SlideShare a Scribd company logo
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) I
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมและงานสร้างเสริมสุขภาพ
ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน
ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. ๒๕๕๙
ลิขสิทธิ์เป็นของ ศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.)
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) II
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) III
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีส่วนช่วยปรับปรุงคู่มือการฝึกปฏิบัติงานให้เหมาะสมและทันสมัยในการฝึก
ปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน ได้แก่ ภญ.ช้องมาศ นิติศฤงคาริน นายกสมาคมเภสัชกรรมชุมชน ดร.ภญ.ศิริรัตน์ ตันปิ
ชาติ กรรมการสมาคมเภสัชกรรมชุมชน และ ผศ.ภญ.ดร.สุชาดา สูรพันธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอขอบคุณ
คณะทางานพัฒนาคู่มือการเยี่ยมบ้าน ได้แก่ ภก.ธีระพงษ์ มนต์มธุรพจน์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ภญ.วิไลลักษณ์
ตันตะโยธิน ร้านกนกฟาร์มาเชน ผศ.ภก.วิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์ ภก.ขัตติยะ มั่งคั่ง ภก.เสถียร พูลผล ดร.ภญ.ศิริ
รัตน์ ตันปิชาติ และดร.ภญ.สุนทรี วัชรดารงกุล ขอขอบคุณคณะทางานการป้องกันการติดเชื้อ HIV ที่เกิดจากการ
สัมผัส ผศ.ดร.ภญ.ปวีณา สนธิสมบัติ และ ภก.ขัตติยะ มั่งคั่ง และคณะอนุกรรมการทุกท่านในวาระที่ผ่านมาและใน
วาระปัจจุบันที่ช่วยกันพัฒนาให้เกิดคู่มือฉบับปรับปรุงครั้งนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดในการเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษา
เภสัชศาสตร์และแหล่งฝึกร้านยาปี ๖ ต่อไป
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐)
๑.) รศ.ดร.ภก. จักรพันธ์ ศิริธัญญาลักษณ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ปรึกษา
๒.) ผศ.ดร.ภก.สุระรอง ชินวงศ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานอนุกรรมการ
๓.) ผศ.ภก.วิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองประธานอนุกรรมการ
๔.) ผศ.ดร.ภญ.กรแก้ว จันทภาษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น อนุกรรมการ
๕.) ผศ.ดร.ภญ.ปวีณา สนธิสมบัติ มหาวิทยาลัยนเรศวร อนุกรรมการ
๖.) ผศ.ดร.ภญ. พยอม สุขเอนกนันท์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อนุกรรมการ
๗.) ผศ.ภญ.มยุรี ตั้งเกียรติกาจาย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อนุกรรมการ
๘.) ดร.ภญ.ณัฐาศิริ ฐานะวุฑฒ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อนุกรรมการ
๙.) ดร.ภญ.ทิพย์สุชน เอี่ยมสอาด มหาวิทยาลัยรังสิต อนุกรรมการ
๑๐.) ดร.ภญ. มนทยา สุนันทิวัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุกรรมการ
๑๑.) ดร.ภญ.กุสาวดี เมลืองนนท์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อนุกรรมการ
๑๒.) ภก.ชยินทร์ จตุพรประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยบูรพา อนุกรรมการ
๑๓.) ภญ.อัญชลีพร หล่อสุวรรณกุล มหาวิทยาลัยพายัพ อนุกรรมการ
๑๔.) ภญ.บงกชกร พลไชย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อนุกรรมการ
๑๕.) ภก.เสถียร พูลผล มหาวิทยาลัยสยาม อนุกรรมการ
๑๖.) ภก.ขัตติยะ มั่งคั่ง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อนุกรรมการ
๑๗.) ภก.กฤษดา อนันตวุฒิกุล มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย อนุกรรมการ
๑๘.) ภญ.ศิศิรา ดอนสมัคร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อนุกรรมการ
๑๙.) ภญ.อดิณัฐ อานวยพรเลิศ มหาวิทยาลัยพะเยา อนุกรรมการ
๒๐.) ภก.กิติยศ ยศสมบัติ ตัวแทนจากร้านยาแหล่งฝึก
๒๑.) ดร.ภญ.สุนทรี วัชรดารงกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุกรรมการและเลขานุการ
๒๒.) ภก.ศุภฤกษ์ โกวินธนาพัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) IV
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) V
คานิยม
ปัจจุบันงานบริการเภสัชกรรมชุมชนจัดเป็นส่วนหนึ่งของงานเภสัชกรรมปฐมภูมิ และได้รับการพัฒนาให้
ครอบคลุมตั้งแต่การคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรังและโรคร้ายแรง การให้ความรู้ ไปจนถึงการติดตามดูแลการใช้ยาให้แก่
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งที่บ้านและที่ร้านยา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วย เช่น การใช้ยาไม่ถูกต้อง ไปจนถึงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการเลิกบุหรี่ หรือการควบคุมน้าหนัก เป็นต้น ในขณะที่ระบบสุขภาพของ
ประเทศได้พัฒนาและปรับเปลี่ยนไป งานเภสัชกรรมชุมชนก็มีการพัฒนาและปรับตัวเพื่อให้รองรับความต้องการของ
ผู้ป่วย ครอบครัว และสังคมอย่างต่อเนื่อง เห็นได้ว่างานบริการเภสัชกรรมชุมชนในปัจจุบันจึงต้องการความรู้ และ
ทักษะที่หลากหลายในการติดตามดูแลและช่วยเหลือแก้ปัญหาแก่ผู้ป่วย ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมนิสิตนักศึกษาให้มี
ความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยในระดับปฐมภูมิ และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชน สภาเภสัชกรรมจึงได้
กาหนดให้การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชน เป็นการฝึกงานภาคบังคับสาหรับหลักสูตรบริบาลเภสัชกรรม
๖ ปี ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อจะให้นิสิตนักศึกษาได้มีโอกาสสร้างทักษะและสั่งสมประสบการณ์
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชนฉบับนี้ ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ
เป็นแนวทางสาหรับเภสัชกรชุมชนที่ให้ความอนุเคราะห์แก่คณะเภสัชศาสตร์ทุกคณะในการเป็นแหล่งฝึกปฏิบัติงาน
วิชาชีพ คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อแหล่งฝึกใน ๒ ลักษณะคือ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับการดูแลนักเรียนในการฝึก
ปฏิบัติงานวิชาชีพ ขณะเดียวกัน หากเภสัชกรแหล่งฝึกได้ดาเนินการตามแนวทางในคู่มือนี้อย่างสม่าเสมอ คู่มือฉบับ
นี้สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนางานบริการผู้ป่วยของร้านยาได้ด้วยเช่นกัน ในขณะนี้ บทบาทของเภสัชกร
ชุมชนซึ่งอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านเข้าสู่มิติใหม่ การสร้างนวัตกรรมการให้บริการเพื่อให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยจากการใช้
ยาและได้รับประโยชน์สูงสุดจากการมารับบริการที่ร้านยาจึงเป็นหัวใจของการพัฒนาระบบบริการของร้านยา
ดังนั้น กลุ่มนิสิต/นักศึกษาที่ไปฝึกปฏิบัติงานที่ร้านยาเมื่อได้ดูแลและให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
จะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้งานบริการดังกล่าวพัฒนาไปเป็นส่วนหนึ่งของงานประจาของร้านพร้อมๆ กับการยอมรับ
ของผู้ป่วยที่มารับบริการที่ร้านนั้นๆ นั่นคือนอกจากนักเรียนจะได้ประสบการณ์ที่มีคุณค่าแล้ว ร้านยายังสามารถ
พัฒนากิจกรรมต่างๆของร้านเพื่อประโยชน์แก่ผู้ป่วยที่มารับบริการ และชุมชนรอบๆ ร้านยา อันจะส่งผลให้เกิดการ
ยอมรับระบบบริการของร้านในระยะยาว
ท้ายนี้ในนามของศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย ใคร่ขอขอบพระคุณ
คณะอนุกรรมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมที่เป็นกาลังหลักในการพัฒนาคู่มือฉบับนี้ และขอขอบพระคุณ
แหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชนที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ในการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพให้แก่นิสิตนักศึกษา
พร้อมทั้งร่วมกันพัฒนาบทบาทของเภสัชกรชุมชนมาอย่างต่อเนื่อง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภญ ดร. รุ่งเพ็ชร สกุลบารุงศิลป์
ประธานศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) VI
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) VII
บทนา
งานเภสัชกรรมชุมชนเป็นงานบริบาลทางเภสัชกรรมที่เป็นเรือธงของวิชาชีพ มีการพัฒนาบทบาทการดูแล
การใช้ยาให้กับประชาชน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและปลอดภัยในการใช้ยา เพื่อเฝ้าระวังและคุ้มครองผู้บริโภค
และนอกจากนี้เภสัชกรชุมชนยังมีบทบาทในการช่วยประชาชนสร้างสุขภาพ โดยการสร้างแนวคิด แนวทางในการ
ปฏิบัติ รวมถึงการให้บริการเบื้องต้นที่ร้านยา
การถ่ายทอดบทบาทของเภสัชกรชุมชนให้เป็นเหมือนดัง ๗ star pharmacist ที่องค์การอนามัยโลกได้
กาหนดขึ้น (care giver, leader, decision-maker, communicator, life-long learner, leader และ teacher)
นั้น จาเป็นต้องใช้กระบวนการฝึกปฏิบัติให้เกิดทักษะผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนในแหล่งฝึก ซึ่งในการฝึก
ปฏิบัติวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชน (ชั้นปี ๖) ได้กาหนดอย่างน้อย ๑ ผลัด และผลัดเลือก (elective clerkship) สาหรับ
นิสิตนักศึกษาผู้สนใจอีก ๑ ผลัด จากจานวนผลัดทั้งสิ้น ๖-๗ ผลัดแตกต่างกันไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ทาง
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน จึงเห็นความสาคัญของการร่วมกาหนดทักษะหลัก
ขั้นต้นที่นิสิตนักศึกษาเภสัชศาสตร์ และทักษะเฉพาะที่เป็นทางเลือกขึ้น ในการฝึกปฏิบัติงานในร้านยาแหล่งฝึก เพื่อ
เป็นข้อมูลและแนวทางปฏิบัติให้นิสิตนักศึกษาได้ศึกษาและเตรียมความพร้อมก่อนออกฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขา
เภสัชกรรมชุมชน
จากการประเมินผลการใช้งานคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมและงานสร้างเสริมสุขภาพ ใน
สถานปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ พบว่ามีข้อจากัดในเรื่องการประเมินผล ที่มีข้อย่อยและ
รายละเอียดมาก ซึ่งอาจส่งผลให้การประเมินมีความคลาดเคลื่อนจากวัตถุประสงค์ของการประเมิน ทาง
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน จึงได้ประชุมหารือและปรับแบบประเมินเพื่อให้กระชับมาก
ยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามหากนิสิตนักศึกษาได้ลองปรับใช้แล้ว ยังเห็นว่ามีส่วนที่ควรปรับปรุง ทางคณะอนุกรรมการฯ
ยินดีหากได้รับความคิดเห็นของทุกท่านที่จะนาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงเพื่อการใช้งานสาหรับนิสิตนักศึกษาใน
รุ่นต่อไป
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน ศ.ศ.ภ.ท.
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) IX
สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
รูปแบบการฝึกปฏิบัติงาน ๓๓
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๓๔
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๓: การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ๓๕
จุดมุ่งหมาย ๓๕
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๓๕
รูปแบบการฝึกปฏิบัติงาน ๓๖
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๓๗
แผนภูมิขั้นตอนการให้บริการและการให้คาปรึกษา ๓๘
แบบบันทึกและขั้นตอนการให้บริการ ๓๙
แบบบันทึกและขั้นตอนการให้บริการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๑: แบบคัดกรองและ
ติดตามความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคทางเมแทบอลิก สมรรถภาพปอด
และกระดูกพรุน
๔๐
แบบติดตามผู้มีความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคทางเมแทบอลิก
สมรรถภาพปอด และกระดูกพรุน
๔๓
ขั้นตอนการคัดกรองและติดตามการปรับพฤติกรรมของผู้มีความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง และโรคทางเมแทบอลิก
๔๔
Peak Expiratory Flow Rates (PEFR) ๔๕
แบบบันทึกและขั้นตอนการให้บริการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๒: แบบบันทึกการให้บริการ
เลิกบุหรี่
๕๓
แบบติดตามการให้บริการเลิกบุหรี่ ๕๗
๕As: แนวทางการให้บริการเลิกบุหรี่โดยเภสัชกร ๕๙
แบบคัดกรองการใช้ยาปฏิชีวนะสาหรับโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน (URIs) อย่างสมเหตุผล ๖๐
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๓: แบบประเมินเพื่อการคัดกรองการใช้ยาปฏิชีวนะสาหรับโรค
ท้องเสียอย่างสมเหตุผล
๖๒
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๔: แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน (Home care visit) ๖๕
แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน (ตัวอย่าง) ๗๕
การป้องกันการติดเชื้อ HIV ที่เกิดจากการสัมผัส ๘๑
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) VIII
