SlideShare a Scribd company logo
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
โดย เ พื่ อ น เ อ ง (RTANC’ 50)
1. มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ
1.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
1.3 บทบาทพยาบาล ผู้ดูแล ครอบครัว สังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ
1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนาผู้สูงอายุแห่งชาติ
1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ
1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ
ความหมาย
 ประเทศไทย: ตาม พรบ. 2546 ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ
60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย
 องค์กรสหประชาชาติ: กาหนดมาตรฐานเดียวกันทั่วโลกให้
ผู้สูงอายุ คือ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
 องค์การอนามัยโลก: หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปี หรือมากกว่าเมื่อ
นับตามวัย ผู้ที่เกษียณอายุเมื่อนับตามสภาพเศรษฐกิจ
 WHO: ประเทศที่พัฒนาแล้วใช้เกณฑ์อายุ 65 ปี คือผู้สูงอายุ
1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ
ประเภท
1. การสูงอายุตามวัย: แบ่งผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่ม
1.1 ผู้สูงอายุวัยต้น (60-69 ปี)
1.2 ผู้สูงอายุวัยกลาง (70-79 ปี)
1.3 ผู้สูงอายุวัยปลาย (80 ปีขึ้นไป)
2. การสูงอายุตามสภาพร่างกาย: แบ่งออกเป็น 4 ช่วง
2.1 ช่วงไม่ค่อยแก่ (The young-old) อายุประมาณ 60-69 ปี
2.2 ช่วงแก่ปานกลาง (The middle age-old) อายุประมาณ 70-79 ปี
2.3 ช่วงแก่จริง (The old-old) อายุประมาณ 80-90 ปี
2.4 ช่วงแก่จริงๆ (The very old-old) อายุประมาณ 90-99 ปี
1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ
ประเภท (ต่อ)
3. การสูงอายุตามสภาพจิตใจ: การรับรู้ ความคิด เชาว์ปัญญา และ
ลักษณะบุคลิกที่ปรากฏในระยะต่างๆของชีวิต
4. การสูงอายุตามสภาพสังคม: การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ทางสังคม
เช่น การเกษียณอายุ
5. การสูงอายุตามความสามารถในการทาหน้าที่: แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม
5.1 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้ดี (กลุ่มสีเขียว)
5.2 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง (กลุ่มสีเหลือง)
5.3 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ (กลุ่มlแดง)
1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ
ประเภท (ต่อ)
Successful Aging
- การสูงอายุที่ประสบความสาเร็จ มองการสูงอายุในทางบวก พึ่งพาช่วยเหลือ
ตนเองได้
- แนวคิดนี้ตั้งอยู่บนแนวคิดพื้นฐาน 2 ประการ คือ
1. บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน
2. บุคคลมีความยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ต่างๆ
- มี 3 องค์ประกอบ
1. ลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคแลภาวะทุพโภชนาการ
2. การเพิ่มการทาหน้าที่ของสติปัญญา
3. การมีชีวิตอยู่อย่างเป็นประโยชน์
1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ
ประเภท (ต่อ)
Active aging
- พฤฒพลัง หมายถึง กระบวนการและการเตรียมตัวสู่ภาวะสูงอายุอย่างมี
คุณภาพนาไปสู่สุขภาพ การมีส่วนร่วม และหลักประกันในการสร้างเสริม
คุณภาพชีวิต มี 3 เสาหลัก
- สุขภาพ: การป้ องกัน รักษา ฟื้นฟูให้มีสุขภาพดี ไม่พิการ ช่วยเหลือตัวเองได้
- การมีส่วนร่วม : การยอมรับในครอบครัว และชุมชน
- หลักประกัน: ให้ความมั่นคงทางการเงิน หลักประกันสังคม ลดความไม่เท่า
เทียม
1.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
 ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ เนื่องจากมี
ประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด
 ปิรามิดประชากรมีการเปลี่ยนลักษณะจากรูปร่าง ระฆังคว่า (ปี
2533) เป็น แจกัน (ปี 2562) และคาดว่าปี 2573 จะมีลักษณะ
คล้าย รวงผึ้ง
 ผลกระทบ: ทาให้เกิดภาวะพึ่งพิง และประเทศเสียเปรียบทาง
เศรษฐกิจ รัฐต้องจ่ายค่าประกันสังคม และสวัสดิการในการดูแล
ผู้สูงอายุมากขึ้น
1.3 บทบาทพยาบาล ผู้ดูแล ครอบครัว สังคมต่อการ
ดูแลผู้สูงอายุ
เน้นการดารงความสามารถของผู้สูงอายุในการดารงชีวิตอย่างปกติ
แม้มีข้อจากัดเกิดขึ้น
1. ดารงสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย จิตสังคม จิตวิญญาณ
2. ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด
3. กระตุ้นให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้
4. ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
5. ป้ องกันการเจ็บป่วยเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
6. ฟื้นฟูสุขภาพให้กลับสู่สภาพปกติ
7. ดารงการดารงชีวิตปกติ แม้เจ็บป่วย
1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา
ผู้สูงอายุแห่งชาติ
จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
1. ให้ความเคารพยกย่อง
2. เข้าใจข้อจากัดต่างๆ
3. เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
4. ปฏิบัติต่อผู้สูงอายุด้วยความห่วงใย
5. มีความมั่นคงในอารมณ์ ยึดมั่นในความดี
1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา
ผู้สูงอายุแห่งชาติ
พรบ. ผู้สูงอายุพ.ศ. 2546 ที่สาคัญ คือ
มาตรา 3: ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมี
สัญชาติไทย
มาตรา 11: พูดถึงสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครอง การส่งเสริม และ
การสนับสนุนด้านต่างๆ (อ่านเพิ่มเติม)
มาตรา 13: การจัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริม คุ้มครอง และ
สนับสนุนผู้สูงอายุ
มาตรา 16: การบริจาคเงินให้กองทุนนี้ สามารถนาไปลดหย่อนภาษีได้
มาตรา 17: ผู้อุปการะบุพการีที่ไม่มีรายได้พอเลี้ยงชีพ มีสิทธิไได้รับการ
ลดหย่อนภาษีตามเกณฑ์
1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา
ผู้สูงอายุแห่งชาติ
แผนพัฒนาผู้สูงอายุฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564)
• ปรัชญา – สร้างหลักประกันในวัยสูงอายุ โดยการสร้างความ
มั่นคงให้แก่สังคม
ลาดับขั้นตอน: 1. ประชากรช่วยเหลือตัวเอง
2. ครอบครัวเกื้อหนุน
3. ชุมชนช่วยเหลือ
4. สังคม-รัฐเกื้อหนุน
1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา
ผู้สูงอายุแห่งชาติ
แผนพัฒนาผู้สูงอายุฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) (ต่อ)
• วิสัยทัศน์ “ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม”
• ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์
1. ด้านการเตรียมความพร้อมของประชาชนเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
2. ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
3. ด้านระบบภูมิคุ้มกันทางสังคม
4. ด้านการบริหารจัดการ เพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติและ
การพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
5. ด้านการประมวลและพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ และการติดตาม
ประเมินผลการดาเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ
1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
1.1 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
1.1.1 สถานสงเคราะห์คนชรา
1.1.2 ศูนย์บริการทางสังคมผู้สูงอายุ
1.1.3 บริการหน่วยเคลื่อนที่
1.1.4 การสงเคราะห์เครื่องอุปโภค บริโภค เครื่องช่วยความพิการและ
อื่นๆ
1.1.5 การจัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ
1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ
1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ต่อ)
1.2 สานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ (สทส.)
1.2.1 พัฒนามาตรการ และกลไก
1.2.2 ส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ
1.2.3 คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิไผู้สูงอายุ
1.2.4 เลขานุการของคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ
1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ
1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์(ต่อ)
1.3 สานักปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- สนับสนุนเงินอุดหนุนแก่องค์กรเอกชนมูลนิธิที่ดาเนินงานด้าน
ผู้สูงอายุ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2517 เป็นต้นมา
2. กระทรวงแรงงาน
2.1 สานักประกันสังคม
2.2 กรมการจัดหางาน
2.3 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ
3. กระทรวงศึกษาธิการ
3.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ)
3.2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (ส.ช.)
4. กระทรวงวัฒนธรรม
5. กระทรวงสาธารณะสุข
5.1 กรมอนามัย
5.2 สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
5.3 กรมการแพทย์
5.4 กรมสุขภาพจิต
5.5 สานักงานประกันสุขภาพ
5.6 สถาบันวิจัยระบบสาธารณะสุข
1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ
6. กระทรวงมหาดไทย
6.1 กรมการพัฒนาชุมชน
6.2 กรมส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
7. กระทรวงคมนาคม
8. กระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬา
9. สานักนายกรัฐมนตรี
10.กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
11. กระทรวงการคลัง
12. กระทรวงยุติธรรม
2. เจตคติการดูแลผู้สูงอายุ
2.1 จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
2.2 เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ
2.1 จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
1. ต้องมีความรับผิดชอบ
2. มีความซื่อสัตย์
3. ความกตัญญูกตเวที
4. ความมีระเบียบวินัย
5. เสียสละ
6. อุตสาหะ
7. ความเมตตา กรุณา
8. ให้การดูแล
9. ให้การช่วยเหลือ
10. ให้การประคับประคองทั้งร่างกายจิตใจ
11. ให้การสนับสนุน
12. เป็นผู้ประสานงานระหว่างบุตรหลานและญาติมิตร
2.2 เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ
 ให้การดูแลด้วยความรัก ความเคารพ ยกย่อง ดูแลเอาใจใส่
ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ยอมรับข้อจากัด และความสามารถ
ของผู้สูงอายุ
3. ทฤษฎีความสูงอายุ
3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
(1) Cross linkage theory
(2) Free radical theory
