานที่อาจประสบปัญหาทรัพยากรอื่นๆ ไม่ เพียงพอมีอะไรบ้าง สร้างความมั่นใจว่ามีการจัดสรรทรัพยากรด้านอื่นๆ อย่างสมดุล (3) มีการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการและนาแผนที่ปรับเปลี่ยนไปสู่การปฏิบัติ ในกรณีที่มีความจาเป็น.
  • 16. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 13 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ความไม่แน่นอนของสิ่งแวดล้อมภายนอกที่อาจ ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการมี อะไรบ้าง วางแนวทางในการเฝ้าระวัง เตรียมแผนสารอง และ เตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติตามแผนสารอง อุปสรรคภายในองค์กรที่อาจทาให้แผนไม่ก้าวหน้า ไปตามเป้าหมายมีอะไรบ้าง จะมีผลต่อแผนใด วางแนวทางในการลดอุปสรรคดังกล่าว ในรอบปีที่ผ่านมามีการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ อะไรบ้าง มีที่มาอย่างไร สรุปบทเรียนถึงความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยน แผนและการนาแผนที่ปรับเปลี่ยนไปปฏิบัติ (4) องค์กรจัดทาแผนด้านทรัพยากรบุคคลที่สาคัญ เพื่อให้สามารถปฏิบัติตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติ การที่กาหนดไว้ได้. แผนระบุผลกระทบที่มีโอกาสเกิดขึ้นต่อบุคลากร และโอกาสที่จะมีการเปลี่ยนแปลงความ ต้องการด้านขีดความสามารถของบุคลกรและระดับกาลังคนที่ต้องการ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง มีวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เรื่องอะไรบ้างที่ จาเป็นต้องทาแผนด้านทรัพยากรบุคคลเพื่อสิ่ง ต่อไปนี้: การเพิ่มการตัดสินใจแก่บุคลากร, การ ประสานงานระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพและผู้บริหาร , การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร, การปรับระบบ บริหารค่าตอบแทน จัดทาแผนด้านทรัพยากรเพื่อรองรับความต้องการ ดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เรื่องอะไรบ้างที่ต้อง พิจารณาความสามารถของบุคลากรหรืออัตรากาลัง ที่เปลี่ยนไปจากเดิม จัดทาแผนด้านทรัพยากรเพื่อรองรับความต้องการ ดังกล่าว (5) มีการจัดทาตัวชี้วัดสาคัญเพื่อติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติตามแผน. ระบบการวัดผลครอบคลุมประเด็น สาคัญ / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด และหนุนเสริมให้ทั้งองค์กรมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ตัวชี้วัดสาคัญที่ใช้ติดตามความก้าวหน้าและ ความสาเร็จของการปฏิบัติตามแผน 20 ตัวแรกมี อะไรบ้าง ทบทวนว่าตัวชี้วัด 20 ตัวแรกครอบคลุมประเด็น สาคัญ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดหรือไม่ ทีม นาวางแผนติดตามตัวชี้วัดดังกล่าวอย่างสม่าเสมอ
  • 17. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 14 ข. การคาดการณ์และเปรียบเทียบผลการดาเนินงาน องค์กรคาดการณ์ผลการดาเนินงานสาหรับตัวชี้วัดสาคัญในข้อ 2.2 ก (5) ตามกรอบเวลาของการวางแผน โดย พิจารณาจากเป้าประสงค์ ผลงานที่ผ่านมา และข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม. องค์กรตอบสนองต่อความ แตกต่างของผลงานเมื่อเทียบกับองค์กรที่ดาเนินงานหรือมีกิจกรรมในลักษณะใกล้เคียงกัน ทั้งความแตกต่างใน ปัจจุบันและความแตกต่างที่ได้จากการคาดการณ์. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ผลการดาเนินงานที่เป็นไปตามค่าที่คาดการณ์มี อะไรบ้าง พิจารณาว่าควรปรับค่าคาดการณ์ให้ท้าทายยิ่งขึ้น หรือไม่ ผลการดาเนินงานที่ไม่เป็นไปตามค่าที่คาดการณ์มี อะไรบ้าง ทบทวนปรับแผนปฏิบัติการ มีการเปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับองค์กรที่ ดาเนินงานในลักษณะใกล้เคียงกันในเรื่องใดบ้าง ผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบเป็นอย่างไร ตอบสนองต่อการเปรียบเทียบอย่างเหมาะสม เช่น นามากาหนดเป้าหมายที่ท้าทาย หรือปรับใช้ข้อมูล เชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม ขยับจากผลงานของ องค์กรที่ใกล้เคียงกัน มาเป็นผลงานของคู่แข่ง และ ผลงานที่เป็นเลิศตามลาดับ