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คาแนะนาการใช้คู่มือ X
การฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ๑
จุดมุ่งหมาย ๑
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๑
แนวทางการฝึกปฏิบัติงาน ๒
แนวทางการจัดกิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๓
การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงาน ๔
เงื่อนไขการฝึกปฏิบัติงาน ๔
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๕
แบบบันทึกสรุปกิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๖
แบบบันทึกการให้บริการประจาวันในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน (daily log) และตัวอย่าง ๗
แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิตนักศึกษา สาหรับอาจารย์ (ป-๑/๑-๑/๒) ๙
แบบประเมินทักษะการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม (ป-๓/๑-๓/๓) ๑๑
แบบประเมินการนาเสนอกรณีศึกษา (ป-๖/๑-๖/๓) ๑๔
แบบประเมินการนาเสนอและการวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (ป-๗/๑-๗/๓) ๑๗
แบบประเมินการให้ความรู้บุคลากรในองค์กร (ป-๘) ๒๐
แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ (ป-สสส-ป-สสส/๑-๒) ๒๑
ตัวอย่างแบบรายงานการรับและตอบคาถามด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างเป็นระบบ ๒๔
การฝึกปฏิบัติงานบริบาลเภสัชกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ๒๗
องค์ประกอบ ๒๘
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๑: การคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ ๒๙
จุดมุ่งหมาย ๒๙
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๒๙
รูปแบบการฝึกปฏิบัติงาน ๓๐
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๓๑
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๒: การส่งเสริมการเลิกบุหรี่แก่ผู้มารับบริการ ๓๒
จุดมุ่งหมาย ๓๒
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๓๒
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) X
คาแนะนาการใช้คู่มือ
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมและงานสร้างเสริมสุขภาพ ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรม
ชุมชน จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางทางสาหรับนิสิตนักศึกษาชั้นปีที่ ๖ และอาจารย์ประจาแหล่งฝึกร้านยา ในการฝึก
ปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ๒ ส่วนหลักดังนี้
๑. การฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
องค์ประกอบของการฝึกปฏิบัติงานส่วนนี้มีการปรับปรุงจากคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัช
กรรม งานบริการทางเภสัชกรรมและงานสร้างเสริมสุขภาพในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน ฉบับปรับปรุง ปี
พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยกรอบแนวทางการฝึกปฏิบัติงานครอบคลุมวัตถุประสงค์ แนวทางการฝึกปฏิบัติ สมรรถนะของงาน
เภสัชกรรมชุมชน (community pharmacy competency) แนวทางการประเมินพฤติกรรม และทักษะการฝึก
ปฏิบัติของนิสิตนักศึกษา
๒. การฝึกปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ
แนวทางการฝึกปฏิบัติงานและแบบบันทึกเพื่อการดาเนินงานในส่วนนี้ครอบคลุม ๔ กิจกรรม ได้แก่
การคัดกรองผู้มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เมแทบอลิก สมรรถภาพปอด และกระดูกพรุน การ
ให้บริการเลิกบุหรี่ การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล และการเยี่ยมบ้าน โดยกรอบแนวทางการฝึก
ปฏิบัติงานนี้จัดเป็นทักษะเฉพาะ ที่มีการดาเนินการในแหล่งฝึกบางแห่ง อย่างไรก็ตามทางคณะอนุกรรมการฯ ได้
เล็งเห็นความสาคัญของการฝึกปฏิบัตินี้ ได้จัดทารายละเอียด วัตถุประสงค์ของกิจกรรม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
และแนวทางในการประเมินการดาเนินการกิจกรรมของนิสิตนักศึกษาในด้านทักษะและทัศคติ/เจตคติต่อการฝึก
ปฏิบัติเพื่อให้บริการประชาชน
การฝึกปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพมุ่งเน้นการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น การสร้างความตระหนักในการ
ดูแลสุขภาพให้กับประชาชน และการเฝ้าระวังการใช้ยาและผลิตภัณฑ์เพื่อให้บทบาทของเภสัชกรมีความชัดเจนต่อ
การดูแลสุขภาพของประชาชน ทั้งนี้ การจัดทาสื่อหรือการมีส่วนร่วมในการให้บริการอย่างเต็มที่เป็นบทบาทสาคัญที่
นิสิตนักศึกษาทุกคนต้องมีส่วนร่วมกับร้านยาที่เป็นแหล่งฝึก
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) XI
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑
การปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน
(Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy)
จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้นิสิตนักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและทัศนคติที่ดีในการให้บริบาลทางเภสัชกรรมในสถาน
ปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน โดยผสานแนวคิดการบริหารจัดการเชิงธุรกิจบนพื้นฐานของจรรยาบรรณวิชาชีพ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เพื่อให้นิสิตนักศึกษาที่ผ่านการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรม
ชุมชน มีความสามารถดังนี้
๑. ระบุและอธิบายถึง หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของเภสัชกรในการให้บริการชุมชน
๒. ปฏิบัติงานให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้มารับบริการเฉพาะยายอย่างสมเหตุผลตามหลักฐานเชิง
ประจักษ์และเศรษฐานะของผู้มารับบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
๒.๑ ตรวจสอบความถูกต้องของใบสั่งยา และ/หรือยาที่ได้รับ โดยปรึกษากับแพทย์/เภสัชกรผู้ทาการ
สั่งจ่ายยาเมื่อตรวจพบความผิดพลาดหรือปัญหาจากการใช้ยา
๒.๒ สัมภาษณ์ ค้นหา และประเมินปัญหาทางสุขภาพของผู้มารับบริการในสถานปฏิบัติการเภสัช
กรรมชุมชน เพื่อวินิจฉัยโรคเบื้องต้น วินิจฉัยแยกโรค วินิจฉัยทางเภสัชกรรม (pharmacy diagnosis)
และให้การรักษาแก่ผู้ป่วยในโรคที่ไม่ซับซ้อน และ/หรือทาการส่งต่อผู้ป่วยแก่บุคลากรสาธารณสุข
เพื่อให้ได้รับการรักษาที่เหมาะสมอย่างน้อยควรครอบคลุมเนื้อหาดังต่อไปนี้
๒.๒.๑ Eye, Ear, Nose and Throat disorders (e.g. sore throat, cough, cold and
allergic rhinitis)
๒.๒.๒ Pain and fever
๒.๒.๓ Gastrointestinal disorder (e.g. nausea, vomiting, diarrhea, constipation,
indigestion, peptic ulcer, hemorrhoid)
๒.๒.๔ Genitourinary tract infections (e.g. urinary tract infection, vaginitis, sexually
transmitted diseases)
๒.๒.๕ Skin disorders (e.g. dermatophyte infections, eczema, urticarial, skin
infections)
๒.๒.๖ Musculoskeletal disorders (e.g. osteoporosis, gout, osteoarthritis)
๒.๒.๗ Drugs in special populations (e.g. pregnancy and lactation, geriatrics,
pediatrics, G6PD deficiency)
๒.๒.๘ Helminthic infestation
๒.๒.๙ Hormones and contraceptive products
๒.๒.๑๐ Vitamin, mineral and nutrition supplement products
๒.๓ คัดกรอง ค้นหาปัจจัยเสี่ยง ให้คาแนะนาพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพเพื่อให้ได้รับ
คาแนะนาที่ถูกต้องเหมาะสม และมีผลต่อการประเมินการส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหา
สาธารณสุขที่สาคัญเพื่อให้ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๒
๒.๔ สัมภาษณ์ ค้นหา อ่านคาและแปลผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมถึงประเมินและแก้ไข
ปัญหาทางสุขภาพที่เกี่ยวเนื่องกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน
และ/หรือทาการส่งต่อผู้ป่วยแก่บุคลากรสาธารณสุขเพื่อให้ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
๒.๕ วางแผนการรักษาด้วยยาร่วมกับผู้ป่วย พร้อมให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วย เพื่อให้การใช้ยา
เป็นไปอย่างถูกต้องและเกิดความร่วมมือในการใช้ยา รวมถึงการสร้างแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ
๒.๖ จัดทาแฟ้มประวัติการใช้ยาของผู้ป่วย (medication profile) เพื่อบันทึกการติดตาม
การใช้ยาของผู้ป่วยที่เป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งระบุปัญหาจากการใช้ยา (drug-related problems) การ
แก้ไขที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว แผนการติดตามและ/หรือเสนอแนวทางแก้ไข
๒.๗ ให้คาปรึกษาด้านสุขภาพแก่ผู้มารับบริการในเรื่องของยา โรค การดูแลรักษาตนเอง การ
ปฏิบัติตัว ตลอดจนการเลือกใช้เภสัชภัณฑ์ วัสดุการแพทย์ และผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพอื่นๆ อย่าง
เหมาะสม
๓. สามารถค้นหา เลือก วิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์ และให้บริการเภสัชสนเทศทางยาแก่ผู้ป่วย
บุคลากรสาธารณสุขและชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพภายในเวลาที่เหมาะสม
๔. สื่อสารกับผู้รับบริการ บุคลากรสาธารณสุขและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการฝึกปฏิบัติงาน
ในการฝึกปฏิบัติงาน นิสิตนักศึกษามีความรับผิดชอบดังต่อไปนี้
๑. เข้าร่วมในกิจกรรมประจาวันของแหล่งฝึก ในส่วนที่ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ประจาแหล่งฝึก
๒. ปฏิบัติงานให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยโดยครอบคลุมวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
๓. ให้บริการสารสนเทศทางยาแก่ผู้ป่วย บุคลากรสาธารณสุข อาจารย์ประจาแหล่งฝึก และชุมชนเมื่อมี
การสอบถาม
๔. ค้นหา เลือก และวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์จากเอกสารและแหล่งอ้างอิงต่างๆ เพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วย และอภิปรายร่วมกับอาจารย์ประจาแหล่งฝึก
๕. จัดทาเอกสาร แผ่นพับหรือเครื่องมืออื่นๆ เพื่อใช้ในการให้ความรู้ตามที่ได้รับมอบหมายจากอาจารย์
ประจาแหล่งฝึก
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๓
แนวทางการจัดกิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน
สัปดาห์ กิจกรรม อาจารย์
ผู้รับผิดชอบ
๑ - เข้ารับการปฐมนิเทศ
- ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน
- ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย
อาจารย์ประจา
แหล่งฝึก
๒ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน
- ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย
อาจารย์ประจา
แหล่งฝึก
๓ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน
- นาเสนอกรณีศึกษาครั้งที่ ๑ (โรคทั่วไปหรือโรคเรื้อรัง)
- ประเมินพฤติกรรม ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงานครั้งที่ ๑
- ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย
อาจารย์ประจา
แหล่งฝึก
๔ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน
- นาเสนอ และวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติงานและหรือการดูแลผู้ป่วย
- ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย
อาจารย์ประจา
แหล่งฝึก
๕ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน
- ให้ความรู้แก่บุคลากรสาธารณสุขในองค์กร (academic in-service)
- ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย
- นาเสนอสื่อให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและหรือประชาชนทั่วไป (เลือก)
อาจารย์ประจา
แหล่งฝึก
๖ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน
- นาเสนอกรณีศึกษาครั้งที่ ๒ (โรคทั่วไปหรือโรคเรื้อรัง และแผนการปรับ
พฤติกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ)
- ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย
- ประเมินพฤติกรรม ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงานครั้งที่ ๒
อาจารย์ประจา
แหล่งฝึก
หมายเหตุ กิจกรรมเหล่านี้เป็นแนวทางการฝึกปฏิบัติงานสาหรับอาจารย์ประจาแห่งฝึก ซึ่งอาจปรับเปลี่ยน
ตามสถานการณ์และความเหมาะสมของแหล่งฝึก
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๔
การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงาน
๑. การประเมินโดยอาจารย์ประจามหาวิทยาลัย ร้อยละ ๓๐
๑.๑ รายงานผลการฝึกปฏิบัติงาน ร้อยละ ๑๐
๑.๒ การนาเสนอผลการปฏิบัติงาน ร้อยละ ๑๐
๑.๓ อื่นๆ ตามที่แต่ละสถาบันกาหนด (สามารถพิจารณา แบบ-ป-สสส) ร้อยละ ๑๐
๒. การประเมินโดยอาจารย์ประจาแหล่งฝึก ร้อยละ ๗๐
๒.๑ พฤติกรรมและทัศนคติ (แบบ-ป-๑/๑ และ ๑/๒) ร้อยละ ๑๐
๒.๒ ทักษะการฝึกปฏิบัติงาน (แบบ-ป-๓/๑, ๓/๒ และ ๓/๓) ร้อยละ ๓๐
๒.๓ งานมอบหมาย