(3) Wear and tear theory
(4) Accumulative theory
(5) Genetic program and error theory
3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
Cross linkage theory
- ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง หรือ ทฤษฏีคอลลาเจน
• ความสูงอายุเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสารไขว้ขวาง คือ
คอลลาเจน อีลาสติน และสารภายในเซลล์เนื้อเยื่อ
• เชื่อว่า เมื่อมีอายุมากขึ้น คอลลาเจนจะเสียความยืดหยุ่น ทาให้เกิด
ความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ
3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
Wear and tear theory
- ทฤษฎีการเสื่อมสลาย
• การบาดเจ็บเล็กๆน้อยๆอย่างต่อเนื่องจากการใช้อวัยวะมาเป็น
เวลานาน หรือใช้อย่างหักโหมสะสมมาเรื่อยๆ เมื่ออายุมากขึ้น จึง
เกิดการตายของเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ และระบบต่างๆในร่างกาย
ทางานเสื่อมลง
• นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากการผ่าเหล่าของ DNA ที่ทาหน้าที่ผิดปกติ
• เน้นการสร้างเสริมสุขภาพและชะลอความเสื่อของร่างกาย
3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
Free radical theory
- ทฤษฎีอนุมูลอิสระ
- กล่าวถึงกระบวนการออกซิเดชั่นของออกซิเจน ที่ไม่สมบูรณ์ใน
กระบวนการเผาผลาญสารจาพวกโปรตีน, คาร์โบไฮเดรตและอื่นๆ
ทาให้เกิดเป็นอนุมูลอิสระ
• ที่มีความสามารถในการทาลายผนังเซลล์ของโมเลกุลอนุมูลอิสระ
เมื่อแตกออกจะไปจับกับโมเลกุลอื่นๆ ใกล้เคียง พากันเสียหน้าที่
หมด
• สารต้านอนุมูลอิสระได้แก่ วิตามิน A, C และ E
3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
Accumulative theory
- ทฤษฎีการสะสม
• เชื่อว่าการสูงอายุเกิดจากการสะสมสารที่เป็นอันตรายต่อเซลล์
สารนี้คือ Lipofuscin เป็นรงควัตถุที่มีส่วนประกอบเป็นไขมันและ
โปรตีน ทาให้การทางานของเซลล์ผิดปกติ
• พบมากในตับ รังไข่ เซลล์ประสาท กล้ามเนื้อหัวใจ ผิวหนัง
• วิตามิน อี และ Selenium ทาลายโซ่ Lipofuscin พบใน ผักใบเขียว
เครื่องในสัตว์ ผลไม้ธัญพืช
3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
Genetic program and error theory
- ทฤษฎีพันธุกรรม
• การสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม โดยกลไกภายในเรียกว่า
“Genetic clock” มีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเมื่ออายุมากขึ้น
• เซลล์ต้นกาเนิดถูกกาหนดครั้งของการแบ่งตัว จานวนครั้งยิ่งมาก
อายุขัยยิ่งยาวนาน
3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่าง 1: ผลจากการสูบบุหรี่ระยะยาว ทาให้ความยืดหยุ่น
ของ Connective tissue ลดลง อธิบายด้วยทฤษฏีใด
1. Error theory 2. Free radical theory
3. Ware and tear theory
4. Cross linkage theory
3. ทฤษฎีความสูงอายุ(ต่อ)
3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
(1) Disengagement theory
(2) Activity theory
(3) Continuity theory
3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
Disengagement theory
- ทฤษฎีการถดถอยจากสังคม
• ผู้สูงอายุและสังคมจะลดบทบาทซึ่งกันและกันอย่างค่อยเป็นค่อยไป
ตามความต้องการของร่างกายที่ไม่อาจเลี่ยงได้ เพราะคิดว่าตนเอง
มีความสามารถลดลง
• ต้องกระตุ้นให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมกับสมาชิกต่างวัยเพื่อลด
ความเชื่อดังกล่าว
3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
Activity theory
- ทฤษฏีกิจกรรม
• เชื่อว่า การที่ผู้สูงอายุได้ทากิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสมาชิกวัย
เดียวกัน เน้นสัมพันธภาพระหว่างกิจกรรมทางสังคม การมีชีวิตที่
ตื่นตัว ไม่อยู่นิ่ง นามาซึ่งความสุข รู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง
• ซึ่งเป็นแนวคิดที่สาคัญในการนามาจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพ
ชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ เช่น การออกกาลังกาย
3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
Continuity theory
- ทฤษฏีความต่อเนื่อง
• คงไว้ซึ่งบุคลิกภาพและแบบแผนในอดีต จะส่งเสริมให้บุคคลปรับตัว
ได้ในวัยสูงอาย
4. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
4.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
- ปัจจัยภายใน (สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์
ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม)
- ปัจจัยภายนอก (การศึกษา เศรษฐานะและการเกษียณการ
ทางาน)
4.2 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
4.3 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
4.2 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
• ระบบผิวหนัง
• ระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ ข้อ
• ระบบหัวใจและหลอดเลือด
• ระบบต่อมไร้ท่อ
• ระบบทางเดินหายใจ
• ระบบทางเดินอาหาร
• ระบบทางเดินปัสสาวะ
• ระบบประสาท
4.3 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
• การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
• การเปลี่ยนแปลงทางด้านสถานภาพและบทบาททางสังคม เช่น ผู้ที่เคยทางาน
เมื่อครบอายุ 60 ปี ต้องออกจากงานการ
• สูญเสียทบาทในการเป็นผู้นาครอบครัว
• การถูกทอดทิ้ง สภาพสังคมในปัจจุบัน คนหนุ่มสาวต้องหางานทา ทาให้
ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งอยู่ตามลาพัง
• ความเคารพเชื่อถือลดลง คนส่วนใหญ่มักมองว่าผู้สูงอายุมีความสามารถ
น้อยลง ทาให้ความเคารพนับถือในฐานะที่มีประสบการณ์เปลี่ยนไป เด็กไม่ให้
ความเคารพผู้ใหญ่เหมือนเช่นเคย
• การสูญเสียชีวิตของคู่สมรส ญาติคนใกล้ชิดหรือเพื่อน
5. การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตรประจาวัน
(Activity Of Daily Living: ADL)
5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของผู้สูงอายุ
5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร
ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL)
การประเมิน ADL ของ Barthel’s index 10 ด้าน
1. การอาบน้า
2. การสวมใส่เสื้อผ้า
3. การใช้ห้องน้า
4. สุขวิทยาส่วนบุคคล
5. การทานอาหาร
6. การเดิน
7. การเคลื่อนย้ายจากเตียงไปเก้าอี้
8. การกลั้นปัสสาวะ
9. การกลั้นอุจจาระ
10. การขึ้นลงบันได
5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร
ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL)
การประเมินดัชนี Chula ADL index: (CAI)
- ประเมินการดารงชีวิตที่ซับซ้อนขึ้น ประกอบด้วย 5 กิจกรรม
1. การเดินหรือการเคลื่อนที่ออกนอกบ้าน
2. การทาหรือการเตรียมอาหาร
3. การทาความสะอาดบ้านหรือการซักรีดเสื้อผ้า
4. การทอนเงิน การแลกเงิน
5. การใช้บริการรถเมล์หรือรถสองแถว
5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร
ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL)
Time get up And go Test (TUGT)
- ให้ผู้สูงอายุเดินเป็นระยะ 3 เมตร หมุนตัวแล้วเดินกลับมานั่งเก้าอี้เดิม ค่าปกติ 10-19
วินาที ผู้ที่ใช้ไม้เท้า 20 วินาที และผู้ที่ใช้ walker 41 วินาที
* น้อยกว่า 10 วินาที - ไม่มีภาวะพึ่งพา
* 11-19 วินาที - พึ่งพาในการเคลื่อนไหวเล็กน้อย เสี่ยงต่ออุบัติเหตุน้อยถึงปานกลาง
* 20-29 วินาที - พึ่งพาในการเคลื่อนไหวปานกลาง เสี่ยงต่ออุบัติเหตุปานกลางถึงสู
* มากกว่า 30 วินาที – พึ่งพามาก เสี่ยงต่อการหกล้มสูงมาก
Get up and go test
- ให้ผู้สูงอายุนั่งเก้าอี้ ลุกยืนโดยไม่ใช้มือยัน เดินไปข้างหน้า 10 ก้าว หยุดและ
หมุนตัวกลับแล้วเดินมานั่งเก้าอี้ สังเกต Sitting balance, Standing balance
จังหวะการก้าวเดิน การเซ และการหมุนตัวต่างๆ
5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ
ผู้สูงอายุ
• แบบประเมินสุขภาพจิตผู้สูงอายุ หรือแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุ
ของไทย (Thai Geriatric Depression Scale, TGDS) มีคาถาม 30 ข้อ
ใช่/ไม่ใช่
• การคิดคะแนน
- คนสูงอายุปกติ 0-12 คะแนน
- ผู้มีอาการเศร้าเล็กน้อย 13-18 คะแนน
- ผู้มีอาการเศร้าปานกลาง 19-24 คะแนน
- ผู้มีอาการเศร้ารุนแรง 25-30 คะแนน
5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ
ผู้สูงอายุ
• แบบประเมินด้านสติปัญญา TMSE
- ภาวะปกติ 24-30 คะแนน
- สูญเสียการเรียนรู้เล็กน้อย 18-23 คะแนน
- สูญเสียการเรียนรู้มาก 0-17 คะแนน
- ภาวะสมองเสื่อม ค่าคะแนนเท่า กับหรือน้อยกว่า 23
5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ
ผู้สูงอายุ
• แบบประเมินด้านสติปัญญา MMSE-Thai 2002
• นิยมใช้คัดกรองภาวะสมองเสื่อม เพราะประเมินได้ทั้งคนที่มี
การศึกษาและไม่มีการศึกษา
• ประเมิน 6 ด้าน คือ การรับรู้เวลาสถานที่ การจดจา ความตั้งใจ
การคานวณ การใช้ภาษา และการระลึกได้ มีทั้งหมด 20 ข้อ
6. การพยาบาลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
6.1 Physical activity (Exercise)
6.2 Fall/ Environmental
6.3 Injury/ Abuse
6.4 Nutrition
6.5 Sleep
6.6 Sexual relation
6.7 Stress management
6.8 Social participation/ Recreation
6.1 Physical activity (Exercise)
• ส่งเสริมการออกกาลังกายในผู้สูงอายุ เพื่อชะลอความเสื่อมของ
ร่างกาย ลดการเกิดโรคเรื้อรัง และลดอัตราการเสื่อมของกระดูก
ทาให้มีจิตใจสดชื่นแจ่มใส ดารงชีวิตได้อย่างปกติ
อัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ = 220-อายุ
• เช่น ผู้สูงอายุมีอายุ 60 ปี
- อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุดเท่ากับ 220-60 =160 b/m
- ควรออกกาลังกายให้ชีพจรเต้นเร็วประมาณร้อยละ 70-80 นั่น
คือ 112-128 b/m
6.1 Physical activity (Exercise)
การออกกาลังกายที่นิยมในผู้สูงอายุ
1. การทากายบริหาร: เช่น การรามวยจีน โยคะ ช่วยให้ข้อต่อกล้ามเนื้อ
แข็งแรง การทรงตัวดี ไม่หกล้ม
2. การฝึ กกล้ามเนื้อเฉพาะส่วน: ส่งเสริมสรรถภาพของกล้ามเนื้อ
บางส่วนเป็นพิเศษ เช่น ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ควรบริหารให้
กล้ามเนื้อต้นขาแข็งแรง
3. การเลือกเล่นกีฬาที่ตนชอบ: ส่งเสริมให้ได้พบปะกับผู้อื่น แต่ไม่ควร
เลือกกีฬาที่หักโหม
4. การออกกาลังกายแบบแอโรบิค: การเคลื่อนไหวร่างกายต่อเนื่อง
นาน 20-30 นาที
6.1 Physical activity (Exercise)
อาการและอาการแสดงที่ต้องหยุดออกกาลังกายทันที:
1. เจ็บ แน่นหน้าอก
2. มึนงง เวียนศีรษะ หรือเป็นลม
3. คลื่นไส้ อาเจียน
4. หน้าซีด หรือแดงคล้า
5. หัวใจเต้นผิดจังหวะ
6. ปวดขาขณะเดิน
7. หายใจลาบากหรือหายใจเร็วเกิน 10 นาทีหลังหยุดพัก
8. เหนื่อยหอบตอนกลางคืน นอนราบไม่ได้
9. ใจสั่น หรือเต้นเร็วมากผิดปกติ
6.1 Physical activity (Exercise)
ภาวะที่ควรงดออกกาลังกายเด็ดขาด:
1. MI ที่เพิ่งเป็นไม่นาน
2. Unstable angina
3. ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ควบคุมไม่ได้
4. Severe aortic stenosis
5. ภาวะหัวใจวายที่ควบคุมไม่ได้
6. Pulmonary embolism
7. กล้ามเนื้อหัวใจหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
8. Dissecting aortic aneurysm
9. ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน
6.2 Fall/ Environmental
• สาเหตุ
1. จากภายนอกร่างกาย
- Light: แสงสว่างไม่พอหรือจ้าเกินไป
- Steps: บันไดมีลวดลาย หรือแคบเกินไป
- Carpet: พรมย่นยับ ไม่ติดกับพื้น ขอบไม่เรียบ
- Toys: ของเล่นกีดขวางทางเดิน
- Pets: สัตว์เลี้ยงขนาดเล็กวิ่งวนบริเวณเท้า
- Wet floor: พื้นเปียก ต่างระดับ
- ทางเดินชารุด และมีพุ่มไม้เตี้ยๆ
- เก้าอี้ต่าไป ลุกไม่สะดวก
6.2 Fall/ Environmental
• สาเหตุ
1. จากภายในร่างกาย
- Age related factors:
- Specific disease:
- Drugs:
- Acute ill health
- มีประวัติหกล้ม และมีความเสี่ยงสูงที่จะหกล้ม
- ความผิดปกติของเท้าและขา
6.3 Injury/ Abuse
• การทารุณกรรมในผู้สูงอายุ
1. การถูกละเลย: มีผื่นตามตัว กลิ่นตัวแรง ไม่ได้รับการรักษาตาม
แผนการรักษา
2. การทารุณกรรมทางร่างกายในผู้สูงอายุ: พบบาดแผล และ
ร่องรอยการถูกทาร้ายร่างกายต่างๆ
3. การทารุณกรรมทางเพศในผู้สูงอายุ: พบร่องรอยการถูกทาร้าย
ที่อวัยวะเพศ และเต้านม
4. การทารุณกรรมทางจิตใจและอารมณ์ของผู้สูงอายุ: การต่อว่า ขู่
บังคับ เพิกเฉยไม่พูดคุยด้วย ทาให้ผู้สูงอายุมีอาการเงียบ ไม่พูดจา
หวาดระแวง
6.3 Injury/ Abuse
• การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกทารุณกรรม
- หลักการดูแลคือ เน้นให้ผู้สูงอายุปลอดภัย และตัดวงจรการทา
ร้าย ด้วยการลดหรือกาจัดปัจจัยเสริมต่างๆ พยาบาลจึงเป็นทั้งผู้
ประเมิน ผู้บันทึกรายงาน ให้คาปรึกษา เป็นพยาน ให้ความรู้กับผู้ดูแล
และให้การพยาบาลตามปัญหา และประสานงานกับหน่วยงานต่างๆใน
การเข้าช่วยเหลือ
6.4 Nutrition
• ภาวะพร่องโภชนาการในผู้สูงอายุ
เกิดจากความต้องการอาหารลดลง ซึ่งมีสาเหตุมาจาก
1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
2. การได้รับยา และการเจ็บป่วย
3. ภาวะเศรษฐกิจไม่ดี ไม่สามารถหาอาหารที่มีประโยชน์มาทานได้
4. แยกตัวจากสังคม จากความโศกเศร้า เหงา ว้าเหว่
• อาการและอาการแสดง: ผมร่วง แก้ม-ขมับตอบ กล้ามเนื้อลีบ
ปากนกกระจอก ลิ้นเลี่ยน บวม ผิวหนังอักเสบเป็นต้น
6.4 Nutrition
• การพยาบาล
1. แนะนาเรื่องการรับประทานอาหาร
โปรตีน: คาร์โบไฮเดรต: ไขมัน ให้ได้สัดส่วน 15% : 75% : 10%
2. ทานผักหรือผลไม้แทนขนมหวาน
3. เลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง ทานไข่ทั้งฟองไม่เกิน
2-3 ฟอง/สัปดาห์ ลดการปรุงอาหาร หรือทานอาหารรสเค็ม และลด
การดื่มชากาแฟ
3. ทานอาหารเสริมระหว่างมื้อ
4. ส่งเสริมการรับประทานอาหารร่วมกับสมาชิกในครอบครัว
6.5 Sleep
• การนอนหลับในผู้สูงอายุแตกต่างจากคนในวัยอื่น ดังนี้
1. เวลาในการนอนจริงลดลง : ใช้เวลานานกว่าจะหลับ ตื่นง่าย ยิ่งนอน
กลางวันมาก กลางคืนมักจะนอนไม่หลับ
2. วงจรการหลับ NREM sleep stage 1 และ 2 ยาวแต่ stage 3, 4 สั้น ทา
ให้ตื่นง่าย
3. ระหว่างการนอนมีการหยุดหายใจ หรือหายใจช้า
4. กรนมากขึ้น และมีการกระตุกของขา ทาให้สะดุ้งตื่นกลางดึก
• การนอนไม่หลับติดต่อกันนาน 48 ชม. ทาให้เกิดการพักผ่อนไม่
เพียงพอ ทาให้อ่อนเพลีย ไม่สุขสบาย การเจ็บป่ วยหายช้า กล้ามเนื้อตึงตัว
มากขึ้นรับรู้ต่อการเจ็บมากขึ้น
6.5 Sleep
การพยาบาล
1. จัดสภาพแวดล้อมส่งเสริมต่อการนอน
2. ดารงแบบแผนการนอนให้เป็นไปตามปกติ
3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการนอน
4. หลีกเลี่ยงการใช้ยา เครื่องดื่มที่มีผลต่อการนอนให้น้อยที่สุด
6.6 Sexual relation
การเปลี่ยนแปลงทางเพศในผู้สูงอายุ
เพศชาย: อวัยวะเพศแข็งตัวลดลง และอาจไม่แข็งตัวสม่าเสมอ หรือ
แข็งตัวไม่เต็มที่ ขนาดอวัยวะเพศเล็กลง แต่ยังคงมีความต้องการทาง
เพศเท่าเดิม แต่มีปัญหาที่บางทีอวัยวะเพศไม่แข็งตัว หรือไม่สามารถ
ควบคุมการหลั่งได้ตามต้องการ
 เมื่อเข้าสู่วัยทองควรไปพบแพทย์ถ้ามีความต้องการทางเพศลดลง
ผิดปกติ หากิจกรรมอื่นทาคลายเครียด การนวดอวัยวะเพศวันละ
3-5 นาที ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น
6.6 Sexual relation
การเปลี่ยนแปลงทางเพศในผู้สูงอายุ(ต่อ)
เพศหญิง: ช่องคลอดแคบลง น้าหล่อลื่นในช่องคลอดลดลง ทาให้
เจ็บปวดเมื่อมีเพศสัมพันธ์ อารมณ์และความต้องการทางเพศลดลง
เร็วกว่าผู้ชาย
 ใช้ครีมหล่อลื่น K-Y jelly ทาอวัยวะเพศก่อนมีเพศสัมพันธ์เพื่อ
บรรเทาอาการเจ็บปวด
6.7 Stress management
• สาเหตุ
1. สาเหตุทางกาย
1.1 การเจ็บป่วย
1.2 การขาดปัจจัยพื้นฐาน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย และขาดการ
รักษาเมื่อเจ็บป่วย
1.3 การถูกทาร้าย เช่น การด่าทอ ทุบตี เหยียดหยาม เป็นต้น
6.7 Stress management
2. สาเหตุทางจิต
2.1 ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว
2.2 การถูกทอดทิ้ง
2.3 การสูญเสีย
2.4 ความตาย
6.7 Stress management
3. สาเหตุทางสังคม
3.1 สภาวะทางเศรษฐกิจ: รายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย
3.2 การเปลี่ยนแปลงบทบาทและหน้าที่ในสังคม: การเกษียณอายุ
ผุ้ที่ยึดติดกับตาแหน่งจะทาให้ตนรู้สึกไร้ความสามารถ หากได้รับ
ความยกย่องจากสังคมน้อยจะเครียดมาก
6.7 Stress management
• การปรับตัวต่อความเครียด
1. มุ่งแก้ปัญหา: การเผชิญกับสาเหตุของความเครียดตามความจริง
- เผชิญกับปัญหา
- วางแผนแก้ปัญหา
2. มุ่งปรับอารมณ์:
- การทาสมาธิ การจินตนาการ การนอนหลับ การออกกาลังกาย
การฝึกการหายใจ การฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ นันทนาการ
และการปล่อยวาง
6.8 Social participation/ Recreation
การมีส่วนร่วมในสังคม และนันทนาการ
ผู้สูงอายุที่มีความเสื่อมของสภาพร่างกาย ร่วมกับการถูกลด
บทบาทในสังคม จะทาให้ผู้สูงอายุบางส่วนปรับตัวลาบาก อาจทาให้
เครียด และเกิดภาวะซึมเศร้าได้
จึงควรนากิจกรรมนันทนาการมาใช้เป็นวิธีการสร้างกาลังใจ
และส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุต่อไป
6.8 Social participation/ Recreation
ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ
1. การออกกาลังกาย และกีฬา
2. เกมส์
3. งานศิลปะ และหัตถกรรม
4. การทาอาหาร
5. การเล่นดนตรี เต้นรา การแสดง
6. การสนทนา และโต้วาที
7. กิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรม
8. กิจกรรมทางศาสนา
9. การท่องเที่ยว
7. การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ
7.1 ระบบประสาท: Dementia/ Delirium/ Alzheimer/ Parkinson
7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ:
7.2.1 Osteoarthritis
7.2.2 Osteoporosis
7.3 ระบบทางเดินอาหาร
7.4 ระบบไหลเวียนเลือด
7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
7.5.1 ต่อมลูกหมากโต
7.5.2 ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
7. การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ (ต่อ)
7.6 ประสาทสัมผัส:
7.6.1 การมองเห็น
7.6.2 การได้ยิน
7.7การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ
7.7.1 DM
7.7.2 HT, HD
7.7.3 Stroke/ Pressure sore
7.7.4 COPD/ Pneumonia
7.1 ระบบประสาท
Dementia: โรคสมองเสื่อม
เกิดจากความผิดปกติในการทางานของสมองในของเปลือกสมอง
ทาให้ผู้สูงอายุมีความพิการและพึ่งพาตนเองไม่ได้
อาการและอาการแสดง:
1. บกพร่องด้านความทรงจาสิ่งใหม่
2. บกพร่องด้านการรับรู้สิ่งใหม่ การเรียนรู้ลดลง ขาดสมาธิ
3. บกพร่องด้านการทากิจกรรมที่ซ้าซ้อน
4. บกพร่องในการตัดสินใจแก้ปัญหา การใช้ภาษา หลงทาง การทา
กิจวัตรประจาวัน
5. อาการแย่ลงเมื่อพลบค่า และมีพฤติกรรมแปลกๆ เช่น สะสมของ
7.1 ระบบประสาท
Dementia: โรคสมองเสื่อม
พยาบาลจึงควรตระหนักถึงความสาคัญในการให้ความรู้และ
คาแนะนาแก่ผู้ดูแลจนเกิดความเข้าใจ ยอมรับผู้ป่วย เพื่อ
ประคับประคองผู้ป่วยให้คงสภาพการทาหน้าที่ของสมองให้นาน
ที่สุด รวมท้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
7.1 ระบบประสาท
Delirium ภาวะสับสน
ภาวะสับสนเฉียบพลัน มักเกิดจากสาเหตุที่รักษาและป้ องกันได้
ซึ่งหากได้รับการรักษาที่ถูกต้องรวดเร็ว จะให้สรรถภาพของสมอง
กลับคืนสู่สภาพเดิมได้
อาการและอาการแสดง คือ มีระดับความรู้สึกตัวลดลง มีการ
รับรู้ต่อสิ่งแวดล้อม ร่วมกับสมาธิแลความสนใจลดลง อาจมีอาการ
หูแว่วประสาทหลอน
7.1 ระบบประสาท
Delirium ภาวะสับสน
พยาบาลจึงมีบทบาทสาคัญในการป้ องกันและลดปัจจัยเสี่ยง
การเฝ้ าระวัง การค้นหาภาวะสับสนเฉียบพลันตั้งแต่ระยะแรก
รวมทั้งการให้การพยาบาลเมื่อเกิดอาการ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับ
ความปลอดภัยและลดการอยู่โรงพยาบาล
7.1 ระบบประสาท
Alzheimer
- Type ของ Dementia ที่พบมากที่สุด
- ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
- มี 4 ระยะ
1. Early stage: ผู้ป่วยจะมีอาการหลงลืมในเรื่องเล็กๆน้อย โดยเฉพาะ
Recent memory แต่ความทรงจาในอดีต Remote ยังดีอยู่
การพยาบาล: ให้เวลาในการตอบคาถาม จัดให้พักผ่อนเป็นช่วงๆ
7.1 ระบบประสาท
Alzheimer
2. Middle stage: บุคคลรอบข้างเริ่มสังเกตเห็นความผิดปกติ เริ่มมี
ปัญหาเรื่องการคิดการตัดสินใจ สูญเสียความสามารถทางคาพูด
ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
การพยาบาล: ดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิด จัดให้ผู้สูงอายุในการทา
กิจวัตรประจาวัน อานวยความสะดวก ใช้ปฏิทินตัวใหญ่ แขวน
นาฬิกาให้ผู้ป่วยเห็นชัด และประเมินความสามารถของผู้สูงอายุว่า
ด้านไหนลดลงบ้าง
7.1 ระบบประสาท
Alzheimer
3. Later stage: มีอาการรุนแรงมากขึ้น บกพร่องในเรื่องความรู้
ความสามารถมากขึ้น ไม่สามารถจดจาสถานที่ต่างๆได้ ไม่รับรู้
บุคคล สถานที่และเวลา บกพร่องเรื่องการดูแลตนเอง ไม่สามารถ
ทรงตัวได้ดี
การพยาบาล: คานึงถึงความปลอดภัย ปรับสภาพแวดล้อมให้
เหมาะสม ในรายที่มีอาการหูแว่วประสาทหลอน ต้องไปพบแพทย์