  • 18. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 15 I – 3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน I-3.1 ควำมรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงำน (PCF.1) องค์กรเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวังที่สาคัญของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานของตน เพื่อให้มั่นใจว่า บริการที่จัดให้สอดคล้องกับความต้องการดังกล่าว. ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน (1) องค์กรระบุการจาแนกส่วน ของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน กลุ่มผู้รับผลงาน และตลาดบริการสุขภาพ. องค์กรกาหนด ว่าจะมุ่งเน้นบริการสุขภาพสาหรับส่วนใดของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน กลุ่มผู้รับผลงาน และตลาดบริการสุขภาพ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง องค์กรใช้จาแนกส่วนของผู้รับบริการอย่างไร ทบทวนว่าการจาแนกดังกล่าวมีประโยชน์ต่อวิธีการ รับฟังความต้องการของผู้ป่วยแต่ละกลุ่มหรือไม่ แต่ ละกลุ่มมีความต้องการที่แตกต่างกันหรือไม่ สามารถใช้มากาหนดกลุ่มที่มุ่งเน้นได้หรือไม่ องค์กรกาหนดกลุ่มผู้รับบริการที่มุ่งเน้นหรือกลุ่มที่ ต้องใส่ใจเป็นพิเศษเป็นกลุ่มใดบ้าง ทบทวนเหตุผลของการกาหนดกลุ่มที่มุ่งเน้นหรือ กลุ่มที่ต้องใส่ใจเป็นพิเศษ และแนวทางการ ตอบสนองความต้องการเฉพาะของกลุ่มดังกล่าว (2) องค์กรรับฟังและเรียนรู้ ความต้องการและความคาดหวัง ของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน รวมทั้งระดับความสาคัญต่อ การตัดสินใจเลือกใช้บริการของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน. วิธีการรับฟังเหมาะสมกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน แต่ละกลุ่ม. มีการนาความรู้นี้ไปใช้ในการวางแผนจัดบริการและปรับปรุงกระบวนการทางาน. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง องค์กรใช้วิธีการรับฟังความต้องการและความ คาดหวังของผู้รับบริการด้วยวิธีใดบ้าง มีความ แตกต่างกันระหว่างผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ อย่างไร พิจารณาวิธีการรับฟังที่ยังไม่ได้ใช้ เช่น การสารวจ การวิจัยตลาด การใช้ข้อมูลทางระบาดวิทยา การ สนทนากลุ่ม การใช้ข้อมูลจาก web และการใช้ ข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ และศึกษาวิธีการรับฟังที่ เหมาะสมสาหรับผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ อะไรคือข้อมูลความต้องการที่ได้รับและสามารถ นามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาได้ ติดตามว่ามีการดาเนินการตอบสนองอย่างไร อะไรคือตัวอย่างของความต้องการด้านสุขภาพที่ นาความต้องการดังกล่าวมาออกแบบบริการที่