๒.๓.๑ การนาเสนอกรณีศึกษา (formal case presentations) ร้อยละ ๑๕
อย่างน้อย ๒ กรณีศึกษา
๒.๓.๒ การให้ความรู้ในองค์กร (academic in-service) ร้อยละ ๕
นิสิตนักศึกษา หรือประชาชนทั่วไป
๒.๓.๓ การวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ร้อยละ ๕
หรือนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นเพื่อนาไปใช้บริบาลทางเภสัชกรรม
แก่ผู้ป่วยเฉพาะรายอย่างน้อย ๑ ครั้ง
๒.๓.๔ การร่วมกิจกรรมอื่นๆ ร้อยละ ๕
เงื่อนไขการฝึกปฏิบัติงาน
๑. กรณีศึกษาที่นิสิตนักศึกษาทารายงานหรือนาเสนอ ควรเป็นกรณีศึกษาที่แตกต่างจากนิสิตนักศึกษาอื่น
๒. ในการนาเสนอ ๒ กรณีศึกษาต่อผลัด นิสิตนักศึกษาควรติดตามผู้ป่วยอย่างน้อย ๑ ครั้ง เพื่อเรียนรู้
การประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก เรียนรู้ผู้ป่วยและการปรับพฤติกรรมของผู้ป่วยเฉพาะราย รวมถึงมี
ระบบจัดการเพื่อให้เกิดการติดตามผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เช่น การทาทะเบียนนัด เป็นต้น (ขึ้นกับดุลย
พินิจของอาจารย์ประจาแหล่งฝึก)
๓. สาหรับขั้นตอนการสอบถามประวัติ นิสิตนักศึกษาควรสอบถามเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ และถ้าผู้ตอบสูบ
บุหรี่ ให้สอบถามเพิ่มเติม “ต้องการเลิกบุหรี่หรือไม่คะ/ครับ”
๔. นิสิตต้องพัฒนาทักษะการวินิจทางเภสัชกรรมในการฝึกปฏิบัติงาน โดยทักษะนี้หมายถึงกระบวนการ
วิเคราะห์สุขภาพแบบองค์รวมเพื่อค้นหาปัญหาจากการใช้ยาของผู้ป่วย/ผู้รับบริการ โดยใช้เครื่องมือ
ทางเภสัชศาสตร์ ประกอบด้วยการระบุชื่อยาที่ได้รับ (drug identification) การสอบถามประวัติยา
ทั้งหมดที่ผู้ป่วยรับประทาน การตรวจร่างกาย/การสัมภาษณ์ระบบร่างกายเบื้องต้น ในช่วงที่
รับประทานยานั้นๆ (review of system)
แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงานภาพรวม
นักศึกษาเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 6 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อ-สกุล................................................................................รหัสนักศึกษา..............................................................
ผลัดที่...........................รายวิชาฝึกงาน.....................................................แหล่งฝึก.................................................
ผลการประเมินภาพรวม
(คะแนนเต็ม 70 คะแนน) นักศึกษาสามารถปฏิบัติได้คิดเป็น ................ คะแนน
ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของอาจารย์แหล่งฝึกต่อนักศึกษา
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ…………………………………….…………
(………………………………………………)
อาจารย์แหล่งฝึก/ประทับตราหน่วยงาน
วันที่.................................................
หมายเหตุ กรณีไม่สามารถประเมินได้ รบกวนระบุเพื่อทางคณะฯ รับทราบ และในกรณีมีอาจารย์
เภสัชกรแหล่งฝึกประเมินหลายท่าน ให้กรอกคะแนนเฉลี่ยสุดท้าย
ระดับขั้นการประเมิน
ดีมาก (65 – 70 คะแนน)
ดี (60 – 65 คะแนน)
ปานกลาง (55 – 60 คะแนน)
ปรับปรุง (50 – 55 คะแนน)
ไม่ผ่าน (45 – 50 คะแนน)
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๕
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน
กิจกรรมที่กาหนด เกณฑ์กาหนด แบบประเมิน ร้อยละ
๑. เข้าร่วมการปฐมนิเทศ
เรียนรู้และ/หรือร่วมกิจกรรมด้านการบริหารจัดการร้านยา เช่น การ
บริหารเวชภัณฑ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
ตามที่แหล่งฝึก
กาหนด
ป-๓/๑
ป-๓/๒
ป-๓/๓
๓๐
๒. สัมภาษณ์ประวัติและ/หรือการประเมินทางกายภาพ วินิจฉัยเบื้องต้น
วินิจฉัยแยกโรค วินิจฉัยทางเภสัชกรรม คัดเลือกยาและจ่ายยาเพื่อการ
รักษาเบื้องต้น หรือการส่งต่อผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเฉพาะทาง
> ๔ ราย/วัน*
๓. สัมภาษณ์ประวัติและ/หรือการประเมินทางกายภาพ และติดตามผู้ป่วย
โรคเรื้อรัง หรือการส่งต่อผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเฉพาะทาง
> ๖ ราย/ผลัด
๔. คัดกรองภาวะโรคเรื้อรัง ประเมิน และให้การดูแลผู้ที่มีความเสี่ยง > ๖ ราย/ผลัด
๕. ให้คาแนะนาปรึกษาด้านยาและสุขภาพแก่ผู้ป่วย ญาติ หรือผู้ที่
เกี่ยวข้องโดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
> ๓ ราย/วัน*
๖. บันทึกข้อมูลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ สืบค้นปัญหาจากการใช้ยา
เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและวางแผนติดตามการใช้ยา
ของผู้ป่วยที่มารับบริการ (เช่น antibiotic smart use ในโรคติดเชื้อ
ทางเดินหายใจตอนบนหรือท้องเสีย)
> ๑ รายต่อวัน*
๗. อภิปรายร่วมกับอาจารย์ประจาแหล่งฝึกเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับ
มอบหมาย (case discussion) **
> ๓ ครั้ง/สัปดาห์*
๘. ให้บริการสารสนเทศเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ > ๕ คาถาม/ผลัด
๙.
นาเสนอกรณีศึกษา (formal case presentation) (รวมถึงการติดตาม
ผู้ป่วยและต้องไม่ซ้ากับนิสิต/นักศึกษาอื่น)
≥ ๒ ราย/ผลัด
ป-๖/๑
ป-๖/๒
ป-๖/๓
๑๕
๑๐. นาเสนอประเด็นสุขภาพ/ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่เป็นปัจจุบันแก่
บุคลากร หรือนิสิต/นักศึกษา (academic in-service)
≥ ๑ ครั้ง
ป-๘
๕
๑๑.
วิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ≥ ๑ ครั้ง
ป-๗/๑
ป-๗/๒
๕
๑๒. เผยแพร่ความรู้เรื่องยาโดยจัดบอร์ด การจัดทาสื่อการสอนหรือ
สนับสนุนกิจกรรมปฏิบัติงาน เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ หรือภาพพลิก
≥ ๑ ครั้ง ๕
๑๓. ดาเนินโครงการหรือกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การติดตามผู้ป่วยด้วยการ
เยี่ยมบ้าน (home health care) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน
โรค การร่วมกิจกรรมวิชาชีพในด้านสาธารณประโยชน์หรืองาน
วิชาการ
ตามที่แหล่งฝึก
กาหนด
ป-สสส ***
หมายเหตุ *กรณีศึกษาในข้อดังกล่าวอาจเป็นกรณีศึกษาเดียวกันได้ แต่ไม่ควรเป็นกรณีศึกษาที่ซ้ากับนิสิต/นักศึกษาอื่น
**รูปแบบของ case discussion เป็นการอภิปรายเกี่ยวกับผู้ป่วยที่นิสิต/นักศึกษาทาการประเมินและจ่ายยาหรือให้คาปรึกษาในแต่ละวันประกอบด้วย
การสรุปข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ การสืบค้นปัญหา การเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและติดตามการใช้ยา
*** เกณฑ์การให้คะแนน เสนอให้เป็นส่วนหนึ่งที่ขึ้นกับการประเมินโดยอาจารย์ประจามหาวิทยาลัย ในข้อ ๑.๓ อื่นๆ ตามที่แต่ละสถาบันกาหนด ใน
กรอบอัตราร้อยละ ๑๐
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๖
แบบบันทึกสรุปกิจกรรม
การฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน
ชื่อนิสิต/นักศึกษา....................................................................................................รหัสประจาตัว...........................................................
แหล่งฝึก..............................................ระหว่างวันที่..............................................ถึง.......................................รวม..............................วัน
กิจกรรมที่กาหนด เกณฑ์กาหนด ปฏิบัติจริง
๑. ปฐมนิเทศ
เรียนรู้และ/หรือร่วมกิจกรรมด้านการบริหารจัดการร้านยาเช่น การบริหารเวชภัณฑ์
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ตามที่แหล่งฝึก
กาหนด
๒. สัมภาษณ์ประวัติและ/หรือการประเมินทางกายภาพ วินิจฉัยเบื้องต้น วินิจฉัยแยกโรค
วินิจฉัยทางเภสัชกรรม#
คัดเลือกยาและจ่ายยาเพื่อการรักษาเบื้องต้น หรือการส่งต่อ
ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเฉพาะทาง
≥ ๔ ราย/วัน*
๓. สัมภาษณ์ประวัติและ/หรือการประเมินทางกายภาพ และติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรังหรือการ
ส่งต่อผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเฉพาะทาง
≥ ๖ ราย/ผลัด
๔. คัดกรองภาวะโรคเรื้อรัง ประเมินและให้การดูแลผู้ที่มีความเสี่ยง ≥ ๖ ราย/ผลัด
๕. ให้คาแนะนาปรึกษาด้านยาและสุขภาพแก่ผู้ป่วย ญาติ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเน้นการ
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
≥ ๓ราย/วัน*
๖. บันทึกข้อมูลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ สืบค้นปัญหาจากการใช้ยา เสนอแนะแนวทางแก้ไข
ปัญหาที่เกิดขึ้นและวางแผนติดตามการใช้ยาของผู้ป่วยที่มารับบริการ (เช่น antibiotic
smart use ในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจตอนบนหรือท้องเสีย การค้นหาและประเมิน
อาการไม่พึงประสงค์)
≥ ๑ ราย/วัน*
๗. อภิปรายร่วมกับอาจารย์ประจาแหล่งฝึกเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมาย
(case discussion)**
≥ ๓ ครั้ง/สัปดาห์*
๘. ให้บริการสารสนเทศเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ ≥ ๕ คาถาม/ผลัด
๙. นาเสนอกรณีศึกษา (formal case presentation) (รวมถึงการติดตามผู้ป่วยและ
ต้องไม่ซ้ากับนิสิต/นักศึกษาอื่น)
≥ ๒ ราย/ผลัด
๑๐.
นาเสนอประเด็นสุขภาพ/ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่เป็นปัจจุบันแก่บุคลากร หรือ
นิสิต/นักศึกษา (academic in-service)
≥ ๑ ครั้ง
๑๑. วิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ≥ ๑ ครั้ง
๑๒.
เผยแพร่ความรู้เรื่องยาโดยจัดบอร์ด การจัดทาสื่อการสอนหรือสนับสนุนกิจกรรม
ปฏิบัติงาน เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ หรือภาพพลิก
≥ ๑ ครั้ง
๑๓. ดาเนินโครงการหรือกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การติดตามผู้ป่วยด้วยการเยี่ยมบ้าน (home
health care) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคการร่วมกิจกรรมวิชาชีพในด้าน
สาธารณประโยชน์หรืองานวิชาการ
ตามที่แหล่งฝึก
กาหนด
ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อนิสิต/นักศึกษา.........................................................................ลงชื่ออาจารย์ประจาแหล่งฝึก.......................................................
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๗
แบบบันทึกการให้บริการประจาวัน (Daily log) ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน
สถานปฏิบัติงาน .........................................................................................................................................ผลัดที่…….…………..ระหว่างวันที่ .......................................................
ชื่อ-สกุล............................................................................................ รหัสนิสิต...........................................นิสิตเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัย ...........................................
Date การปฏิบัติงานและกรณีศึกษา ปัญหาหรือ DRP ที่พบ การแก้ไข การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
(เฉพาะใจความสาคัญ)
ลงชื่ออาจารย์
01/06/58 กรณีศึกษาที่ 1
การปฏิบัติงาน
และสิ่งที่ได้
เรียนรู้
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๘
แบบบันทึกการให้บริการประจาวัน (Daily log) ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน (ตัวอย่าง)
สถานปฏิบัติงาน .........................................................................................................................................ผลัดที่…….…………..ระหว่างวันที่ .......................................................
ชื่อ-สกุล............................................................................................ รหัสนิสิต...........................................นิสิตเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัย ...........................................
Date การปฏิบัติงานและกรณีศึกษา ปัญหาหรือ DRP ที่พบ การแก้ไข การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
(เฉพาะใจความสาคัญ)
ลงชื่ออาจารย์
01/06/58 กรณีศึกษาที่ 1 ผู้ป่วยเพศชายอายุ 25 ปี มีอาการ
ไอแห้งๆ มา 3-4 วัน ก่อนหน้านี้
เป็นไข้ แต่ตอนนี้ไม่มีไข้แล้ว ไม่เป็น
หวัด ไม่มีน้ามูก จิบยาแก้ไอ
สมุนไพร อาการไอไม่ดีขึ้น ปฏิเสธ
การแพ้ยา ไม่มีโรคประจาตัว
Problem list: Cough
DRP ไม่มีประวัติ
เกี่ยวเนื่องจากยาที่ส่งผล
ต่อการไอ
Risk Factor : มีประวัติ
เป็นไข้หวัดมาก่อน
- Tuscough®
1x3 po pc
(Dextromethorphan 15 mg +
Bromhexine 8 mg + Glyceryl
Guaiacolate 100 mg)
- ดื่มน้าอุ่นมากๆ พักผ่อนให้
เพียงพอ ออกกาลังกายเป็นประจา
อาการไอเป็นกลไกการตอบสนองของร่างกาย