และรับประทานยา
7.1 ระบบประสาท
Alzheimer
4. Final stage: มีอาการบกพร่องด้านความจาอย่างรุนแรง จา
เหตุการณ์ณ์ในอดีตไม่ได้ จาคนในครอบครัวไม่ได้ ไม่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวันได้
การพยาบาล: ดูแลอย่างใกล้ชิด ช่วยเหลือในการทากิจวัตร
ประจาวัน
7.1 ระบบประสาท
Parkinson
• เกิดจากความเสื่อมของระบบประสาท
• อาการ
1. สั่นขณะพัก (Resting Tremor)
2. กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (Muscular Rigidity)
3. เคลื่อนไหวช้า (Bradykinesia) และเคลื่อนไหวน้อย (Hypokinesia)
4. ทรงตัวไม่สม่าเสมอ (Postural instability) ก้าวเดินสั้นๆแบบซอยเท้า
7.1 ระบบประสาท
Parkinson
• การพยาบาล:
1. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทากิจวัตรด้วยตนเอง
2. ให้กินยา Levodopa ก่อนอาหาร 30 นาที
3. ฝึกการเดิน แบบค่อยๆก้าวเดิน
4. ระวังการเกิดอุบัติเหตุ พลัดตกหกล้ม
5. ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ
Osteoarthritis: โรคข้อเสื่อมในกลุ่มโรคข้ออักเสบ
• ภาวะปวดเข่า เข่าอักเสบ พบมากในเพศหญิงที่มีน้าหนักตัวมาก มัก
เกิดบริเวณข้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหว เช่น ข้อเข่า
• อาการ: ปวด บวม แดง ร้อน ตามข้อ อาจมีอาการปวดเมื่อยเริ่ม
ด้วย ข้อผิดรูปชัดเจน หรือปวดอย่างรุนแรงเมื่อต้องเดินขึ้นลง
บันได
7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ
Osteoarthritis: โรคข้อเสื่อมในกลุ่มโรคข้ออักเสบ
• การพยาบาล
1. ควบคุมน้าหนักตัว พักหรือลดการใช้งานข้อเมื่อมีอาการอักเสบ
2. ใช้ยาแก้ปวด เช่น ยาแก้ปวด NSAIDS, ยาคลายกล้ามเนื้อ ยา
กล่อมประสาท เป็นต้น
3. การใช้เวชศาสตร์ฟื้นฟู เช่น การดึง การใส่ปลอกหุ้มคอ การใส่
เฝือกหลัง
4. การผ่าตัด เช่น การผ่าตัดใส่ข้อเข่าเทียม ข้อสะโพกเทียม
7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ
Osteoporosis (โรคกระดูกพรุน)
• การที่ความหนาแน่นของกระดูกลดลง จากการสลายเกลือแร่และ
แคลเซียมออกจากกระดูกมากขึ้น จากการบริโภคแคลเซียมน้อย
หรือร่างกายดูดซึมได้น้อยลง
• ชนิดของภาวะกระดูกพรุน
1. กระดูกพรุนหลังหมดประจาเดือน: ระดับเอสโตรเจนต่าลง ทาให้
มีการสลายกระดูกมากขึ้น
2. กระดูกพรุนในวัยสูงอายุ: สาเหตุตามที่กล่าวข้างต้น
7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ
Osteoporosis (โรคกระดูกพรุน)
• การพยาบาล
1. ลดปัจจัยเสียงโดยให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง
และการปรับแผนการดาเนินชีวิต โดย รับประทานอาหารที่มี
แคลเซียม ออกกาลังกาย
2. ป้ องกันกระดูกหัก
3. ฟื้นฟูสภาพให้ดาเนินชีวิตได้ตามปกติ
7.3 ระบบทางเดินอาหาร
• ฟันเริ่มหลุดร่วง
• ต่อมน้าลายเสื่อมหน้าที่ ทาให้การย่อยแป้ งและน้าตาลในปากลดลง
• ปากลิ้นแห้ง
• การรับรสผิดเพี้ยนไป
• เบื่ออาหาร
• หลอดอาหารกว้างขึ้น กล้ามเนื้อหูรูดบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อน
ตัว ทาให้อาหารในกระเพาะอาหารย้อนกลับขึ้นมาได้ง่าย ทาให้เกิดความ
รูสึกแสบยอดอก บางครั้งอาจสาลักเข้าหลอดลม ทาให้เกิดโรคปอดบวม
ได้
7.3 ระบบทางเดินอาหาร
• การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารลดลง อาหารอยู่ในกระเพาะนาน
ขึ้น ทาให้รู้สึกหิวน้อยลง การดูดซึมแร่ธาตุต่างๆทาได้ไม่ดี่
• ลาไส้เคลื่อนตัวไม่ดีทาให้ท้องผูก
• กล้ามเนื้อหูรูดหย่อนตัว กลั้นอุจจาระไม่ได้
• ตับและไตทางานลดลง ทาให้การทาลายและขับสารออกจาก
ร่างกายทาได้น้อย
7.4 ระบบไหลเวียนเลือด
• ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
• ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และกล้ามเนื้อหัวใจตาย (Ischemic
Heart Disease and MI)
• ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure)
• โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (Peripheral Vascular Disease)
7.4 ระบบไหลเวียนเลือด
• การพยาบาล
1. ดูแลด้านจิตใจ เข้าใจถึงความรู้สึกและความต้องการของผู้ป่วย
2. ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
3. ดูแลให้ได้รับประทานอาหารและน้าที่เหมาะสมกับโรค
4. การขับถ่ายหลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย
5. ฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย
7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ต่อมลูกหมากโต
• พบในเพศชาย อายุ 40 ปีขึ้นไป
• อาการ: ปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะไม่
พุ่ง ไหลช้า ปัสสาวะไม่ออก
• การพยาบาล:
1. ส่วนใหญ่มักจะผ่าตัด TURP
7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
- กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ถ่ายปัสสาวะออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ
- เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระบบไต และทางเดินอาหาร คือ
น้าหนักและขนาดของไตลดลง การไหลเวียนเลือดในไตลดลง อัตรา
การกรองของไตลดลง ขนาดกระเพาะปัสสาวะลดลง กล้ามเนื้อ
กระเพาะปัสสาวะอ่อนกาลัง ปริมาณปัสสาวะค้างในกระเพาะ
ปัสสาวะเพิ่มขึ้น
7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
• การพยาบาล
1. บริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
2. แนะนาให้ปัสสาวะให้ตรงเวลา
3. ดูแลให้ได้รับน้า 2-3 ลิตรต่อวันถ้าไม่ขัดต่อโรค
4. จัดให้ห้องน้า หรืออุปกรณ์อยู่ใกล้ผู้สูงอายุ ห้องน้าไม่ควรห่างจาก
ห้องนอนเกิน 30 ฟุต
5. ดูแลรักษาความสะอาด
6. จัดท่าให้ขับถ่ายได้สะดวก
7. ถ้าจาเป็นควรให้ยาขับปัสสาวะตอนกลางวัน
7.6 ประสาทสัมผัส:
การมองเห็น
• สายตายาวในผู้สูงอายุ (Presbyobia)
• ต้อหิน (Glaucoma)
• ต้อกระจก (Senile cataract)
7.6 ประสาทสัมผัส:
การได้ยิน
• การสูญเสียการได้ยินในผู้สูงอายุ (Presbycusis)
• การพยาบาล:
1. ฝึกทักษะการฟังให้ผู้สูงอายุ
2. เมื่อสนทนากับผู้สูงอายุควรพูดตรงหน้า ให้ง่ายต่อการสังเกตริมฝีปาก
3. ปรึกษาแพทย์เรื่องการใช้เครื่องช่วยฟัง
4. ใช้เสียงทุ้มต่า พูดเป็นคาๆ ช้าๆ สั้นๆ กระชับ ชัดเจน ไม่ตะโกน หรือ
ตะคอก
5. ใช้ภาษากายร่วมด้วย เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ
7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ
DM: เบาหวาน
• สาเหตุ
1. ความผิดปกติจากการทางานของอินซูลิน
2. ความเครียด
3. ความอ้วน
4. ผลจากยาหรือสารเคมี
5. ขาดการออกกาลังกาย
6. พันธุกรรม
7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ
DM: เบาหวาน
• การพยาบาล
1. ควบคุมอาหาร
2. ออกกาลังกาย
3. การใช้ยาในการรักษา
4. ทาบัตรประจาตัวโรคเบาหวาน
5. ดูแลรักษาเท้า
7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ
Stroke/ Pressure sore
7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ
COPD/ Pneumonia
8. การใช้ยาในผู้สูงอายุ
8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยาต่อกัน
ของยา
8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา
ต่อกันของยา
การดูดซึมยา (Drug absorption)
- ภาวะความเป็นกรดด่าง และการไหลเวียนเลือดไปยังลาไส้ลดลง
ทาให้ยาบางชนิดต้องอาศัยการซึมผ่านโดยวิธีพิเศษ (Active transport)
- การดูดซึมยาทาได้น้อยลง แต่ยาที่มีการซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ธรรมดา การดูดซึมไม่เปลี่ยนแปลง
8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา
ต่อกันของยา
การกระจายตัวของยา (Drug distribution)
- ปริมาณน้าในร่างกายลดลง แต่ไขมันเพิ่มขึ้น ทาให้ยาบางชนิดที่
ละลายในไขมัน จะถูกเก็บสะสมไว้ในร่างกาย และออกฤทธิไยาวนานขึ้น
- ระดับอัลบูมินในเลือดที่สามารถรวมตัวกับยาลดลง ทาให้ยาในรูป
อิสระมีปริมาณสูงขึ้น
8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา
ต่อกันของยา
การเปลี่ยนแปลงยาภายในร่างกาย (Drug metabolism)
- ตับมีขนาดเล็กลง และการไหลเวียนของเลือดในตับลดลง เมื่อ
เทียบกับวัยหนุ่มสาว ทาให้ยาเปลี่ยนแปลงที่ตับได้น้อย
การขับถ่ายยา (Drug elimination)
- การทางานของไตลดลง ทาให้การขับถ่ายยาต่างๆช้าลง
8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
1. การใช้ยาตามแพทย์สั่ง เมื่อแพทย์สั่งยาชนิดใหม่
- ให้บอกว่าปัจจุบันใช้ยาอะไรอยู่บ้าง เพื่อป้ องกันการให้ยาซ้าซ้อน -
แจ้งว่าแพ้ยาอะไรบ้าง และมีอาการอย่างไร หรือยาที่ได้รับมาใหม่ออก
ฤทธิไอย่างไร มีผลข้างเคียงอะไรบ้าง
- ต้องแน่ใจว่าผู้สูงอายุเข้าใจคาแนะนาต่างๆอย่างถูกต้อง หรือเขียน
บันทึกช่วยจาให้ผู้สูงอายุ หรือผู้ดูแล
- เขียนฉลากตัวโตชัดเจน
- ให้ยาให้ถูกต้องตรงตามชนิด ขนาด เวลา วิธี และบุคคล
8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
2. การซื้อยามารับประทานเอง
- ไม่ควรใช้ยาโดยไม่จาเป็น หรือตัดสินใจใช้ยาด้วยตนเอง
- อย่าซื้อยามารับประทานเองเกินกว่า 1 สัปดาห์ โดยไม่ปรึกษาแพทย์
- ถ้ากาลังรับประทานยาที่แพทย์สั่ง ควรตรวจสอบว่ายาที่ซื้อมา
รับประทานร่วมกันได้หรือไม่
- หลีกเลี่ยงการซื้อยาราคาแพง ควรใช้เฉพาะยาสามัญประจาบ้าน
เท่านั้น
8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
3. การเก็บรักษายา
- ควรมีที่เก็บยาแยกพิเศษ ยาบางชนิดควรเก็บในตู้เย็น
- ยาเม็ดควรเก็บใส่ขวดหรือกล่องที่มีฝาปิดให้สนิท อย่าเก็บยาเม็ด
หลายชนิดไว้ในขวดหรือกล่องเดียวกัน
- อย่าเก็บยาใกล้ความร้อน หรือที่แสงแดดส่องถึง หรือ ใกล้มือเด็ก
- ให้ขวดยามีฉลากตลอดเวลา
- ไม่ควรเก็บยาเกิน 1 ปี ถ้าเลยไปแล้วก็ควรทิ้ง

More Related Content

What's hot

ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
Utai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
Siwaporn Khureerung
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
CAPD AngThong
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 

Similar to วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)

โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
Chuchai Sornchumni
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
Nakhonratchasima Provincial of public health office
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
Chuchai Sornchumni
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
pyopyo
 
เรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราเรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราพัน พัน