  • 19. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 16 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ประชาชนอาจไม่รับทราบ เช่น พฤติกรรมสุขภาพ ต่างๆ สอดคล้องกับปัญหา อะไรที่ข้อมูลที่สะท้อนความต้องการลึกๆ ของ ผู้ป่วย ทบทวนว่ารับรู้ข้อมูลดังกล่าวด้วยวิธีการใด มีการ ตอบสนองอย่างไร แนวโน้มที่เปลี่ยนไปของความต้องการและความ คาดหวังของผู้ป่วยคืออะไร ทาความเข้าใจกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมการรองรับ และปรับระบบบริการ (3) องค์กรใช้ความเห็นและเสียงสะท้อนของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อเป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้รับผลงานมากขึ้น , ตอบสนองความต้องการและทาให้ผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน พึงพอใจมากขึ้น, และเพื่อค้นหาโอกาสสร้างนวตกรรม. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง โอกาสง่ายๆ ในการทาให้เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผู้ป่วย มากขึ้นมีอะไรบ้าง สร้างความตื่นตัวให้มีการปฏิบัติอย่างทั่วถึง โอกาสสร้างนวตกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการมีอะไรบ้าง ผู้นาให้การสนับสนุนเพื่อสร้างนวตกรรมดังกล่าว มีระบบในการประมวลผลความเห็นและเสียง สะท้อนของผู้ป่วยอย่างไร สร้างความมั่นใจว่ามีระบบ ดาเนินการอย่าง สม่าเสมอ และส่งข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้อง (4) องค์กรปรับปรุงวิธีการรับฟังและเรียนรู้ให้ทันความต้องการของผู้เกี่ยวข้องและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของ บริการสุขภาพ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง เสียงสะท้อนของผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับวิธีการรับฟัง ผู้รับบริการเป็นอย่างไร นาข้อคิดเห็นมาพิจารณาปรับปรุงวิธีการรับฟัง
  • 20. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 17 I-3.2 ควำมสัมพันธ์และควำมพึงพอใจของผู้รับผลงำน (PCF.2) องค์กรสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธา ความพึงพอใจ และ ความร่วมมือ. มีการประเมินและนาข้อมูลความพึงพอใจของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานมาใช้ปรับปรุงการ ดาเนินงาน. ก. การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน (1) องค์กรสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน เพื่อตอบสนองความต้องการ, เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธา, และเพื่อให้ได้รับความร่วมมือ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง สมมติเป็นผู้ป่วย หรือเดินตามหลังผู้ป่วยไปตามจุด บริการต่างๆ พิจารณาว่าผู้รับบริการมีความรู้สึก อย่างไรต่อปฏิสัมพันธ์ที่ผู้ให้บริการ ณ จุดต่างๆ แสดงออกต่อตน ทบทวนแนวทางปฏิบัติของผู้ให้บริการ ณ จุดต่างๆ ซึ่งง่ายต่อการปฏิบัติและส่งผลดีต่อการสร้าง ความสัมพันธ์ กลุ่มต่างๆ ที่ได้รับบริการหรือการสนับสนุนจาก รพ. มีข้อเสนอแนะอย่างไรต่อความสัมพันธ์กับ รพ. นาข้อเสนอแนะไปดาเนินการ อะไรคือโอกาสสร้างความสัมพันธ์กับหน่วงานและ องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ นาโอกาสไปดาเนินการ ผู้ป่วยกลุ่มใดที่ต้องการความร่วมมือในการ บาบัดรักษาสูงหรือมากกว่าที่เป็นอยู่ เรียนรู้จากผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวเพื่อหาวิธีการที่ เหมาะสมในการเพิ่มความร่วมมือ ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นศรัทธาของผู้รับบริการ มีอะไรบ้าง ดาเนินการปรับปรุงตามปัจจัยดังกล่าว (2) มีช่องทางสาหรับให้ผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน ค้นหาข้อมูลข่าวสาร ขอรับบริการ และเสนอข้อร้องเรียน. องค์กรจัดทา ข้อกาหนดที่พึงปฏิบัติสาหรับช่องทางการติดต่อแต่ละรูปแบบและสร้างความมั่นใจว่าข้อกาหนดดังกล่าวได้รับการ นาไปปฏิบัติโดยบุคลากรทุกคนและในทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง. มีการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะในการ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริการและคุณภาพบริการ คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ช่องทางการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพและ บริการของ รพ. มีอะไรบ้าง ทบทวนประสิทธิภาพของช่องทางที่มีอยู่เดิม พิจารณาเพิ่มช่องทางการค้นหาข้อมูลทาง internet ซึ่งมีข้อมูลต่างๆ ที่ผู้รับบริการต้องการ ช่องทางการได้รับบริการจาก รพ. มีอะไรบ้าง ทบทวนประสิทธิภาพของช่องทางที่มีอยู่เดิม พิจารณาเพิ่มช่องทางการขอรับบริการด้วยระบบ นัด และช่องทางให้บริการต่างๆ เช่น การให้
  • 21. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 18 คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง คาปรึกษาทางโทรศัพท์ การให้บริการร่วมกับชุมชน ฯลฯ ช่องทางการเสนอข้อร้องเรียนต่อ รพ. มีอะไรบ้าง ทบทวนประสิทธิภาพของช่องทางที่มีอยู่เดิม พิจารณาเพิ่มช่องทางในการเสนอข้อร้องเรียนที่ สะดวก มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพบริการต่อ สาธารณะอะไรบ้าง ทบทวนว่าข้อมูลดังกล่าวมีส่วนช่วยให้ประชาชน เข้าใจระดับคุณภาพและความพยายามในการ พัฒนาคุณภาพของ รพ.เพิ่มขึ้นหรือไม่ มีความ สมดุลในข้อมูลด้านต่างๆ หรือไม่ (3) องค์กรจัดการกับคาร้องเรียนของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อให้มีการแก้ไขอย่างได้ผลและทันท่วงที. มีการรวบรวม และวิเคราะห์คาร้องเรียนเพื่อใช้ในการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ผลการวิเคราะห์คาร้องเรียนของผู้รับบริการเป็น อย่างไร นามาจัดลาดับความสาคัญ สื่อสาร เพื่อให้มีการ ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งทบทวนการนาไป ตอบสนอง ขั้นตอนใดบ้างที่ยังมีจุดอ่อนในระบบการจัดการกับ คาร้องเรียน ความรวดเร็วในการตอบสนองเป็น อย่างไร ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบจัดการกับคา ร้องเรียนตามผลการวิเคราะห์ อะไรคือคาร้องเรียนที่สะท้อนถึงจุดอ่อนในระบบ การดูแลผู้ป่วยของ รพ. PCT นาคาร้องเรียนดังกล่าวมาพิจารณาปรับปรุง อะไรคือคาร้องเรียนที่เกิดขึ้นซ้าๆ และไม่มีแนวโน้ม ลดลง ทีมนาสนับสนุนให้วิเคราะห์สาเหตุเชิงระบบและ นามาปรับปรุง (4) องค์กรปรับปรุงวิธีการสร้างความสัมพันธ์และช่องทางการติดต่อกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน ให้ทันกับความต้องการ ของผู้เกี่ยวข้องและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของบริการสุขภาพ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง อะไรคือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ เทคโนโลยีการสื่อสาร แนวโน้มของ ผู้รับบริการที่เปลี่ยนแปลงไป ปัญหาสุขภาพที่ เปลี่ยนแปลงไป ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และ ผู้รับบริการ พิจารณาว่าจะปรับปรุงวิธีการสร้างความสัมพันธ์ และช่องทางการติดต่อกับผู้รับบริการอย่างไร