อย่างหนึ่งต่อสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจและ
เป็นกลไกป้องกันที่สาคัญของร่างกายในการ
กาจัดเชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมในทางเดิน
หายใจ พิจารณาสาเหตุอื่นที่อาจทาให้เกิดอาการ
ไอได้ เช่น หอบหืด ภูมิแพ้ ไข้หวัด ยาบางชนิด
โพรงไซนัส คอหรือกล่องเสียง เป็นต้น
อาการไอของผู้ป่วยรายนี้เข้าเกณฑ์ไอ
เฉียบพลัน อาการเป็นน้อยกว่า 3 สัปดาห์
เนื่องจากไข้หวัด หากติดตามผู้ป่วยไอเรื้อรัง
มากกว่า 3 สัปดาห์ ถึง 8 สัปดาห์ อาจต้องคิดถึง
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง วัณโรคปอด เป็นต้น
แนวทางการรักษาให้การบาบัดตามอาการ
การปฏิบัติงาน
และสิ่งที่ได้
เรียนรู้
- ฝึกทักษะการซักประวัติผู้ป่วย ค้นหา risk factor พบว่ามีไข้หวัดนามาก่อน
- ฝึกทักษะ Review of System: ไม่พบความผิดปกติของไซนัส ไม่มีอาการหอบ ไอกลางวัน
เป็นหลัก และไม่พบความผิดปกติของระบบอื่น
- ฝึกการเขียนฉลากยา ตาม PL law
- ฝึกทักษะในการเลือกยาและการประเมินตาม IESAC
- ทักษะการให้คาแนะนาการใช้ยา การปฏิบัติตัวให้กับผู้ป่วย และการติดตามทางโทรศัพท์
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๙
แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา
สาหรับอาจารย์ประจาแหล่งฝึก
ชื่อนิสิต/นักศึกษา...............................................................................................รหัสประจาตัว............................
ปฏิบัติงาน..........................................................ชื่อแหล่งฝึก...................................................ผลัดที่.....................
ให้อาจารย์ประจาแหล่งฝึกประเมินผลโดยสังเกตจากพฤติกรรม ผลการปฏิบัติงานและ/หรือจากการ
อภิปรายสอบถาม การสื่อสารทั้งโดยวาจา หรือลายลักษณ์อักษร และให้ประเมิน ๒ ครั้ง คือในสัปดาห์ที่ ๓ และ
๖ ของการฝึกปฏิบัติงาน ควรมีการแจ้งผลการประเมินในสัปดาห์ที่ ๓ ให้นิสิต/นักศึกษาทราบ เพื่อให้เกิดการ
พัฒนา โดยคะแนนที่ใช้การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานจะคิดจากคะแนนในสัปดาห์ที่ ๖
คาชี้แจง
ให้ท่านทาเครื่องหมายกากบาท (x) ในช่องระดับคะแนนของแบบประเมินที่ตรงกับทักษะและ
ความสามารถของนิสิต/นักศึกษาที่ท่านดูแลมากที่สุด (ประเมินทั้งในและนอกเวลาการฝึกปฏิบัติงานฯ)
ระดับขั้นการประเมิน
คะแนน ระดับ นิยาม
๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมเหมาะสม มีความพร้อม เสียสละ กระตือรือร้น รวมถึงทัศนคติที่
ดีต่อการฝึกปฏิบัติงานพร้อมสามารถอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่าง
เหมาะสม
๔ ดี นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมเหมาะสม มีความพร้อม เสียสละ รวมถึงทัศนคติที่ดีต่อการฝึก
ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง แต่ต้องได้รับคาแนะนาเพียงเล็กน้อย
๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์พอใช้ สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง แต่ต้องได้รับ
คาแนะนาเป็นส่วนใหญ่
๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมไม่เหมาะสมบางประการ เกิดความผิดพลาดซ้า สามารถ
ปฏิบัติงานได้ แต่ต้องได้รับการติดตามอย่างใกล้ชิด
๑ ไม่ผ่าน นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เกิดความผิดพลาดซ้า และไม่ปรับปรุงตัวตาม
คาแนะนาของอาจารย์ประจาแหล่งฝึก
นิสิต/นักศึกษาจะได้รับการประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ก็ต่อเมื่อ
มีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา
มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๕๐
แบบ-ป-๑/๑
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑๐
แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา
สาหรับอาจารย์ประจาแหล่งฝึก
ชื่อนิสิต/นักศึกษา .............................................................................................. รหัสประจาตัว ...............................
ชื่อแหล่งฝึก .........................................................................................................ผลัดที่ ............................................
หัวข้อการประเมิน
สัปดาห์ที่ ๓
หรือ
สัปดาห์ที่ …….....
สัปดาห์ที่ ๖
๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๑. ตรงต่อเวลาและมีวินัย
๒. แต่งกายเหมาะสมแสดงถึงความเป็นวิชาชีพเภสัชกรรม
๓. มีสัมมาคารวะและประพฤติตนเหมาะสมกับกาลเทศะ
๔. มีน้าใจไม่เพิกเฉยต่อการช่วยเหลือผู้อื่นตามสมควร
๕. บุคลิกภาพเหมาะสม
๖. ตั้งใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติงาน
๗. รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
๘. การปรับตัวเข้ากับแหล่งฝึก
๙. การทางานร่วมกับผู้อื่น
๑๐. การปรับปรุงตนเองต่อข้อเสนอแนะ
๑๑. การมีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ซื่อสัตย์
ไม่มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
๑๒. โดยรวมนิสิต/นักศึกษา มีทัศคติที่ดีต่อการประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมชุมชน
รวมคะแนน (คะแนนที่ได้ x ๑๐)/ฐานคะแนนที่ประเมินจริง
ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ………...............................................................อาจารย์ประจาแหล่งฝึก
( )
แบบ-ป-๑/๒
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑๑
แบบประเมินทักษะการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชนสาหรับอาจารย์ประจาแหล่งฝึก
ชื่อนิสิต/นักศึกษา......................................................................................................รหัสประจาตัว.................................
ปฏิบัติงาน...............................................................ชื่อแหล่งฝึก........................................................ผลัดที่.....................
ให้อาจารย์ประจาแหล่งฝึกประเมินผลโดยสังเกตจากพฤติกรรม ผลการปฏิบัติงานและ/หรือจากการ
อภิปรายสอบถาม การสื่อสารทั้งโดยวาจา หรือลายลักษณ์อักษร และให้ประเมิน ๒ ครั้ง คือในสัปดาห์ที่ ๓ และ ๖ ของ
การฝึกปฏิบัติงาน ควรมีการแจ้งผลการประเมินในสัปดาห์ที่ ๓ ให้นิสิต/นักศึกษาทราบ เพื่อให้เกิดการพัฒนา โดย
คะแนนที่ใช้การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานจะคิดจากคะแนนในสัปดาห์ที่ ๖
คาชี้แจง
ให้ท่านทาเครื่องหมายกากบาท (x) ในช่องระดับคะแนนของแบบประเมินที่ตรงกับทักษะและความสามารถ
ของนิสิต/นักศึกษาที่ท่านดูแลมากที่สุด (ประเมินทั้งในและนอกเวลาการฝึกปฏิบัติงานฯ)
ระดับขั้นการประเมิน
คะแนน ระดับ นิยาม
๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่ามีทักษะ/ความสามารถครบถ้วนตามวัตถุประสงค์การฝึกปฏิบัติงาน
ฯเป็นที่น่าพอใจ เกิดความบกพร่องน้อย สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง อาจได้รับคาแนะนาเป็น
ครั้งคราว
๔ ดี นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่ามีทักษะ/ความสามารถตามวัตถุประสงค์การฝึกปฏิบัติงานฯ มีความ
บกพร่องในระดับยอมรับได้ สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง แต่ต้องได้รับคาแนะนาเป็นครั้งคราว
๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่ามีทักษะ/ความสามารถตามเกณฑ์วัตถุประสงค์การฝึกปฏิบัติงานฯมี
ความบกพร่องในระดับยอมรับได้ ยังคงสามารถปฏิบัติงานได้ แต่ต้องได้รับคาแนะนาเป็นส่วนใหญ่
๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่าขาดทักษะ/ความสามารถในระดับไม่น่าเชื่อถือ เกิดความบกพร่อง
อยู่เสมอ การปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การดูแลจากอาจารย์ประจาแหล่งฝึกอย่างใกล้ชิด
๑ ไม่ผ่าน นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่าขาดทักษะ/ความสามารถ ไม่ผ่านตามวัตถุประสงค์การฝึก
ปฏิบัติงานฯ ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ เกิดความผิดพลาดซ้า และไม่ปรับปรุงตามคาแนะนาของ
อาจารย์ประจาแหล่งฝึก
แบบ-ป-๓/๑
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑๒
แบบประเมินทักษะ/ความสามารถ
การฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน
ชื่อนิสิต/นักศึกษา .............................................................................................. รหัสประจาตัว ...............................
ชื่อแหล่งฝึก .........................................................................................................ผลัดที่ ............................................
หัวข้อการประเมิน
สัปดาห์ที่ ๓
หรือสัปดาห์ที่ …......
สัปดาห์ที่ ๖ หมาย
เหตุ
๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๑. การรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม **
- ทักษะการสื่อสาร: การสัมภาษณ์ ผู้ป่วย ญาติและ/หรือบุคลากร
ทางสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องเพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยง ประวัติที่จาเป็นใน
การดูแลในร้านยา และประเมินความต้องการของผู้ป่วย
- ทักษะในการเก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูล: การสังเกต การซัก
ประวัติทั่วไป ประวัติแยกโรค และการประเมินระบบร่างกายเบื้องต้น
(review of system) การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์พื้นฐานในการ
วินิจฉัยเบื้องต้นหรือติดตามผลการรักษา และการบันทึกข้อมูลทาง
สุขภาพของผู้มารับบริการอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรค
เรื้อรังหรือผู้ป่วยที่ต้องติดตามการใช้ยา (สามารถใช้แฟ้มประวัติของ
ทางแหล่งฝึกได้)
๒. กระบวนการคิดเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบแก่ผู้ป่วยเฉพาะ
ราย (SOAP)
๒.๑ การระบุปัญหาทางสุขภาพและความต้องการของผู้รับบริการ
(Problem list)
๒.๒ การระบุข้อมูลของผู้ป่วยที่สัมพันธ์กับปัญหาทางสุขภาพ
๒.๓ การประเมินผู้ป่วย **
- ระบุสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและ/หรือโรคเรื้อรัง
- การคัดกรองและการวินิจฉัยแยกโรคจากอาการแสดงและประวัติ
ทางการแพทย์ของผู้ป่วยได้รวมถึงการวินิจฉัยทางเภสัชกรรม
- การระบุระดับความรุนแรงของภาวะเจ็บป่วยเบื้องต้น/โรคเรื้อรัง
- การพิจารณาเปรียบเทียบคัดเลือกยาและ/หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่
เหมาะสมแก่ผู้ป่วยเฉพาะราย (IESAC)*
แบบ-ป-๓/๒
คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑๓
หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ ๓
หรือสัปดาห์ที่ …......
สัปดาห์ที่ ๖ หมาย
เหตุ
๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๒.๔ การแก้ไขปัญหาแก่ผู้ป่วย **
- ทักษะในการสรุปผลการประเมินปัญหาสุขภาพ และระบุเป้าหมาย
ของการรักษาร่วมกับผู้ป่วย
- ทักษะการจ่ายยาและให้คาแนะนา
1) การใช้ยาโดยแจ้งชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาด วิธีการใช้ ระยะเวลา
ในการใช้ยาอาการข้างเคียง และข้อควรระวังข้อควรปฏิบัติเมื่อ
เกิดปัญหาจากการใช้ยา รวมถึงการเก็บรักษา
2) การให้คาแนะนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
3) การพิจารณาส่งต่อผู้ป่วย (อาจมีหรือไม่มีแบบบันทึกส่งต่อ)
4) การให้คาแนะนาเบื้องต้นเพื่อให้ผู้ป่วยได้ติดตามประสิทธิภาพ
และความปลอดภัยของยาที่ได้รับ
- ทักษะในการเก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูล: การจัดทาแฟ้มประวัติ
การรักษาและการใช้ยาของผู้ป่วยโรคเรื้อรังหรือผู้ที่ต้องติดตามการ
ใช้ยา (ใช้รูปแบบการบันทึกของแหล่งฝึกหรือนิสิต/นักศึกษาจัดทา
ขึ้นมาเอง)
๓. การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาแก่ผู้ป่วย **
- อวัจนภาษา: สีหน้า ท่าทาง
- วัจนภาษา: ภาษาเหมาะแก่ระดับผู้รับสาร ชัดเจน ได้ใจความ
ถูกต้อง ตรงประเด็น
- การให้คาแนะนาที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
- การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เหมาะสมตามสถานการณ์
- การเขียนฉลากยา ฉลากช่วย และใบส่งต่อผู้ป่วย (ถ้ามี)
๔. บริการสารสนเทศทางยาแก่ผู้ป่วยและ/หรือบุคคลทั่วไป/บุคลากร
สาธารณสุข
รวมคะแนน (คะแนนที่ได้ x ๓๐)/ฐานคะแนนที่ประเมินจริง
หมายเหตุ: *IESAC คือ Indication, Efficacy, Safety, Adherence, Cost ** ประเมินในภาพรวมโดยพิจารณาจากข้อย่อยทั้งหมด
ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
.
ลงชื่อ………...............................................................อาจารย์ประจาแหล่งฝึก
แบบ-ป-๓/๓
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม

More Related Content

What's hot

การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
Ziwapohn Peecharoensap
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
Utai Sukviwatsirikul
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
Rachanont Hiranwong
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
Aimmary
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
โปรตอน บรรณารักษ์
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
Utai Sukviwatsirikul
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
2.คำนำ สารบัญ
2.คำนำ  สารบัญ2.คำนำ  สารบัญ
2.คำนำ สารบัญJunior Bush
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
CAPD AngThong
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
Jaturapad Pratoom
 

What's hot (20)

การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
Cpg mdd-gp
Cpg mdd-gpCpg mdd-gp
Cpg mdd-gp
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
2.คำนำ สารบัญ
2.คำนำ  สารบัญ2.คำนำ  สารบัญ
2.คำนำ สารบัญ
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
 

Similar to คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม

การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
Utai Sukviwatsirikul
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6
Chuchai Sornchumni
 
Guideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionGuideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors prevention
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
Suradet Sriangkoon
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
CAPD AngThong
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
School of Allied Health Science of NPU
 
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
Apichai Khuneepong
 
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
Dr.Suradet Chawadet
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
Green Industry File2 (02 august 2016)
Green Industry File2 (02 august 2016)Green Industry File2 (02 august 2016)
Green Industry File2 (02 august 2016)
Dr.Satid Therdkiattikul
 
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
Vorawut Wongumpornpinit
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
School of Allied Health Science of NPU
 

Similar to คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม (20)

การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6
 
Guideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionGuideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors prevention
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
Qa nus-dansaihospital
Qa nus-dansaihospitalQa nus-dansaihospital
Qa nus-dansaihospital
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
Green Industry File2 (02 august 2016)
Green Industry File2 (02 august 2016)Green Industry File2 (02 august 2016)
Green Industry File2 (02 august 2016)
 
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
คู่มือมาตรฐานการนวดไทยในสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 2558
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม

  • 1. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) I คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมและงานสร้างเสริมสุขภาพ ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ลิขสิทธิ์เป็นของ ศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.)
  • 3. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) III กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีส่วนช่วยปรับปรุงคู่มือการฝึกปฏิบัติงานให้เหมาะสมและทันสมัยในการฝึก ปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน ได้แก่ ภญ.ช้องมาศ นิติศฤงคาริน นายกสมาคมเภสัชกรรมชุมชน ดร.ภญ.ศิริรัตน์ ตันปิ ชาติ กรรมการสมาคมเภสัชกรรมชุมชน และ ผศ.ภญ.ดร.สุชาดา สูรพันธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอขอบคุณ คณะทางานพัฒนาคู่มือการเยี่ยมบ้าน ได้แก่ ภก.ธีระพงษ์ มนต์มธุรพจน์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ภญ.วิไลลักษณ์ ตันตะโยธิน ร้านกนกฟาร์มาเชน ผศ.ภก.วิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์ ภก.ขัตติยะ มั่งคั่ง ภก.เสถียร พูลผล ดร.ภญ.ศิริ รัตน์ ตันปิชาติ และดร.ภญ.สุนทรี วัชรดารงกุล ขอขอบคุณคณะทางานการป้องกันการติดเชื้อ HIV ที่เกิดจากการ สัมผัส ผศ.ดร.ภญ.ปวีณา สนธิสมบัติ และ ภก.ขัตติยะ มั่งคั่ง และคณะอนุกรรมการทุกท่านในวาระที่ผ่านมาและใน วาระปัจจุบันที่ช่วยกันพัฒนาให้เกิดคู่มือฉบับปรับปรุงครั้งนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดในการเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษา เภสัชศาสตร์และแหล่งฝึกร้านยาปี ๖ ต่อไป คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐) ๑.) รศ.ดร.ภก. จักรพันธ์ ศิริธัญญาลักษณ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ปรึกษา ๒.) ผศ.ดร.ภก.สุระรอง ชินวงศ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานอนุกรรมการ ๓.) ผศ.ภก.วิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองประธานอนุกรรมการ ๔.) ผศ.ดร.ภญ.กรแก้ว จันทภาษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น อนุกรรมการ ๕.) ผศ.ดร.ภญ.ปวีณา สนธิสมบัติ มหาวิทยาลัยนเรศวร อนุกรรมการ ๖.) ผศ.ดร.ภญ. พยอม สุขเอนกนันท์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อนุกรรมการ ๗.) ผศ.ภญ.มยุรี ตั้งเกียรติกาจาย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อนุกรรมการ ๘.) ดร.ภญ.ณัฐาศิริ ฐานะวุฑฒ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อนุกรรมการ ๙.) ดร.ภญ.ทิพย์สุชน เอี่ยมสอาด มหาวิทยาลัยรังสิต อนุกรรมการ ๑๐.) ดร.ภญ. มนทยา สุนันทิวัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุกรรมการ ๑๑.) ดร.ภญ.กุสาวดี เมลืองนนท์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อนุกรรมการ ๑๒.) ภก.ชยินทร์ จตุพรประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยบูรพา อนุกรรมการ ๑๓.) ภญ.อัญชลีพร หล่อสุวรรณกุล มหาวิทยาลัยพายัพ อนุกรรมการ ๑๔.) ภญ.บงกชกร พลไชย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อนุกรรมการ ๑๕.) ภก.เสถียร พูลผล มหาวิทยาลัยสยาม อนุกรรมการ ๑๖.) ภก.ขัตติยะ มั่งคั่ง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อนุกรรมการ ๑๗.) ภก.กฤษดา อนันตวุฒิกุล มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย อนุกรรมการ ๑๘.) ภญ.ศิศิรา ดอนสมัคร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อนุกรรมการ ๑๙.) ภญ.อดิณัฐ อานวยพรเลิศ มหาวิทยาลัยพะเยา อนุกรรมการ ๒๐.) ภก.กิติยศ ยศสมบัติ ตัวแทนจากร้านยาแหล่งฝึก ๒๑.) ดร.ภญ.สุนทรี วัชรดารงกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุกรรมการและเลขานุการ ๒๒.) ภก.ศุภฤกษ์ โกวินธนาพัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
  • 5. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) V คานิยม ปัจจุบันงานบริการเภสัชกรรมชุมชนจัดเป็นส่วนหนึ่งของงานเภสัชกรรมปฐมภูมิ และได้รับการพัฒนาให้ ครอบคลุมตั้งแต่การคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรังและโรคร้ายแรง การให้ความรู้ ไปจนถึงการติดตามดูแลการใช้ยาให้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งที่บ้านและที่ร้านยา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วย เช่น การใช้ยาไม่ถูกต้อง ไปจนถึงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการเลิกบุหรี่ หรือการควบคุมน้าหนัก เป็นต้น ในขณะที่ระบบสุขภาพของ ประเทศได้พัฒนาและปรับเปลี่ยนไป งานเภสัชกรรมชุมชนก็มีการพัฒนาและปรับตัวเพื่อให้รองรับความต้องการของ ผู้ป่วย ครอบครัว และสังคมอย่างต่อเนื่อง เห็นได้ว่างานบริการเภสัชกรรมชุมชนในปัจจุบันจึงต้องการความรู้ และ ทักษะที่หลากหลายในการติดตามดูแลและช่วยเหลือแก้ปัญหาแก่ผู้ป่วย ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมนิสิตนักศึกษาให้มี ความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยในระดับปฐมภูมิ และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชน สภาเภสัชกรรมจึงได้ กาหนดให้การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชน เป็นการฝึกงานภาคบังคับสาหรับหลักสูตรบริบาลเภสัชกรรม ๖ ปี ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อจะให้นิสิตนักศึกษาได้มีโอกาสสร้างทักษะและสั่งสมประสบการณ์ คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชนฉบับนี้ ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ เป็นแนวทางสาหรับเภสัชกรชุมชนที่ให้ความอนุเคราะห์แก่คณะเภสัชศาสตร์ทุกคณะในการเป็นแหล่งฝึกปฏิบัติงาน วิชาชีพ คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อแหล่งฝึกใน ๒ ลักษณะคือ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับการดูแลนักเรียนในการฝึก ปฏิบัติงานวิชาชีพ ขณะเดียวกัน หากเภสัชกรแหล่งฝึกได้ดาเนินการตามแนวทางในคู่มือนี้อย่างสม่าเสมอ คู่มือฉบับ นี้สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนางานบริการผู้ป่วยของร้านยาได้ด้วยเช่นกัน ในขณะนี้ บทบาทของเภสัชกร ชุมชนซึ่งอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านเข้าสู่มิติใหม่ การสร้างนวัตกรรมการให้บริการเพื่อให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยจากการใช้ ยาและได้รับประโยชน์สูงสุดจากการมารับบริการที่ร้านยาจึงเป็นหัวใจของการพัฒนาระบบบริการของร้านยา ดังนั้น กลุ่มนิสิต/นักศึกษาที่ไปฝึกปฏิบัติงานที่ร้านยาเมื่อได้ดูแลและให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง จะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้งานบริการดังกล่าวพัฒนาไปเป็นส่วนหนึ่งของงานประจาของร้านพร้อมๆ กับการยอมรับ ของผู้ป่วยที่มารับบริการที่ร้านนั้นๆ นั่นคือนอกจากนักเรียนจะได้ประสบการณ์ที่มีคุณค่าแล้ว ร้านยายังสามารถ พัฒนากิจกรรมต่างๆของร้านเพื่อประโยชน์แก่ผู้ป่วยที่มารับบริการ และชุมชนรอบๆ ร้านยา อันจะส่งผลให้เกิดการ ยอมรับระบบบริการของร้านในระยะยาว ท้ายนี้ในนามของศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย ใคร่ขอขอบพระคุณ คณะอนุกรรมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมที่เป็นกาลังหลักในการพัฒนาคู่มือฉบับนี้ และขอขอบพระคุณ แหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชนที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ในการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพให้แก่นิสิตนักศึกษา พร้อมทั้งร่วมกันพัฒนาบทบาทของเภสัชกรชุมชนมาอย่างต่อเนื่อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภญ ดร. รุ่งเพ็ชร สกุลบารุงศิลป์ ประธานศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย
  • 7. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) VII บทนา งานเภสัชกรรมชุมชนเป็นงานบริบาลทางเภสัชกรรมที่เป็นเรือธงของวิชาชีพ มีการพัฒนาบทบาทการดูแล การใช้ยาให้กับประชาชน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและปลอดภัยในการใช้ยา เพื่อเฝ้าระวังและคุ้มครองผู้บริโภค และนอกจากนี้เภสัชกรชุมชนยังมีบทบาทในการช่วยประชาชนสร้างสุขภาพ โดยการสร้างแนวคิด แนวทางในการ ปฏิบัติ รวมถึงการให้บริการเบื้องต้นที่ร้านยา การถ่ายทอดบทบาทของเภสัชกรชุมชนให้เป็นเหมือนดัง ๗ star pharmacist ที่องค์การอนามัยโลกได้ กาหนดขึ้น (care giver, leader, decision-maker, communicator, life-long learner, leader และ teacher) นั้น จาเป็นต้องใช้กระบวนการฝึกปฏิบัติให้เกิดทักษะผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนในแหล่งฝึก ซึ่งในการฝึก ปฏิบัติวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชน (ชั้นปี ๖) ได้กาหนดอย่างน้อย ๑ ผลัด และผลัดเลือก (elective clerkship) สาหรับ นิสิตนักศึกษาผู้สนใจอีก ๑ ผลัด จากจานวนผลัดทั้งสิ้น ๖-๗ ผลัดแตกต่างกันไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ทาง คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน จึงเห็นความสาคัญของการร่วมกาหนดทักษะหลัก ขั้นต้นที่นิสิตนักศึกษาเภสัชศาสตร์ และทักษะเฉพาะที่เป็นทางเลือกขึ้น ในการฝึกปฏิบัติงานในร้านยาแหล่งฝึก เพื่อ เป็นข้อมูลและแนวทางปฏิบัติให้นิสิตนักศึกษาได้ศึกษาและเตรียมความพร้อมก่อนออกฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขา เภสัชกรรมชุมชน จากการประเมินผลการใช้งานคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมและงานสร้างเสริมสุขภาพ ใน สถานปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ พบว่ามีข้อจากัดในเรื่องการประเมินผล ที่มีข้อย่อยและ รายละเอียดมาก ซึ่งอาจส่งผลให้การประเมินมีความคลาดเคลื่อนจากวัตถุประสงค์ของการประเมิน ทาง คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน จึงได้ประชุมหารือและปรับแบบประเมินเพื่อให้กระชับมาก ยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามหากนิสิตนักศึกษาได้ลองปรับใช้แล้ว ยังเห็นว่ามีส่วนที่ควรปรับปรุง ทางคณะอนุกรรมการฯ ยินดีหากได้รับความคิดเห็นของทุกท่านที่จะนาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงเพื่อการใช้งานสาหรับนิสิตนักศึกษาใน รุ่นต่อไป คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน ศ.ศ.ภ.ท. กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
  • 8. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) IX สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า รูปแบบการฝึกปฏิบัติงาน ๓๓ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๓๔ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๓: การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ๓๕ จุดมุ่งหมาย ๓๕ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๓๕ รูปแบบการฝึกปฏิบัติงาน ๓๖ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๓๗ แผนภูมิขั้นตอนการให้บริการและการให้คาปรึกษา ๓๘ แบบบันทึกและขั้นตอนการให้บริการ ๓๙ แบบบันทึกและขั้นตอนการให้บริการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๑: แบบคัดกรองและ ติดตามความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคทางเมแทบอลิก สมรรถภาพปอด และกระดูกพรุน ๔๐ แบบติดตามผู้มีความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคทางเมแทบอลิก สมรรถภาพปอด และกระดูกพรุน ๔๓ ขั้นตอนการคัดกรองและติดตามการปรับพฤติกรรมของผู้มีความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคทางเมแทบอลิก ๔๔ Peak Expiratory Flow Rates (PEFR) ๔๕ แบบบันทึกและขั้นตอนการให้บริการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๒: แบบบันทึกการให้บริการ เลิกบุหรี่ ๕๓ แบบติดตามการให้บริการเลิกบุหรี่ ๕๗ ๕As: แนวทางการให้บริการเลิกบุหรี่โดยเภสัชกร ๕๙ แบบคัดกรองการใช้ยาปฏิชีวนะสาหรับโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน (URIs) อย่างสมเหตุผล ๖๐ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๓: แบบประเมินเพื่อการคัดกรองการใช้ยาปฏิชีวนะสาหรับโรค ท้องเสียอย่างสมเหตุผล ๖๒ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๔: แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน (Home care visit) ๖๕ แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน (ตัวอย่าง) ๗๕ การป้องกันการติดเชื้อ HIV ที่เกิดจากการสัมผัส ๘๑
  • 9. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) VIII สารบัญ เรื่อง หน้า คาแนะนาการใช้คู่มือ X การฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ๑ จุดมุ่งหมาย ๑ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๑ แนวทางการฝึกปฏิบัติงาน ๒ แนวทางการจัดกิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๓ การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงาน ๔ เงื่อนไขการฝึกปฏิบัติงาน ๔ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๕ แบบบันทึกสรุปกิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๖ แบบบันทึกการให้บริการประจาวันในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน (daily log) และตัวอย่าง ๗ แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิตนักศึกษา สาหรับอาจารย์ (ป-๑/๑-๑/๒) ๙ แบบประเมินทักษะการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม (ป-๓/๑-๓/๓) ๑๑ แบบประเมินการนาเสนอกรณีศึกษา (ป-๖/๑-๖/๓) ๑๔ แบบประเมินการนาเสนอและการวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (ป-๗/๑-๗/๓) ๑๗ แบบประเมินการให้ความรู้บุคลากรในองค์กร (ป-๘) ๒๐ แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ (ป-สสส-ป-สสส/๑-๒) ๒๑ ตัวอย่างแบบรายงานการรับและตอบคาถามด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างเป็นระบบ ๒๔ การฝึกปฏิบัติงานบริบาลเภสัชกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ๒๗ องค์ประกอบ ๒๘ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๑: การคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ ๒๙ จุดมุ่งหมาย ๒๙ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๒๙ รูปแบบการฝึกปฏิบัติงาน ๓๐ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน ๓๑ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพส่วนที่ ๒: การส่งเสริมการเลิกบุหรี่แก่ผู้มารับบริการ ๓๒ จุดมุ่งหมาย ๓๒ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๓๒