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
Chuchai Sornchumni
 
Aging society report_official
Aging society report_officialAging society report_official
Aging society report_official
Tonlers Rabertjim
 
Osdop swat
Osdop  swatOsdop  swat
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
Vorawut Wongumpornpinit
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
spk906
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
School of Allied Health Science of NPU
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
SiiimSiiim

Similar to วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1) (20)

โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
 
เรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราเรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเรา
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
Aging society report_official
Aging society report_officialAging society report_official
Aging society report_official
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Osdop swat
Osdop  swatOsdop  swat
Osdop swat
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)

  • 2. 1. มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ 1.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร 1.3 บทบาทพยาบาล ผู้ดูแล ครอบครัว สังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนาผู้สูงอายุแห่งชาติ 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ
  • 3. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ความหมาย  ประเทศไทย: ตาม พรบ. 2546 ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย  องค์กรสหประชาชาติ: กาหนดมาตรฐานเดียวกันทั่วโลกให้ ผู้สูงอายุ คือ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป  องค์การอนามัยโลก: หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปี หรือมากกว่าเมื่อ นับตามวัย ผู้ที่เกษียณอายุเมื่อนับตามสภาพเศรษฐกิจ  WHO: ประเทศที่พัฒนาแล้วใช้เกณฑ์อายุ 65 ปี คือผู้สูงอายุ
  • 4. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ประเภท 1. การสูงอายุตามวัย: แบ่งผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่ม 1.1 ผู้สูงอายุวัยต้น (60-69 ปี) 1.2 ผู้สูงอายุวัยกลาง (70-79 ปี) 1.3 ผู้สูงอายุวัยปลาย (80 ปีขึ้นไป) 2. การสูงอายุตามสภาพร่างกาย: แบ่งออกเป็น 4 ช่วง 2.1 ช่วงไม่ค่อยแก่ (The young-old) อายุประมาณ 60-69 ปี 2.2 ช่วงแก่ปานกลาง (The middle age-old) อายุประมาณ 70-79 ปี 2.3 ช่วงแก่จริง (The old-old) อายุประมาณ 80-90 ปี 2.4 ช่วงแก่จริงๆ (The very old-old) อายุประมาณ 90-99 ปี
  • 5. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ประเภท (ต่อ) 3. การสูงอายุตามสภาพจิตใจ: การรับรู้ ความคิด เชาว์ปัญญา และ ลักษณะบุคลิกที่ปรากฏในระยะต่างๆของชีวิต 4. การสูงอายุตามสภาพสังคม: การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ทางสังคม เช่น การเกษียณอายุ 5. การสูงอายุตามความสามารถในการทาหน้าที่: แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม 5.1 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้ดี (กลุ่มสีเขียว) 5.2 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง (กลุ่มสีเหลือง) 5.3 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ (กลุ่มlแดง)
  • 6. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ประเภท (ต่อ) Successful Aging - การสูงอายุที่ประสบความสาเร็จ มองการสูงอายุในทางบวก พึ่งพาช่วยเหลือ ตนเองได้ - แนวคิดนี้ตั้งอยู่บนแนวคิดพื้นฐาน 2 ประการ คือ 1. บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน 2. บุคคลมีความยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ต่างๆ - มี 3 องค์ประกอบ 1. ลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคแลภาวะทุพโภชนาการ 2. การเพิ่มการทาหน้าที่ของสติปัญญา 3. การมีชีวิตอยู่อย่างเป็นประโยชน์
  • 7. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ประเภท (ต่อ) Active aging - พฤฒพลัง หมายถึง กระบวนการและการเตรียมตัวสู่ภาวะสูงอายุอย่างมี คุณภาพนาไปสู่สุขภาพ การมีส่วนร่วม และหลักประกันในการสร้างเสริม คุณภาพชีวิต มี 3 เสาหลัก - สุขภาพ: การป้ องกัน รักษา ฟื้นฟูให้มีสุขภาพดี ไม่พิการ ช่วยเหลือตัวเองได้ - การมีส่วนร่วม : การยอมรับในครอบครัว และชุมชน - หลักประกัน: ให้ความมั่นคงทางการเงิน หลักประกันสังคม ลดความไม่เท่า เทียม
  • 8. 1.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร  ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ เนื่องจากมี ประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด  ปิรามิดประชากรมีการเปลี่ยนลักษณะจากรูปร่าง ระฆังคว่า (ปี 2533) เป็น แจกัน (ปี 2562) และคาดว่าปี 2573 จะมีลักษณะ คล้าย รวงผึ้ง  ผลกระทบ: ทาให้เกิดภาวะพึ่งพิง และประเทศเสียเปรียบทาง เศรษฐกิจ รัฐต้องจ่ายค่าประกันสังคม และสวัสดิการในการดูแล ผู้สูงอายุมากขึ้น
  • 9. 1.3 บทบาทพยาบาล ผู้ดูแล ครอบครัว สังคมต่อการ ดูแลผู้สูงอายุ เน้นการดารงความสามารถของผู้สูงอายุในการดารงชีวิตอย่างปกติ แม้มีข้อจากัดเกิดขึ้น 1. ดารงสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย จิตสังคม จิตวิญญาณ 2. ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด 3. กระตุ้นให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 4. ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 5. ป้ องกันการเจ็บป่วยเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ 6. ฟื้นฟูสุขภาพให้กลับสู่สภาพปกติ 7. ดารงการดารงชีวิตปกติ แม้เจ็บป่วย
  • 10. 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา ผู้สูงอายุแห่งชาติ จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ 1. ให้ความเคารพยกย่อง 2. เข้าใจข้อจากัดต่างๆ 3. เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 4. ปฏิบัติต่อผู้สูงอายุด้วยความห่วงใย 5. มีความมั่นคงในอารมณ์ ยึดมั่นในความดี
  • 11. 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา ผู้สูงอายุแห่งชาติ พรบ. ผู้สูงอายุพ.ศ. 2546 ที่สาคัญ คือ มาตรา 3: ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมี สัญชาติไทย มาตรา 11: พูดถึงสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครอง การส่งเสริม และ การสนับสนุนด้านต่างๆ (อ่านเพิ่มเติม) มาตรา 13: การจัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริม คุ้มครอง และ สนับสนุนผู้สูงอายุ มาตรา 16: การบริจาคเงินให้กองทุนนี้ สามารถนาไปลดหย่อนภาษีได้ มาตรา 17: ผู้อุปการะบุพการีที่ไม่มีรายได้พอเลี้ยงชีพ มีสิทธิไได้รับการ ลดหย่อนภาษีตามเกณฑ์
  • 12. 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา ผู้สูงอายุแห่งชาติ แผนพัฒนาผู้สูงอายุฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) • ปรัชญา – สร้างหลักประกันในวัยสูงอายุ โดยการสร้างความ มั่นคงให้แก่สังคม ลาดับขั้นตอน: 1. ประชากรช่วยเหลือตัวเอง 2. ครอบครัวเกื้อหนุน 3. ชุมชนช่วยเหลือ 4. สังคม-รัฐเกื้อหนุน
  • 13. 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา ผู้สูงอายุแห่งชาติ แผนพัฒนาผู้สูงอายุฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) (ต่อ) • วิสัยทัศน์ “ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม” • ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ 1. ด้านการเตรียมความพร้อมของประชาชนเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ 2. ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ 3. ด้านระบบภูมิคุ้มกันทางสังคม 4. ด้านการบริหารจัดการ เพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติและ การพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ 5. ด้านการประมวลและพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ และการติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
  • 14. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1.1 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 1.1.1 สถานสงเคราะห์คนชรา 1.1.2 ศูนย์บริการทางสังคมผู้สูงอายุ 1.1.3 บริการหน่วยเคลื่อนที่ 1.1.4 การสงเคราะห์เครื่องอุปโภค บริโภค เครื่องช่วยความพิการและ อื่นๆ 1.1.5 การจัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ
  • 15. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ต่อ) 1.2 สานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ (สทส.) 1.2.1 พัฒนามาตรการ และกลไก 1.2.2 ส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ 1.2.3 คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิไผู้สูงอายุ 1.2.4 เลขานุการของคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ
  • 16. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์(ต่อ) 1.3 สานักปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - สนับสนุนเงินอุดหนุนแก่องค์กรเอกชนมูลนิธิที่ดาเนินงานด้าน ผู้สูงอายุ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2517 เป็นต้นมา 2. กระทรวงแรงงาน 2.1 สานักประกันสังคม 2.2 กรมการจัดหางาน 2.3 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
  • 17. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 3. กระทรวงศึกษาธิการ 3.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) 3.2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (ส.ช.) 4. กระทรวงวัฒนธรรม 5. กระทรวงสาธารณะสุข 5.1 กรมอนามัย 5.2 สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5.3 กรมการแพทย์ 5.4 กรมสุขภาพจิต 5.5 สานักงานประกันสุขภาพ 5.6 สถาบันวิจัยระบบสาธารณะสุข
  • 18. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 6. กระทรวงมหาดไทย 6.1 กรมการพัฒนาชุมชน 6.2 กรมส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7. กระทรวงคมนาคม 8. กระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬา 9. สานักนายกรัฐมนตรี 10.กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 11. กระทรวงการคลัง 12. กระทรวงยุติธรรม