  • 22. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 19 ข. การประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน (1) มีการประเมินความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน และใช้ข้อมูลนี้เพื่อปรับปรุงการ ดาเนินงาน. วิธีการวัดผลเหมาะสมกับกลุ่มผู้ป่วย / ผู้รับผลงานแต่ละกลุ่ม และได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการ นาไปปรับปรุง. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ข้อมูลสาคัญที่ได้จากการประเมินความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการมีอะไรบ้าง ทบทวนว่ามีการตอบสนองอย่างไร ดาเนินการ เพิ่มเติมตามความเหมาะสม (2) มีการติดตามผลหลังการเข้ารับบริการจากผู้ป่วย / ผู้รับผลงานทันที เพื่อให้ได้รับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับคุณภาพ บริการที่เป็นประโยชน์ในการนาไปปรับปรุง. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ข้อมูลสาคัญที่ได้จากการติดตามผลหลังการเข้ารับ บริการทันทีมีอะไรบ้าง ทบทวนว่ามีการตอบสนองอย่างไร ดาเนินการ เพิ่มเติมตามความเหมาะสม (3) องค์กรปรับปรุงวิธีการประเมินความพึงพอใจให้ทันกับความต้องการของผู้เกี่ยวข้องและทิศทางการเปลี่ยนแปลง ของบริการสุขภาพ คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง มีโอกาสปรับปรุงวิธีการประเมินความพึงพอใจและ การติดตามผลหลังเข้ารับบริการอะไรบ้าง ปรับปรุงตามความเหมาะสม
  • 23. SPA in Action (Part I) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 20 I-3.3 สิทธิผู้ป่วย (PCF.3) องค์กรตระหนักและให้การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย. ก. คาประกาศสิทธิผู้ป่วย (1) ผู้ป่วยได้รับการคุ้มครองตามคาประกาศสิทธิผู้ป่วยขององค์กรวิชาชีพและกระทรวงสาธารณสุข คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ในคาประกาศสิทธิผู้ป่วย 10 ประการ ที่องค์กร วิชาชีพและกระทรวงสาธารณสุขประกาศไว้ มีสิทธิ ผู้ป่วยด้านใดบ้างที่ยังไม่ชัดเจนในแนวทางปฏิบัติ หรือยากลาบากในการปฏิบัติ ร่วมกันจัดทาแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน โอกาสที่ผู้รับบริการจะไม่ได้รับทราบข้อมูล หรือไม่ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ หรือได้รับข้อมูลใน ลักษณะที่ทาให้เกิดการตัดสินใจอย่างไม่เหมาะสมมี อะไรบ้าง ทีมที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนทางการให้ข้อมูลใน สถานการณ์ดังกลลล่าวอย่างเหมาะสม ข. กระบวนการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย (1) องค์กรสร้างหลักประกันว่าผู้ปฏิบัติงานมีความตระหนักและทราบบทบาทของตนในการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย และมี ระบบพร้อมที่จะตอบสนองเมื่อผู้ป่วยขอใช้สิทธิ. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ความเชื่อและเจตคติที่ต้องการปลูกฝังให้แก่ ผู้ปฏิบัติงานในเรื่องสิทธิผู้ป่วยคืออะไร ประเมินว่าผู้ปฏิบัติงานมีความเชื่อและเจตคติที่ ต้องการเพียงใด จะปลูกฝังอย่างไร การปฏิบัติง่ายๆ ที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถกระทาได้ ในชีวิตประจาวันในเรื่องสิทธิผู้ป่วยคืออะไรบ้าง หาวิธีทาให้เป็นเรื่องง่าย เป็นเรื่องปกติ มีการ สะท้อนกลับหรือแลกเปลี่ยนอย่างสม่าเสมอ การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยที่ต้องประสานงานกันหลาย ฝ่าย ต้องมีระบบหรือขั้นตอนมารองรับมีอะไรบ้าง ออกแบบระบบให้พร้อมที่จะตอบสนอง (2) ผู้ป่วยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ในลักษณะที่เข้าใจได้ง่าย. คำถำมเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินกำรปรับปรุง ผู้ปวยนอกควรได้รับรู้สิทธิและหน้าที่ในเรื่อง อะไรบ้าง ประเมินระบบงาน การรับรู้ และนาไปปรับปรุง ผู้ป่วยในควรได้รับรู้สิทธิและหน้าที่ในเรื่องอะไรบ้าง ประเมินระบบงาน การรับรู้ และนาไปปรับปรุง ผู้ป่วยผ่าตัดควรได้รับรู้สิทธิและหน้าที่ในเรื่อง ประเมินระบบงาน การรับรู้ และนาไปปรับปรุง