  • 10. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) X คาแนะนาการใช้คู่มือ คู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมและงานสร้างเสริมสุขภาพ ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรม ชุมชน จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางทางสาหรับนิสิตนักศึกษาชั้นปีที่ ๖ และอาจารย์ประจาแหล่งฝึกร้านยา ในการฝึก ปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ๒ ส่วนหลักดังนี้ ๑. การฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม องค์ประกอบของการฝึกปฏิบัติงานส่วนนี้มีการปรับปรุงจากคู่มือการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัช กรรม งานบริการทางเภสัชกรรมและงานสร้างเสริมสุขภาพในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน ฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยกรอบแนวทางการฝึกปฏิบัติงานครอบคลุมวัตถุประสงค์ แนวทางการฝึกปฏิบัติ สมรรถนะของงาน เภสัชกรรมชุมชน (community pharmacy competency) แนวทางการประเมินพฤติกรรม และทักษะการฝึก ปฏิบัติของนิสิตนักศึกษา ๒. การฝึกปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ แนวทางการฝึกปฏิบัติงานและแบบบันทึกเพื่อการดาเนินงานในส่วนนี้ครอบคลุม ๔ กิจกรรม ได้แก่ การคัดกรองผู้มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เมแทบอลิก สมรรถภาพปอด และกระดูกพรุน การ ให้บริการเลิกบุหรี่ การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล และการเยี่ยมบ้าน โดยกรอบแนวทางการฝึก ปฏิบัติงานนี้จัดเป็นทักษะเฉพาะ ที่มีการดาเนินการในแหล่งฝึกบางแห่ง อย่างไรก็ตามทางคณะอนุกรรมการฯ ได้ เล็งเห็นความสาคัญของการฝึกปฏิบัตินี้ ได้จัดทารายละเอียด วัตถุประสงค์ของกิจกรรม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม และแนวทางในการประเมินการดาเนินการกิจกรรมของนิสิตนักศึกษาในด้านทักษะและทัศคติ/เจตคติต่อการฝึก ปฏิบัติเพื่อให้บริการประชาชน การฝึกปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพมุ่งเน้นการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น การสร้างความตระหนักในการ ดูแลสุขภาพให้กับประชาชน และการเฝ้าระวังการใช้ยาและผลิตภัณฑ์เพื่อให้บทบาทของเภสัชกรมีความชัดเจนต่อ การดูแลสุขภาพของประชาชน ทั้งนี้ การจัดทาสื่อหรือการมีส่วนร่วมในการให้บริการอย่างเต็มที่เป็นบทบาทสาคัญที่ นิสิตนักศึกษาทุกคนต้องมีส่วนร่วมกับร้านยาที่เป็นแหล่งฝึก
  • 12. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑ การปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน (Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy) จุดมุ่งหมาย เพื่อให้นิสิตนักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและทัศนคติที่ดีในการให้บริบาลทางเภสัชกรรมในสถาน ปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน โดยผสานแนวคิดการบริหารจัดการเชิงธุรกิจบนพื้นฐานของจรรยาบรรณวิชาชีพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เพื่อให้นิสิตนักศึกษาที่ผ่านการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรม ชุมชน มีความสามารถดังนี้ ๑. ระบุและอธิบายถึง หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของเภสัชกรในการให้บริการชุมชน ๒. ปฏิบัติงานให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้มารับบริการเฉพาะยายอย่างสมเหตุผลตามหลักฐานเชิง ประจักษ์และเศรษฐานะของผู้มารับบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๑ ตรวจสอบความถูกต้องของใบสั่งยา และ/หรือยาที่ได้รับ โดยปรึกษากับแพทย์/เภสัชกรผู้ทาการ สั่งจ่ายยาเมื่อตรวจพบความผิดพลาดหรือปัญหาจากการใช้ยา ๒.๒ สัมภาษณ์ ค้นหา และประเมินปัญหาทางสุขภาพของผู้มารับบริการในสถานปฏิบัติการเภสัช กรรมชุมชน เพื่อวินิจฉัยโรคเบื้องต้น วินิจฉัยแยกโรค วินิจฉัยทางเภสัชกรรม (pharmacy diagnosis) และให้การรักษาแก่ผู้ป่วยในโรคที่ไม่ซับซ้อน และ/หรือทาการส่งต่อผู้ป่วยแก่บุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้ได้รับการรักษาที่เหมาะสมอย่างน้อยควรครอบคลุมเนื้อหาดังต่อไปนี้ ๒.๒.๑ Eye, Ear, Nose and Throat disorders (e.g. sore throat, cough, cold and allergic rhinitis) ๒.๒.๒ Pain and fever ๒.๒.๓ Gastrointestinal disorder (e.g. nausea, vomiting, diarrhea, constipation, indigestion, peptic ulcer, hemorrhoid) ๒.๒.๔ Genitourinary tract infections (e.g. urinary tract infection, vaginitis, sexually transmitted diseases) ๒.๒.๕ Skin disorders (e.g. dermatophyte infections, eczema, urticarial, skin infections) ๒.๒.๖ Musculoskeletal disorders (e.g. osteoporosis, gout, osteoarthritis) ๒.๒.๗ Drugs in special populations (e.g. pregnancy and lactation, geriatrics, pediatrics, G6PD deficiency) ๒.๒.๘ Helminthic infestation ๒.๒.๙ Hormones and contraceptive products ๒.๒.๑๐ Vitamin, mineral and nutrition supplement products ๒.๓ คัดกรอง ค้นหาปัจจัยเสี่ยง ให้คาแนะนาพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพเพื่อให้ได้รับ คาแนะนาที่ถูกต้องเหมาะสม และมีผลต่อการประเมินการส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหา สาธารณสุขที่สาคัญเพื่อให้ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
  • 13. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๒ ๒.๔ สัมภาษณ์ ค้นหา อ่านคาและแปลผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมถึงประเมินและแก้ไข ปัญหาทางสุขภาพที่เกี่ยวเนื่องกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน และ/หรือทาการส่งต่อผู้ป่วยแก่บุคลากรสาธารณสุขเพื่อให้ได้รับการรักษาที่เหมาะสม ๒.๕ วางแผนการรักษาด้วยยาร่วมกับผู้ป่วย พร้อมให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วย เพื่อให้การใช้ยา เป็นไปอย่างถูกต้องและเกิดความร่วมมือในการใช้ยา รวมถึงการสร้างแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ ๒.๖ จัดทาแฟ้มประวัติการใช้ยาของผู้ป่วย (medication profile) เพื่อบันทึกการติดตาม การใช้ยาของผู้ป่วยที่เป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งระบุปัญหาจากการใช้ยา (drug-related problems) การ แก้ไขที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว แผนการติดตามและ/หรือเสนอแนวทางแก้ไข ๒.๗ ให้คาปรึกษาด้านสุขภาพแก่ผู้มารับบริการในเรื่องของยา โรค การดูแลรักษาตนเอง การ ปฏิบัติตัว ตลอดจนการเลือกใช้เภสัชภัณฑ์ วัสดุการแพทย์ และผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพอื่นๆ อย่าง เหมาะสม ๓. สามารถค้นหา เลือก วิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์ และให้บริการเภสัชสนเทศทางยาแก่ผู้ป่วย บุคลากรสาธารณสุขและชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพภายในเวลาที่เหมาะสม ๔. สื่อสารกับผู้รับบริการ บุคลากรสาธารณสุขและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางการฝึกปฏิบัติงาน ในการฝึกปฏิบัติงาน นิสิตนักศึกษามีความรับผิดชอบดังต่อไปนี้ ๑. เข้าร่วมในกิจกรรมประจาวันของแหล่งฝึก ในส่วนที่ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ประจาแหล่งฝึก ๒. ปฏิบัติงานให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยโดยครอบคลุมวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๓. ให้บริการสารสนเทศทางยาแก่ผู้ป่วย บุคลากรสาธารณสุข อาจารย์ประจาแหล่งฝึก และชุมชนเมื่อมี การสอบถาม ๔. ค้นหา เลือก และวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์จากเอกสารและแหล่งอ้างอิงต่างๆ เพื่อนาไป ประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วย และอภิปรายร่วมกับอาจารย์ประจาแหล่งฝึก ๕. จัดทาเอกสาร แผ่นพับหรือเครื่องมืออื่นๆ เพื่อใช้ในการให้ความรู้ตามที่ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ ประจาแหล่งฝึก
  • 14. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๓ แนวทางการจัดกิจกรรมการฝึกปฏิบัติงาน สัปดาห์ กิจกรรม อาจารย์ ผู้รับผิดชอบ ๑ - เข้ารับการปฐมนิเทศ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน - ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย อาจารย์ประจา แหล่งฝึก ๒ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน - ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย อาจารย์ประจา แหล่งฝึก ๓ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน - นาเสนอกรณีศึกษาครั้งที่ ๑ (โรคทั่วไปหรือโรคเรื้อรัง) - ประเมินพฤติกรรม ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงานครั้งที่ ๑ - ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย อาจารย์ประจา แหล่งฝึก ๔ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน - นาเสนอ และวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานและหรือการดูแลผู้ป่วย - ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย อาจารย์ประจา แหล่งฝึก ๕ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน - ให้ความรู้แก่บุคลากรสาธารณสุขในองค์กร (academic in-service) - ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย - นาเสนอสื่อให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและหรือประชาชนทั่วไป (เลือก) อาจารย์ประจา แหล่งฝึก ๖ - ให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยอย่างน้อย ๔ รายต่อวัน - นาเสนอกรณีศึกษาครั้งที่ ๒ (โรคทั่วไปหรือโรคเรื้อรัง และแผนการปรับ พฤติกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ) - ปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ตามที่อาจารย์แหล่งฝึกมอบหมาย - ประเมินพฤติกรรม ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงานครั้งที่ ๒ อาจารย์ประจา แหล่งฝึก หมายเหตุ กิจกรรมเหล่านี้เป็นแนวทางการฝึกปฏิบัติงานสาหรับอาจารย์ประจาแห่งฝึก ซึ่งอาจปรับเปลี่ยน ตามสถานการณ์และความเหมาะสมของแหล่งฝึก
  • 15. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๔ การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงาน ๑. การประเมินโดยอาจารย์ประจามหาวิทยาลัย ร้อยละ ๓๐ ๑.๑ รายงานผลการฝึกปฏิบัติงาน ร้อยละ ๑๐ ๑.๒ การนาเสนอผลการปฏิบัติงาน ร้อยละ ๑๐ ๑.๓ อื่นๆ ตามที่แต่ละสถาบันกาหนด (สามารถพิจารณา แบบ-ป-สสส) ร้อยละ ๑๐ ๒. การประเมินโดยอาจารย์ประจาแหล่งฝึก ร้อยละ ๗๐ ๒.๑ พฤติกรรมและทัศนคติ (แบบ-ป-๑/๑ และ ๑/๒) ร้อยละ ๑๐ ๒.๒ ทักษะการฝึกปฏิบัติงาน (แบบ-ป-๓/๑, ๓/๒ และ ๓/๓) ร้อยละ ๓๐ ๒.๓ งานมอบหมาย ๒.๓.๑ การนาเสนอกรณีศึกษา (formal case presentations) ร้อยละ ๑๕ อย่างน้อย ๒ กรณีศึกษา ๒.๓.๒ การให้ความรู้ในองค์กร (academic in-service) ร้อยละ ๕ นิสิตนักศึกษา หรือประชาชนทั่วไป ๒.๓.๓ การวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ร้อยละ ๕ หรือนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นเพื่อนาไปใช้บริบาลทางเภสัชกรรม แก่ผู้ป่วยเฉพาะรายอย่างน้อย ๑ ครั้ง ๒.๓.๔ การร่วมกิจกรรมอื่นๆ ร้อยละ ๕ เงื่อนไขการฝึกปฏิบัติงาน ๑. กรณีศึกษาที่นิสิตนักศึกษาทารายงานหรือนาเสนอ ควรเป็นกรณีศึกษาที่แตกต่างจากนิสิตนักศึกษาอื่น ๒. ในการนาเสนอ ๒ กรณีศึกษาต่อผลัด นิสิตนักศึกษาควรติดตามผู้ป่วยอย่างน้อย ๑ ครั้ง เพื่อเรียนรู้ การประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก เรียนรู้ผู้ป่วยและการปรับพฤติกรรมของผู้ป่วยเฉพาะราย รวมถึงมี ระบบจัดการเพื่อให้เกิดการติดตามผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เช่น การทาทะเบียนนัด เป็นต้น (ขึ้นกับดุลย พินิจของอาจารย์ประจาแหล่งฝึก) ๓. สาหรับขั้นตอนการสอบถามประวัติ นิสิตนักศึกษาควรสอบถามเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ และถ้าผู้ตอบสูบ บุหรี่ ให้สอบถามเพิ่มเติม “ต้องการเลิกบุหรี่หรือไม่คะ/ครับ” ๔. นิสิตต้องพัฒนาทักษะการวินิจทางเภสัชกรรมในการฝึกปฏิบัติงาน โดยทักษะนี้หมายถึงกระบวนการ วิเคราะห์สุขภาพแบบองค์รวมเพื่อค้นหาปัญหาจากการใช้ยาของผู้ป่วย/ผู้รับบริการ โดยใช้เครื่องมือ ทางเภสัชศาสตร์ ประกอบด้วยการระบุชื่อยาที่ได้รับ (drug identification) การสอบถามประวัติยา ทั้งหมดที่ผู้ป่วยรับประทาน การตรวจร่างกาย/การสัมภาษณ์ระบบร่างกายเบื้องต้น ในช่วงที่ รับประทานยานั้นๆ (review of system)