  • 20. 2.1 จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ 1. ต้องมีความรับผิดชอบ 2. มีความซื่อสัตย์ 3. ความกตัญญูกตเวที 4. ความมีระเบียบวินัย 5. เสียสละ 6. อุตสาหะ 7. ความเมตตา กรุณา 8. ให้การดูแล 9. ให้การช่วยเหลือ 10. ให้การประคับประคองทั้งร่างกายจิตใจ 11. ให้การสนับสนุน 12. เป็นผู้ประสานงานระหว่างบุตรหลานและญาติมิตร
  • 21. 2.2 เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ  ให้การดูแลด้วยความรัก ความเคารพ ยกย่อง ดูแลเอาใจใส่ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ยอมรับข้อจากัด และความสามารถ ของผู้สูงอายุ
  • 22. 3. ทฤษฎีความสูงอายุ 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ (1) Cross linkage theory (2) Free radical theory (3) Wear and tear theory (4) Accumulative theory (5) Genetic program and error theory
  • 23. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Cross linkage theory - ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง หรือ ทฤษฏีคอลลาเจน • ความสูงอายุเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสารไขว้ขวาง คือ คอลลาเจน อีลาสติน และสารภายในเซลล์เนื้อเยื่อ • เชื่อว่า เมื่อมีอายุมากขึ้น คอลลาเจนจะเสียความยืดหยุ่น ทาให้เกิด ความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ
  • 24. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Wear and tear theory - ทฤษฎีการเสื่อมสลาย • การบาดเจ็บเล็กๆน้อยๆอย่างต่อเนื่องจากการใช้อวัยวะมาเป็น เวลานาน หรือใช้อย่างหักโหมสะสมมาเรื่อยๆ เมื่ออายุมากขึ้น จึง เกิดการตายของเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ และระบบต่างๆในร่างกาย ทางานเสื่อมลง • นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากการผ่าเหล่าของ DNA ที่ทาหน้าที่ผิดปกติ • เน้นการสร้างเสริมสุขภาพและชะลอความเสื่อของร่างกาย
  • 25. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Free radical theory - ทฤษฎีอนุมูลอิสระ - กล่าวถึงกระบวนการออกซิเดชั่นของออกซิเจน ที่ไม่สมบูรณ์ใน กระบวนการเผาผลาญสารจาพวกโปรตีน, คาร์โบไฮเดรตและอื่นๆ ทาให้เกิดเป็นอนุมูลอิสระ • ที่มีความสามารถในการทาลายผนังเซลล์ของโมเลกุลอนุมูลอิสระ เมื่อแตกออกจะไปจับกับโมเลกุลอื่นๆ ใกล้เคียง พากันเสียหน้าที่ หมด • สารต้านอนุมูลอิสระได้แก่ วิตามิน A, C และ E
  • 26. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Accumulative theory - ทฤษฎีการสะสม • เชื่อว่าการสูงอายุเกิดจากการสะสมสารที่เป็นอันตรายต่อเซลล์ สารนี้คือ Lipofuscin เป็นรงควัตถุที่มีส่วนประกอบเป็นไขมันและ โปรตีน ทาให้การทางานของเซลล์ผิดปกติ • พบมากในตับ รังไข่ เซลล์ประสาท กล้ามเนื้อหัวใจ ผิวหนัง • วิตามิน อี และ Selenium ทาลายโซ่ Lipofuscin พบใน ผักใบเขียว เครื่องในสัตว์ ผลไม้ธัญพืช
  • 27. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Genetic program and error theory - ทฤษฎีพันธุกรรม • การสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม โดยกลไกภายในเรียกว่า “Genetic clock” มีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเมื่ออายุมากขึ้น • เซลล์ต้นกาเนิดถูกกาหนดครั้งของการแบ่งตัว จานวนครั้งยิ่งมาก อายุขัยยิ่งยาวนาน
  • 28. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ ตัวอย่างข้อสอบ ตัวอย่าง 1: ผลจากการสูบบุหรี่ระยะยาว ทาให้ความยืดหยุ่น ของ Connective tissue ลดลง อธิบายด้วยทฤษฏีใด 1. Error theory 2. Free radical theory 3. Ware and tear theory 4. Cross linkage theory
  • 30. 3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม Disengagement theory - ทฤษฎีการถดถอยจากสังคม • ผู้สูงอายุและสังคมจะลดบทบาทซึ่งกันและกันอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามความต้องการของร่างกายที่ไม่อาจเลี่ยงได้ เพราะคิดว่าตนเอง มีความสามารถลดลง • ต้องกระตุ้นให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมกับสมาชิกต่างวัยเพื่อลด ความเชื่อดังกล่าว
  • 31. 3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม Activity theory - ทฤษฏีกิจกรรม • เชื่อว่า การที่ผู้สูงอายุได้ทากิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสมาชิกวัย เดียวกัน เน้นสัมพันธภาพระหว่างกิจกรรมทางสังคม การมีชีวิตที่ ตื่นตัว ไม่อยู่นิ่ง นามาซึ่งความสุข รู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง • ซึ่งเป็นแนวคิดที่สาคัญในการนามาจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ เช่น การออกกาลังกาย
  • 32. 3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม Continuity theory - ทฤษฏีความต่อเนื่อง • คงไว้ซึ่งบุคลิกภาพและแบบแผนในอดีต จะส่งเสริมให้บุคคลปรับตัว ได้ในวัยสูงอาย
  • 33. 4. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ 4.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ - ปัจจัยภายใน (สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์ ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม) - ปัจจัยภายนอก (การศึกษา เศรษฐานะและการเกษียณการ ทางาน) 4.2 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย 4.3 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
  • 34. 4.2 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย • ระบบผิวหนัง • ระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ ข้อ • ระบบหัวใจและหลอดเลือด • ระบบต่อมไร้ท่อ • ระบบทางเดินหายใจ • ระบบทางเดินอาหาร • ระบบทางเดินปัสสาวะ • ระบบประสาท
  • 35. 4.3 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม • การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ • การเปลี่ยนแปลงทางด้านสถานภาพและบทบาททางสังคม เช่น ผู้ที่เคยทางาน เมื่อครบอายุ 60 ปี ต้องออกจากงานการ • สูญเสียทบาทในการเป็นผู้นาครอบครัว • การถูกทอดทิ้ง สภาพสังคมในปัจจุบัน คนหนุ่มสาวต้องหางานทา ทาให้ ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งอยู่ตามลาพัง • ความเคารพเชื่อถือลดลง คนส่วนใหญ่มักมองว่าผู้สูงอายุมีความสามารถ น้อยลง ทาให้ความเคารพนับถือในฐานะที่มีประสบการณ์เปลี่ยนไป เด็กไม่ให้ ความเคารพผู้ใหญ่เหมือนเช่นเคย • การสูญเสียชีวิตของคู่สมรส ญาติคนใกล้ชิดหรือเพื่อน
  • 37. 5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL) การประเมิน ADL ของ Barthel’s index 10 ด้าน 1. การอาบน้า 2. การสวมใส่เสื้อผ้า 3. การใช้ห้องน้า 4. สุขวิทยาส่วนบุคคล 5. การทานอาหาร 6. การเดิน 7. การเคลื่อนย้ายจากเตียงไปเก้าอี้ 8. การกลั้นปัสสาวะ 9. การกลั้นอุจจาระ 10. การขึ้นลงบันได
  • 38. 5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL) การประเมินดัชนี Chula ADL index: (CAI) - ประเมินการดารงชีวิตที่ซับซ้อนขึ้น ประกอบด้วย 5 กิจกรรม 1. การเดินหรือการเคลื่อนที่ออกนอกบ้าน 2. การทาหรือการเตรียมอาหาร 3. การทาความสะอาดบ้านหรือการซักรีดเสื้อผ้า 4. การทอนเงิน การแลกเงิน 5. การใช้บริการรถเมล์หรือรถสองแถว
  • 39. 5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL) Time get up And go Test (TUGT) - ให้ผู้สูงอายุเดินเป็นระยะ 3 เมตร หมุนตัวแล้วเดินกลับมานั่งเก้าอี้เดิม ค่าปกติ 10-19 วินาที ผู้ที่ใช้ไม้เท้า 20 วินาที และผู้ที่ใช้ walker 41 วินาที * น้อยกว่า 10 วินาที - ไม่มีภาวะพึ่งพา * 11-19 วินาที - พึ่งพาในการเคลื่อนไหวเล็กน้อย เสี่ยงต่ออุบัติเหตุน้อยถึงปานกลาง * 20-29 วินาที - พึ่งพาในการเคลื่อนไหวปานกลาง เสี่ยงต่ออุบัติเหตุปานกลางถึงสู * มากกว่า 30 วินาที – พึ่งพามาก เสี่ยงต่อการหกล้มสูงมาก Get up and go test - ให้ผู้สูงอายุนั่งเก้าอี้ ลุกยืนโดยไม่ใช้มือยัน เดินไปข้างหน้า 10 ก้าว หยุดและ หมุนตัวกลับแล้วเดินมานั่งเก้าอี้ สังเกต Sitting balance, Standing balance จังหวะการก้าวเดิน การเซ และการหมุนตัวต่างๆ
  • 40. 5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ ผู้สูงอายุ • แบบประเมินสุขภาพจิตผู้สูงอายุ หรือแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุ ของไทย (Thai Geriatric Depression Scale, TGDS) มีคาถาม 30 ข้อ ใช่/ไม่ใช่ • การคิดคะแนน - คนสูงอายุปกติ 0-12 คะแนน - ผู้มีอาการเศร้าเล็กน้อย 13-18 คะแนน - ผู้มีอาการเศร้าปานกลาง 19-24 คะแนน - ผู้มีอาการเศร้ารุนแรง 25-30 คะแนน
  • 41. 5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ ผู้สูงอายุ • แบบประเมินด้านสติปัญญา TMSE - ภาวะปกติ 24-30 คะแนน - สูญเสียการเรียนรู้เล็กน้อย 18-23 คะแนน - สูญเสียการเรียนรู้มาก 0-17 คะแนน - ภาวะสมองเสื่อม ค่าคะแนนเท่า กับหรือน้อยกว่า 23
  • 42. 5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ ผู้สูงอายุ • แบบประเมินด้านสติปัญญา MMSE-Thai 2002 • นิยมใช้คัดกรองภาวะสมองเสื่อม เพราะประเมินได้ทั้งคนที่มี การศึกษาและไม่มีการศึกษา • ประเมิน 6 ด้าน คือ การรับรู้เวลาสถานที่ การจดจา ความตั้งใจ การคานวณ การใช้ภาษา และการระลึกได้ มีทั้งหมด 20 ข้อ
  • 43. 6. การพยาบาลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 6.1 Physical activity (Exercise) 6.2 Fall/ Environmental 6.3 Injury/ Abuse 6.4 Nutrition 6.5 Sleep 6.6 Sexual relation 6.7 Stress management 6.8 Social participation/ Recreation
  • 44. 6.1 Physical activity (Exercise) • ส่งเสริมการออกกาลังกายในผู้สูงอายุ เพื่อชะลอความเสื่อมของ ร่างกาย ลดการเกิดโรคเรื้อรัง และลดอัตราการเสื่อมของกระดูก ทาให้มีจิตใจสดชื่นแจ่มใส ดารงชีวิตได้อย่างปกติ อัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ = 220-อายุ • เช่น ผู้สูงอายุมีอายุ 60 ปี - อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุดเท่ากับ 220-60 =160 b/m - ควรออกกาลังกายให้ชีพจรเต้นเร็วประมาณร้อยละ 70-80 นั่น คือ 112-128 b/m
  • 45. 6.1 Physical activity (Exercise) การออกกาลังกายที่นิยมในผู้สูงอายุ 1. การทากายบริหาร: เช่น การรามวยจีน โยคะ ช่วยให้ข้อต่อกล้ามเนื้อ แข็งแรง การทรงตัวดี ไม่หกล้ม 2. การฝึ กกล้ามเนื้อเฉพาะส่วน: ส่งเสริมสรรถภาพของกล้ามเนื้อ บางส่วนเป็นพิเศษ เช่น ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ควรบริหารให้ กล้ามเนื้อต้นขาแข็งแรง 3. การเลือกเล่นกีฬาที่ตนชอบ: ส่งเสริมให้ได้พบปะกับผู้อื่น แต่ไม่ควร เลือกกีฬาที่หักโหม 4. การออกกาลังกายแบบแอโรบิค: การเคลื่อนไหวร่างกายต่อเนื่อง นาน 20-30 นาที
  • 46. 6.1 Physical activity (Exercise) อาการและอาการแสดงที่ต้องหยุดออกกาลังกายทันที: 1. เจ็บ แน่นหน้าอก 2. มึนงง เวียนศีรษะ หรือเป็นลม 3. คลื่นไส้ อาเจียน 4. หน้าซีด หรือแดงคล้า 5. หัวใจเต้นผิดจังหวะ 6. ปวดขาขณะเดิน 7. หายใจลาบากหรือหายใจเร็วเกิน 10 นาทีหลังหยุดพัก 8. เหนื่อยหอบตอนกลางคืน นอนราบไม่ได้ 9. ใจสั่น หรือเต้นเร็วมากผิดปกติ
  • 47. 6.1 Physical activity (Exercise) ภาวะที่ควรงดออกกาลังกายเด็ดขาด: 1. MI ที่เพิ่งเป็นไม่นาน 2. Unstable angina 3. ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ควบคุมไม่ได้ 4. Severe aortic stenosis 5. ภาวะหัวใจวายที่ควบคุมไม่ได้ 6. Pulmonary embolism 7. กล้ามเนื้อหัวใจหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ 8. Dissecting aortic aneurysm 9. ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน
  • 48. 6.2 Fall/ Environmental • สาเหตุ 1. จากภายนอกร่างกาย - Light: แสงสว่างไม่พอหรือจ้าเกินไป - Steps: บันไดมีลวดลาย หรือแคบเกินไป - Carpet: พรมย่นยับ ไม่ติดกับพื้น ขอบไม่เรียบ - Toys: ของเล่นกีดขวางทางเดิน - Pets: สัตว์เลี้ยงขนาดเล็กวิ่งวนบริเวณเท้า - Wet floor: พื้นเปียก ต่างระดับ - ทางเดินชารุด และมีพุ่มไม้เตี้ยๆ - เก้าอี้ต่าไป ลุกไม่สะดวก
  • 49. 6.2 Fall/ Environmental • สาเหตุ 1. จากภายในร่างกาย - Age related factors: - Specific disease: - Drugs: - Acute ill health - มีประวัติหกล้ม และมีความเสี่ยงสูงที่จะหกล้ม - ความผิดปกติของเท้าและขา
  • 50. 6.3 Injury/ Abuse • การทารุณกรรมในผู้สูงอายุ 1. การถูกละเลย: มีผื่นตามตัว กลิ่นตัวแรง ไม่ได้รับการรักษาตาม แผนการรักษา 2. การทารุณกรรมทางร่างกายในผู้สูงอายุ: พบบาดแผล และ ร่องรอยการถูกทาร้ายร่างกายต่างๆ 3. การทารุณกรรมทางเพศในผู้สูงอายุ: พบร่องรอยการถูกทาร้าย ที่อวัยวะเพศ และเต้านม 4. การทารุณกรรมทางจิตใจและอารมณ์ของผู้สูงอายุ: การต่อว่า ขู่ บังคับ เพิกเฉยไม่พูดคุยด้วย ทาให้ผู้สูงอายุมีอาการเงียบ ไม่พูดจา หวาดระแวง
  • 51. 6.3 Injury/ Abuse • การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกทารุณกรรม - หลักการดูแลคือ เน้นให้ผู้สูงอายุปลอดภัย และตัดวงจรการทา ร้าย ด้วยการลดหรือกาจัดปัจจัยเสริมต่างๆ พยาบาลจึงเป็นทั้งผู้ ประเมิน ผู้บันทึกรายงาน ให้คาปรึกษา เป็นพยาน ให้ความรู้กับผู้ดูแล และให้การพยาบาลตามปัญหา และประสานงานกับหน่วยงานต่างๆใน การเข้าช่วยเหลือ
  • 52. 6.4 Nutrition • ภาวะพร่องโภชนาการในผู้สูงอายุ เกิดจากความต้องการอาหารลดลง ซึ่งมีสาเหตุมาจาก 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย 2. การได้รับยา และการเจ็บป่วย 3. ภาวะเศรษฐกิจไม่ดี ไม่สามารถหาอาหารที่มีประโยชน์มาทานได้ 4. แยกตัวจากสังคม จากความโศกเศร้า เหงา ว้าเหว่ • อาการและอาการแสดง: ผมร่วง แก้ม-ขมับตอบ กล้ามเนื้อลีบ ปากนกกระจอก ลิ้นเลี่ยน บวม ผิวหนังอักเสบเป็นต้น
  • 53. 6.4 Nutrition • การพยาบาล 1. แนะนาเรื่องการรับประทานอาหาร โปรตีน: คาร์โบไฮเดรต: ไขมัน ให้ได้สัดส่วน 15% : 75% : 10% 2. ทานผักหรือผลไม้แทนขนมหวาน 3. เลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง ทานไข่ทั้งฟองไม่เกิน 2-3 ฟอง/สัปดาห์ ลดการปรุงอาหาร หรือทานอาหารรสเค็ม และลด การดื่มชากาแฟ 3. ทานอาหารเสริมระหว่างมื้อ 4. ส่งเสริมการรับประทานอาหารร่วมกับสมาชิกในครอบครัว
  • 54. 6.5 Sleep • การนอนหลับในผู้สูงอายุแตกต่างจากคนในวัยอื่น ดังนี้ 1. เวลาในการนอนจริงลดลง : ใช้เวลานานกว่าจะหลับ ตื่นง่าย ยิ่งนอน กลางวันมาก กลางคืนมักจะนอนไม่หลับ 2. วงจรการหลับ NREM sleep stage 1 และ 2 ยาวแต่ stage 3, 4 สั้น ทา ให้ตื่นง่าย 3. ระหว่างการนอนมีการหยุดหายใจ หรือหายใจช้า 4. กรนมากขึ้น และมีการกระตุกของขา ทาให้สะดุ้งตื่นกลางดึก • การนอนไม่หลับติดต่อกันนาน 48 ชม. ทาให้เกิดการพักผ่อนไม่ เพียงพอ ทาให้อ่อนเพลีย ไม่สุขสบาย การเจ็บป่ วยหายช้า กล้ามเนื้อตึงตัว มากขึ้นรับรู้ต่อการเจ็บมากขึ้น
  • 55. 6.5 Sleep การพยาบาล 1. จัดสภาพแวดล้อมส่งเสริมต่อการนอน 2. ดารงแบบแผนการนอนให้เป็นไปตามปกติ 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการนอน 4. หลีกเลี่ยงการใช้ยา เครื่องดื่มที่มีผลต่อการนอนให้น้อยที่สุด
  • 56. 6.6 Sexual relation การเปลี่ยนแปลงทางเพศในผู้สูงอายุ เพศชาย: อวัยวะเพศแข็งตัวลดลง และอาจไม่แข็งตัวสม่าเสมอ หรือ แข็งตัวไม่เต็มที่ ขนาดอวัยวะเพศเล็กลง แต่ยังคงมีความต้องการทาง เพศเท่าเดิม แต่มีปัญหาที่บางทีอวัยวะเพศไม่แข็งตัว หรือไม่สามารถ ควบคุมการหลั่งได้ตามต้องการ  เมื่อเข้าสู่วัยทองควรไปพบแพทย์ถ้ามีความต้องการทางเพศลดลง ผิดปกติ หากิจกรรมอื่นทาคลายเครียด การนวดอวัยวะเพศวันละ 3-5 นาที ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น
  • 57. 6.6 Sexual relation การเปลี่ยนแปลงทางเพศในผู้สูงอายุ(ต่อ) เพศหญิง: ช่องคลอดแคบลง น้าหล่อลื่นในช่องคลอดลดลง ทาให้ เจ็บปวดเมื่อมีเพศสัมพันธ์ อารมณ์และความต้องการทางเพศลดลง เร็วกว่าผู้ชาย  ใช้ครีมหล่อลื่น K-Y jelly ทาอวัยวะเพศก่อนมีเพศสัมพันธ์เพื่อ บรรเทาอาการเจ็บปวด
  • 58. 6.7 Stress management • สาเหตุ 1. สาเหตุทางกาย 1.1 การเจ็บป่วย 1.2 การขาดปัจจัยพื้นฐาน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย และขาดการ รักษาเมื่อเจ็บป่วย 1.3 การถูกทาร้าย เช่น การด่าทอ ทุบตี เหยียดหยาม เป็นต้น
  • 59. 6.7 Stress management 2. สาเหตุทางจิต 2.1 ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว 2.2 การถูกทอดทิ้ง 2.3 การสูญเสีย 2.4 ความตาย
  • 60. 6.7 Stress management 3. สาเหตุทางสังคม 3.1 สภาวะทางเศรษฐกิจ: รายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย 3.2 การเปลี่ยนแปลงบทบาทและหน้าที่ในสังคม: การเกษียณอายุ ผุ้ที่ยึดติดกับตาแหน่งจะทาให้ตนรู้สึกไร้ความสามารถ หากได้รับ ความยกย่องจากสังคมน้อยจะเครียดมาก
  • 61. 6.7 Stress management • การปรับตัวต่อความเครียด 1. มุ่งแก้ปัญหา: การเผชิญกับสาเหตุของความเครียดตามความจริง - เผชิญกับปัญหา - วางแผนแก้ปัญหา 2. มุ่งปรับอารมณ์: - การทาสมาธิ การจินตนาการ การนอนหลับ การออกกาลังกาย การฝึกการหายใจ การฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ นันทนาการ และการปล่อยวาง
  • 62. 6.8 Social participation/ Recreation การมีส่วนร่วมในสังคม และนันทนาการ ผู้สูงอายุที่มีความเสื่อมของสภาพร่างกาย ร่วมกับการถูกลด บทบาทในสังคม จะทาให้ผู้สูงอายุบางส่วนปรับตัวลาบาก อาจทาให้ เครียด และเกิดภาวะซึมเศร้าได้ จึงควรนากิจกรรมนันทนาการมาใช้เป็นวิธีการสร้างกาลังใจ และส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุต่อไป
  • 63. 6.8 Social participation/ Recreation ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ 1. การออกกาลังกาย และกีฬา 2. เกมส์ 3. งานศิลปะ และหัตถกรรม 4. การทาอาหาร 5. การเล่นดนตรี เต้นรา การแสดง 6. การสนทนา และโต้วาที 7. กิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรม 8. กิจกรรมทางศาสนา 9. การท่องเที่ยว
  • 64. 7. การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ 7.1 ระบบประสาท: Dementia/ Delirium/ Alzheimer/ Parkinson 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ: 7.2.1 Osteoarthritis 7.2.2 Osteoporosis 7.3 ระบบทางเดินอาหาร 7.4 ระบบไหลเวียนเลือด 7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 7.5.1 ต่อมลูกหมากโต 7.5.2 ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
  • 65. 7. การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ (ต่อ) 7.6 ประสาทสัมผัส: 7.6.1 การมองเห็น 7.6.2 การได้ยิน 7.7การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ 7.7.1 DM 7.7.2 HT, HD 7.7.3 Stroke/ Pressure sore 7.7.4 COPD/ Pneumonia
  • 66. 7.1 ระบบประสาท Dementia: โรคสมองเสื่อม เกิดจากความผิดปกติในการทางานของสมองในของเปลือกสมอง ทาให้ผู้สูงอายุมีความพิการและพึ่งพาตนเองไม่ได้ อาการและอาการแสดง: 1. บกพร่องด้านความทรงจาสิ่งใหม่ 2. บกพร่องด้านการรับรู้สิ่งใหม่ การเรียนรู้ลดลง ขาดสมาธิ 3. บกพร่องด้านการทากิจกรรมที่ซ้าซ้อน 4. บกพร่องในการตัดสินใจแก้ปัญหา การใช้ภาษา หลงทาง การทา กิจวัตรประจาวัน 5. อาการแย่ลงเมื่อพลบค่า และมีพฤติกรรมแปลกๆ เช่น สะสมของ
  • 67. 7.1 ระบบประสาท Dementia: โรคสมองเสื่อม พยาบาลจึงควรตระหนักถึงความสาคัญในการให้ความรู้และ คาแนะนาแก่ผู้ดูแลจนเกิดความเข้าใจ ยอมรับผู้ป่วย เพื่อ ประคับประคองผู้ป่วยให้คงสภาพการทาหน้าที่ของสมองให้นาน ที่สุด รวมท้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
  • 68. 7.1 ระบบประสาท Delirium ภาวะสับสน ภาวะสับสนเฉียบพลัน มักเกิดจากสาเหตุที่รักษาและป้ องกันได้ ซึ่งหากได้รับการรักษาที่ถูกต้องรวดเร็ว จะให้สรรถภาพของสมอง กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ อาการและอาการแสดง คือ มีระดับความรู้สึกตัวลดลง มีการ รับรู้ต่อสิ่งแวดล้อม ร่วมกับสมาธิแลความสนใจลดลง อาจมีอาการ หูแว่วประสาทหลอน
  • 69. 7.1 ระบบประสาท Delirium ภาวะสับสน พยาบาลจึงมีบทบาทสาคัญในการป้ องกันและลดปัจจัยเสี่ยง การเฝ้ าระวัง การค้นหาภาวะสับสนเฉียบพลันตั้งแต่ระยะแรก รวมทั้งการให้การพยาบาลเมื่อเกิดอาการ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับ ความปลอดภัยและลดการอยู่โรงพยาบาล
  • 70. 7.1 ระบบประสาท Alzheimer - Type ของ Dementia ที่พบมากที่สุด - ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด - มี 4 ระยะ 1. Early stage: ผู้ป่วยจะมีอาการหลงลืมในเรื่องเล็กๆน้อย โดยเฉพาะ Recent memory แต่ความทรงจาในอดีต Remote ยังดีอยู่ การพยาบาล: ให้เวลาในการตอบคาถาม จัดให้พักผ่อนเป็นช่วงๆ
  • 71. 7.1 ระบบประสาท Alzheimer 2. Middle stage: บุคคลรอบข้างเริ่มสังเกตเห็นความผิดปกติ เริ่มมี ปัญหาเรื่องการคิดการตัดสินใจ สูญเสียความสามารถทางคาพูด ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ การพยาบาล: ดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิด จัดให้ผู้สูงอายุในการทา กิจวัตรประจาวัน อานวยความสะดวก ใช้ปฏิทินตัวใหญ่ แขวน นาฬิกาให้ผู้ป่วยเห็นชัด และประเมินความสามารถของผู้สูงอายุว่า ด้านไหนลดลงบ้าง
  • 72. 7.1 ระบบประสาท Alzheimer 3. Later stage: มีอาการรุนแรงมากขึ้น บกพร่องในเรื่องความรู้ ความสามารถมากขึ้น ไม่สามารถจดจาสถานที่ต่างๆได้ ไม่รับรู้ บุคคล สถานที่และเวลา บกพร่องเรื่องการดูแลตนเอง ไม่สามารถ ทรงตัวได้ดี การพยาบาล: คานึงถึงความปลอดภัย ปรับสภาพแวดล้อมให้ เหมาะสม ในรายที่มีอาการหูแว่วประสาทหลอน ต้องไปพบแพทย์ และรับประทานยา
  • 73. 7.1 ระบบประสาท Alzheimer 4. Final stage: มีอาการบกพร่องด้านความจาอย่างรุนแรง จา เหตุการณ์ณ์ในอดีตไม่ได้ จาคนในครอบครัวไม่ได้ ไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวันได้ การพยาบาล: ดูแลอย่างใกล้ชิด ช่วยเหลือในการทากิจวัตร ประจาวัน
  • 74. 7.1 ระบบประสาท Parkinson • เกิดจากความเสื่อมของระบบประสาท • อาการ 1. สั่นขณะพัก (Resting Tremor) 2. กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (Muscular Rigidity) 3. เคลื่อนไหวช้า (Bradykinesia) และเคลื่อนไหวน้อย (Hypokinesia) 4. ทรงตัวไม่สม่าเสมอ (Postural instability) ก้าวเดินสั้นๆแบบซอยเท้า
  • 75. 7.1 ระบบประสาท Parkinson • การพยาบาล: 1. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทากิจวัตรด้วยตนเอง 2. ให้กินยา Levodopa ก่อนอาหาร 30 นาที 3. ฝึกการเดิน แบบค่อยๆก้าวเดิน 4. ระวังการเกิดอุบัติเหตุ พลัดตกหกล้ม 5. ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
  • 76. 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ Osteoarthritis: โรคข้อเสื่อมในกลุ่มโรคข้ออักเสบ • ภาวะปวดเข่า เข่าอักเสบ พบมากในเพศหญิงที่มีน้าหนักตัวมาก มัก เกิดบริเวณข้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหว เช่น ข้อเข่า • อาการ: ปวด บวม แดง ร้อน ตามข้อ อาจมีอาการปวดเมื่อยเริ่ม ด้วย ข้อผิดรูปชัดเจน หรือปวดอย่างรุนแรงเมื่อต้องเดินขึ้นลง บันได
  • 77. 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ Osteoarthritis: โรคข้อเสื่อมในกลุ่มโรคข้ออักเสบ • การพยาบาล 1. ควบคุมน้าหนักตัว พักหรือลดการใช้งานข้อเมื่อมีอาการอักเสบ 2. ใช้ยาแก้ปวด เช่น ยาแก้ปวด NSAIDS, ยาคลายกล้ามเนื้อ ยา กล่อมประสาท เป็นต้น 3. การใช้เวชศาสตร์ฟื้นฟู เช่น การดึง การใส่ปลอกหุ้มคอ การใส่ เฝือกหลัง 4. การผ่าตัด เช่น การผ่าตัดใส่ข้อเข่าเทียม ข้อสะโพกเทียม
  • 78. 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ Osteoporosis (โรคกระดูกพรุน) • การที่ความหนาแน่นของกระดูกลดลง จากการสลายเกลือแร่และ แคลเซียมออกจากกระดูกมากขึ้น จากการบริโภคแคลเซียมน้อย หรือร่างกายดูดซึมได้น้อยลง • ชนิดของภาวะกระดูกพรุน 1. กระดูกพรุนหลังหมดประจาเดือน: ระดับเอสโตรเจนต่าลง ทาให้ มีการสลายกระดูกมากขึ้น 2. กระดูกพรุนในวัยสูงอายุ: สาเหตุตามที่กล่าวข้างต้น
  • 79. 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ Osteoporosis (โรคกระดูกพรุน) • การพยาบาล 1. ลดปัจจัยเสียงโดยให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง และการปรับแผนการดาเนินชีวิต โดย รับประทานอาหารที่มี แคลเซียม ออกกาลังกาย 2. ป้ องกันกระดูกหัก 3. ฟื้นฟูสภาพให้ดาเนินชีวิตได้ตามปกติ
  • 80. 7.3 ระบบทางเดินอาหาร • ฟันเริ่มหลุดร่วง • ต่อมน้าลายเสื่อมหน้าที่ ทาให้การย่อยแป้ งและน้าตาลในปากลดลง • ปากลิ้นแห้ง • การรับรสผิดเพี้ยนไป • เบื่ออาหาร • หลอดอาหารกว้างขึ้น กล้ามเนื้อหูรูดบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อน ตัว ทาให้อาหารในกระเพาะอาหารย้อนกลับขึ้นมาได้ง่าย ทาให้เกิดความ รูสึกแสบยอดอก บางครั้งอาจสาลักเข้าหลอดลม ทาให้เกิดโรคปอดบวม ได้
  • 81. 7.3 ระบบทางเดินอาหาร • การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารลดลง อาหารอยู่ในกระเพาะนาน ขึ้น ทาให้รู้สึกหิวน้อยลง การดูดซึมแร่ธาตุต่างๆทาได้ไม่ดี่ • ลาไส้เคลื่อนตัวไม่ดีทาให้ท้องผูก • กล้ามเนื้อหูรูดหย่อนตัว กลั้นอุจจาระไม่ได้ • ตับและไตทางานลดลง ทาให้การทาลายและขับสารออกจาก ร่างกายทาได้น้อย
  • 82. 7.4 ระบบไหลเวียนเลือด • ความดันโลหิตสูง (Hypertension) • ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และกล้ามเนื้อหัวใจตาย (Ischemic Heart Disease and MI) • ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure) • โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (Peripheral Vascular Disease)
  • 83. 7.4 ระบบไหลเวียนเลือด • การพยาบาล 1. ดูแลด้านจิตใจ เข้าใจถึงความรู้สึกและความต้องการของผู้ป่วย 2. ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ 3. ดูแลให้ได้รับประทานอาหารและน้าที่เหมาะสมกับโรค 4. การขับถ่ายหลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย 5. ฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย
  • 84. 7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโต • พบในเพศชาย อายุ 40 ปีขึ้นไป • อาการ: ปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะไม่ พุ่ง ไหลช้า ปัสสาวะไม่ออก • การพยาบาล: 1. ส่วนใหญ่มักจะผ่าตัด TURP
  • 85. 7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ - กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ถ่ายปัสสาวะออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ - เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระบบไต และทางเดินอาหาร คือ น้าหนักและขนาดของไตลดลง การไหลเวียนเลือดในไตลดลง อัตรา การกรองของไตลดลง ขนาดกระเพาะปัสสาวะลดลง กล้ามเนื้อ กระเพาะปัสสาวะอ่อนกาลัง ปริมาณปัสสาวะค้างในกระเพาะ ปัสสาวะเพิ่มขึ้น
  • 86. 7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ • การพยาบาล 1. บริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน 2. แนะนาให้ปัสสาวะให้ตรงเวลา 3. ดูแลให้ได้รับน้า 2-3 ลิตรต่อวันถ้าไม่ขัดต่อโรค 4. จัดให้ห้องน้า หรืออุปกรณ์อยู่ใกล้ผู้สูงอายุ ห้องน้าไม่ควรห่างจาก ห้องนอนเกิน 30 ฟุต 5. ดูแลรักษาความสะอาด 6. จัดท่าให้ขับถ่ายได้สะดวก 7. ถ้าจาเป็นควรให้ยาขับปัสสาวะตอนกลางวัน
  • 87. 7.6 ประสาทสัมผัส: การมองเห็น • สายตายาวในผู้สูงอายุ (Presbyobia) • ต้อหิน (Glaucoma) • ต้อกระจก (Senile cataract)
  • 88. 7.6 ประสาทสัมผัส: การได้ยิน • การสูญเสียการได้ยินในผู้สูงอายุ (Presbycusis) • การพยาบาล: 1. ฝึกทักษะการฟังให้ผู้สูงอายุ 2. เมื่อสนทนากับผู้สูงอายุควรพูดตรงหน้า ให้ง่ายต่อการสังเกตริมฝีปาก 3. ปรึกษาแพทย์เรื่องการใช้เครื่องช่วยฟัง 4. ใช้เสียงทุ้มต่า พูดเป็นคาๆ ช้าๆ สั้นๆ กระชับ ชัดเจน ไม่ตะโกน หรือ ตะคอก 5. ใช้ภาษากายร่วมด้วย เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ
  • 89. 7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ DM: เบาหวาน • สาเหตุ 1. ความผิดปกติจากการทางานของอินซูลิน 2. ความเครียด 3. ความอ้วน 4. ผลจากยาหรือสารเคมี 5. ขาดการออกกาลังกาย 6. พันธุกรรม
  • 90. 7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ DM: เบาหวาน • การพยาบาล 1. ควบคุมอาหาร 2. ออกกาลังกาย 3. การใช้ยาในการรักษา 4. ทาบัตรประจาตัวโรคเบาหวาน 5. ดูแลรักษาเท้า
  • 93. 8. การใช้ยาในผู้สูงอายุ 8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยาต่อกัน ของยา 8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
  • 94. 8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา ต่อกันของยา การดูดซึมยา (Drug absorption) - ภาวะความเป็นกรดด่าง และการไหลเวียนเลือดไปยังลาไส้ลดลง ทาให้ยาบางชนิดต้องอาศัยการซึมผ่านโดยวิธีพิเศษ (Active transport) - การดูดซึมยาทาได้น้อยลง แต่ยาที่มีการซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ธรรมดา การดูดซึมไม่เปลี่ยนแปลง
  • 95. 8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา ต่อกันของยา การกระจายตัวของยา (Drug distribution) - ปริมาณน้าในร่างกายลดลง แต่ไขมันเพิ่มขึ้น ทาให้ยาบางชนิดที่ ละลายในไขมัน จะถูกเก็บสะสมไว้ในร่างกาย และออกฤทธิไยาวนานขึ้น - ระดับอัลบูมินในเลือดที่สามารถรวมตัวกับยาลดลง ทาให้ยาในรูป อิสระมีปริมาณสูงขึ้น
  • 96. 8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา ต่อกันของยา การเปลี่ยนแปลงยาภายในร่างกาย (Drug metabolism) - ตับมีขนาดเล็กลง และการไหลเวียนของเลือดในตับลดลง เมื่อ เทียบกับวัยหนุ่มสาว ทาให้ยาเปลี่ยนแปลงที่ตับได้น้อย การขับถ่ายยา (Drug elimination) - การทางานของไตลดลง ทาให้การขับถ่ายยาต่างๆช้าลง
  • 97. 8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา 1. การใช้ยาตามแพทย์สั่ง เมื่อแพทย์สั่งยาชนิดใหม่ - ให้บอกว่าปัจจุบันใช้ยาอะไรอยู่บ้าง เพื่อป้ องกันการให้ยาซ้าซ้อน - แจ้งว่าแพ้ยาอะไรบ้าง และมีอาการอย่างไร หรือยาที่ได้รับมาใหม่ออก ฤทธิไอย่างไร มีผลข้างเคียงอะไรบ้าง - ต้องแน่ใจว่าผู้สูงอายุเข้าใจคาแนะนาต่างๆอย่างถูกต้อง หรือเขียน บันทึกช่วยจาให้ผู้สูงอายุ หรือผู้ดูแล - เขียนฉลากตัวโตชัดเจน - ให้ยาให้ถูกต้องตรงตามชนิด ขนาด เวลา วิธี และบุคคล
  • 98. 8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา 2. การซื้อยามารับประทานเอง - ไม่ควรใช้ยาโดยไม่จาเป็น หรือตัดสินใจใช้ยาด้วยตนเอง - อย่าซื้อยามารับประทานเองเกินกว่า 1 สัปดาห์ โดยไม่ปรึกษาแพทย์ - ถ้ากาลังรับประทานยาที่แพทย์สั่ง ควรตรวจสอบว่ายาที่ซื้อมา รับประทานร่วมกันได้หรือไม่ - หลีกเลี่ยงการซื้อยาราคาแพง ควรใช้เฉพาะยาสามัญประจาบ้าน เท่านั้น
  • 99. 8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา 3. การเก็บรักษายา - ควรมีที่เก็บยาแยกพิเศษ ยาบางชนิดควรเก็บในตู้เย็น - ยาเม็ดควรเก็บใส่ขวดหรือกล่องที่มีฝาปิดให้สนิท อย่าเก็บยาเม็ด หลายชนิดไว้ในขวดหรือกล่องเดียวกัน - อย่าเก็บยาใกล้ความร้อน หรือที่แสงแดดส่องถึง หรือ ใกล้มือเด็ก - ให้ขวดยามีฉลากตลอดเวลา - ไม่ควรเก็บยาเกิน 1 ปี ถ้าเลยไปแล้วก็ควรทิ้ง