  • 16. แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงานภาพรวม นักศึกษาเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 6 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชื่อ-สกุล................................................................................รหัสนักศึกษา.............................................................. ผลัดที่...........................รายวิชาฝึกงาน.....................................................แหล่งฝึก................................................. ผลการประเมินภาพรวม (คะแนนเต็ม 70 คะแนน) นักศึกษาสามารถปฏิบัติได้คิดเป็น ................ คะแนน ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของอาจารย์แหล่งฝึกต่อนักศึกษา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ลงชื่อ…………………………………….………… (………………………………………………) อาจารย์แหล่งฝึก/ประทับตราหน่วยงาน วันที่................................................. หมายเหตุ กรณีไม่สามารถประเมินได้ รบกวนระบุเพื่อทางคณะฯ รับทราบ และในกรณีมีอาจารย์ เภสัชกรแหล่งฝึกประเมินหลายท่าน ให้กรอกคะแนนเฉลี่ยสุดท้าย ระดับขั้นการประเมิน ดีมาก (65 – 70 คะแนน) ดี (60 – 65 คะแนน) ปานกลาง (55 – 60 คะแนน) ปรับปรุง (50 – 55 คะแนน) ไม่ผ่าน (45 – 50 คะแนน)
  • 17. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๕ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน กิจกรรมที่กาหนด เกณฑ์กาหนด แบบประเมิน ร้อยละ ๑. เข้าร่วมการปฐมนิเทศ เรียนรู้และ/หรือร่วมกิจกรรมด้านการบริหารจัดการร้านยา เช่น การ บริหารเวชภัณฑ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ตามที่แหล่งฝึก กาหนด ป-๓/๑ ป-๓/๒ ป-๓/๓ ๓๐ ๒. สัมภาษณ์ประวัติและ/หรือการประเมินทางกายภาพ วินิจฉัยเบื้องต้น วินิจฉัยแยกโรค วินิจฉัยทางเภสัชกรรม คัดเลือกยาและจ่ายยาเพื่อการ รักษาเบื้องต้น หรือการส่งต่อผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเฉพาะทาง > ๔ ราย/วัน* ๓. สัมภาษณ์ประวัติและ/หรือการประเมินทางกายภาพ และติดตามผู้ป่วย โรคเรื้อรัง หรือการส่งต่อผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเฉพาะทาง > ๖ ราย/ผลัด ๔. คัดกรองภาวะโรคเรื้อรัง ประเมิน และให้การดูแลผู้ที่มีความเสี่ยง > ๖ ราย/ผลัด ๕. ให้คาแนะนาปรึกษาด้านยาและสุขภาพแก่ผู้ป่วย ญาติ หรือผู้ที่ เกี่ยวข้องโดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค > ๓ ราย/วัน* ๖. บันทึกข้อมูลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ สืบค้นปัญหาจากการใช้ยา เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและวางแผนติดตามการใช้ยา ของผู้ป่วยที่มารับบริการ (เช่น antibiotic smart use ในโรคติดเชื้อ ทางเดินหายใจตอนบนหรือท้องเสีย) > ๑ รายต่อวัน* ๗. อภิปรายร่วมกับอาจารย์ประจาแหล่งฝึกเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับ มอบหมาย (case discussion) ** > ๓ ครั้ง/สัปดาห์* ๘. ให้บริการสารสนเทศเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ > ๕ คาถาม/ผลัด ๙. นาเสนอกรณีศึกษา (formal case presentation) (รวมถึงการติดตาม ผู้ป่วยและต้องไม่ซ้ากับนิสิต/นักศึกษาอื่น) ≥ ๒ ราย/ผลัด ป-๖/๑ ป-๖/๒ ป-๖/๓ ๑๕ ๑๐. นาเสนอประเด็นสุขภาพ/ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่เป็นปัจจุบันแก่ บุคลากร หรือนิสิต/นักศึกษา (academic in-service) ≥ ๑ ครั้ง ป-๘ ๕ ๑๑. วิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ≥ ๑ ครั้ง ป-๗/๑ ป-๗/๒ ๕ ๑๒. เผยแพร่ความรู้เรื่องยาโดยจัดบอร์ด การจัดทาสื่อการสอนหรือ สนับสนุนกิจกรรมปฏิบัติงาน เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ หรือภาพพลิก ≥ ๑ ครั้ง ๕ ๑๓. ดาเนินโครงการหรือกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การติดตามผู้ป่วยด้วยการ เยี่ยมบ้าน (home health care) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน โรค การร่วมกิจกรรมวิชาชีพในด้านสาธารณประโยชน์หรืองาน วิชาการ ตามที่แหล่งฝึก กาหนด ป-สสส *** หมายเหตุ *กรณีศึกษาในข้อดังกล่าวอาจเป็นกรณีศึกษาเดียวกันได้ แต่ไม่ควรเป็นกรณีศึกษาที่ซ้ากับนิสิต/นักศึกษาอื่น **รูปแบบของ case discussion เป็นการอภิปรายเกี่ยวกับผู้ป่วยที่นิสิต/นักศึกษาทาการประเมินและจ่ายยาหรือให้คาปรึกษาในแต่ละวันประกอบด้วย การสรุปข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ การสืบค้นปัญหา การเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและติดตามการใช้ยา *** เกณฑ์การให้คะแนน เสนอให้เป็นส่วนหนึ่งที่ขึ้นกับการประเมินโดยอาจารย์ประจามหาวิทยาลัย ในข้อ ๑.๓ อื่นๆ ตามที่แต่ละสถาบันกาหนด ใน กรอบอัตราร้อยละ ๑๐
  • 18. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๖ แบบบันทึกสรุปกิจกรรม การฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน ชื่อนิสิต/นักศึกษา....................................................................................................รหัสประจาตัว........................................................... แหล่งฝึก..............................................ระหว่างวันที่..............................................ถึง.......................................รวม..............................วัน กิจกรรมที่กาหนด เกณฑ์กาหนด ปฏิบัติจริง ๑. ปฐมนิเทศ เรียนรู้และ/หรือร่วมกิจกรรมด้านการบริหารจัดการร้านยาเช่น การบริหารเวชภัณฑ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตามที่แหล่งฝึก กาหนด ๒. สัมภาษณ์ประวัติและ/หรือการประเมินทางกายภาพ วินิจฉัยเบื้องต้น วินิจฉัยแยกโรค วินิจฉัยทางเภสัชกรรม# คัดเลือกยาและจ่ายยาเพื่อการรักษาเบื้องต้น หรือการส่งต่อ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเฉพาะทาง ≥ ๔ ราย/วัน* ๓. สัมภาษณ์ประวัติและ/หรือการประเมินทางกายภาพ และติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรังหรือการ ส่งต่อผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเฉพาะทาง ≥ ๖ ราย/ผลัด ๔. คัดกรองภาวะโรคเรื้อรัง ประเมินและให้การดูแลผู้ที่มีความเสี่ยง ≥ ๖ ราย/ผลัด ๕. ให้คาแนะนาปรึกษาด้านยาและสุขภาพแก่ผู้ป่วย ญาติ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเน้นการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ≥ ๓ราย/วัน* ๖. บันทึกข้อมูลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ สืบค้นปัญหาจากการใช้ยา เสนอแนะแนวทางแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นและวางแผนติดตามการใช้ยาของผู้ป่วยที่มารับบริการ (เช่น antibiotic smart use ในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจตอนบนหรือท้องเสีย การค้นหาและประเมิน อาการไม่พึงประสงค์) ≥ ๑ ราย/วัน* ๗. อภิปรายร่วมกับอาจารย์ประจาแหล่งฝึกเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมาย (case discussion)** ≥ ๓ ครั้ง/สัปดาห์* ๘. ให้บริการสารสนเทศเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ ≥ ๕ คาถาม/ผลัด ๙. นาเสนอกรณีศึกษา (formal case presentation) (รวมถึงการติดตามผู้ป่วยและ ต้องไม่ซ้ากับนิสิต/นักศึกษาอื่น) ≥ ๒ ราย/ผลัด ๑๐. นาเสนอประเด็นสุขภาพ/ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่เป็นปัจจุบันแก่บุคลากร หรือ นิสิต/นักศึกษา (academic in-service) ≥ ๑ ครั้ง ๑๑. วิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ≥ ๑ ครั้ง ๑๒. เผยแพร่ความรู้เรื่องยาโดยจัดบอร์ด การจัดทาสื่อการสอนหรือสนับสนุนกิจกรรม ปฏิบัติงาน เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ หรือภาพพลิก ≥ ๑ ครั้ง ๑๓. ดาเนินโครงการหรือกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การติดตามผู้ป่วยด้วยการเยี่ยมบ้าน (home health care) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคการร่วมกิจกรรมวิชาชีพในด้าน สาธารณประโยชน์หรืองานวิชาการ ตามที่แหล่งฝึก กาหนด ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อนิสิต/นักศึกษา.........................................................................ลงชื่ออาจารย์ประจาแหล่งฝึก.......................................................
  • 19. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๗ แบบบันทึกการให้บริการประจาวัน (Daily log) ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน สถานปฏิบัติงาน .........................................................................................................................................ผลัดที่…….…………..ระหว่างวันที่ ....................................................... ชื่อ-สกุล............................................................................................ รหัสนิสิต...........................................นิสิตเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัย ........................................... Date การปฏิบัติงานและกรณีศึกษา ปัญหาหรือ DRP ที่พบ การแก้ไข การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ (เฉพาะใจความสาคัญ) ลงชื่ออาจารย์ 01/06/58 กรณีศึกษาที่ 1 การปฏิบัติงาน และสิ่งที่ได้ เรียนรู้
  • 20. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๘ แบบบันทึกการให้บริการประจาวัน (Daily log) ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน (ตัวอย่าง) สถานปฏิบัติงาน .........................................................................................................................................ผลัดที่…….…………..ระหว่างวันที่ ....................................................... ชื่อ-สกุล............................................................................................ รหัสนิสิต...........................................นิสิตเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัย ........................................... Date การปฏิบัติงานและกรณีศึกษา ปัญหาหรือ DRP ที่พบ การแก้ไข การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ (เฉพาะใจความสาคัญ) ลงชื่ออาจารย์ 01/06/58 กรณีศึกษาที่ 1 ผู้ป่วยเพศชายอายุ 25 ปี มีอาการ ไอแห้งๆ มา 3-4 วัน ก่อนหน้านี้ เป็นไข้ แต่ตอนนี้ไม่มีไข้แล้ว ไม่เป็น หวัด ไม่มีน้ามูก จิบยาแก้ไอ สมุนไพร อาการไอไม่ดีขึ้น ปฏิเสธ การแพ้ยา ไม่มีโรคประจาตัว Problem list: Cough DRP ไม่มีประวัติ เกี่ยวเนื่องจากยาที่ส่งผล ต่อการไอ Risk Factor : มีประวัติ เป็นไข้หวัดมาก่อน - Tuscough® 1x3 po pc (Dextromethorphan 15 mg + Bromhexine 8 mg + Glyceryl Guaiacolate 100 mg) - ดื่มน้าอุ่นมากๆ พักผ่อนให้ เพียงพอ ออกกาลังกายเป็นประจา อาการไอเป็นกลไกการตอบสนองของร่างกาย อย่างหนึ่งต่อสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจและ เป็นกลไกป้องกันที่สาคัญของร่างกายในการ กาจัดเชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมในทางเดิน หายใจ พิจารณาสาเหตุอื่นที่อาจทาให้เกิดอาการ ไอได้ เช่น หอบหืด ภูมิแพ้ ไข้หวัด ยาบางชนิด โพรงไซนัส คอหรือกล่องเสียง เป็นต้น อาการไอของผู้ป่วยรายนี้เข้าเกณฑ์ไอ เฉียบพลัน อาการเป็นน้อยกว่า 3 สัปดาห์ เนื่องจากไข้หวัด หากติดตามผู้ป่วยไอเรื้อรัง มากกว่า 3 สัปดาห์ ถึง 8 สัปดาห์ อาจต้องคิดถึง โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง วัณโรคปอด เป็นต้น แนวทางการรักษาให้การบาบัดตามอาการ การปฏิบัติงาน และสิ่งที่ได้ เรียนรู้ - ฝึกทักษะการซักประวัติผู้ป่วย ค้นหา risk factor พบว่ามีไข้หวัดนามาก่อน - ฝึกทักษะ Review of System: ไม่พบความผิดปกติของไซนัส ไม่มีอาการหอบ ไอกลางวัน เป็นหลัก และไม่พบความผิดปกติของระบบอื่น - ฝึกการเขียนฉลากยา ตาม PL law - ฝึกทักษะในการเลือกยาและการประเมินตาม IESAC - ทักษะการให้คาแนะนาการใช้ยา การปฏิบัติตัวให้กับผู้ป่วย และการติดตามทางโทรศัพท์
  • 21. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๙ แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา สาหรับอาจารย์ประจาแหล่งฝึก ชื่อนิสิต/นักศึกษา...............................................................................................รหัสประจาตัว............................ ปฏิบัติงาน..........................................................ชื่อแหล่งฝึก...................................................ผลัดที่..................... ให้อาจารย์ประจาแหล่งฝึกประเมินผลโดยสังเกตจากพฤติกรรม ผลการปฏิบัติงานและ/หรือจากการ อภิปรายสอบถาม การสื่อสารทั้งโดยวาจา หรือลายลักษณ์อักษร และให้ประเมิน ๒ ครั้ง คือในสัปดาห์ที่ ๓ และ ๖ ของการฝึกปฏิบัติงาน ควรมีการแจ้งผลการประเมินในสัปดาห์ที่ ๓ ให้นิสิต/นักศึกษาทราบ เพื่อให้เกิดการ พัฒนา โดยคะแนนที่ใช้การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานจะคิดจากคะแนนในสัปดาห์ที่ ๖ คาชี้แจง ให้ท่านทาเครื่องหมายกากบาท (x) ในช่องระดับคะแนนของแบบประเมินที่ตรงกับทักษะและ ความสามารถของนิสิต/นักศึกษาที่ท่านดูแลมากที่สุด (ประเมินทั้งในและนอกเวลาการฝึกปฏิบัติงานฯ) ระดับขั้นการประเมิน คะแนน ระดับ นิยาม ๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมเหมาะสม มีความพร้อม เสียสละ กระตือรือร้น รวมถึงทัศนคติที่ ดีต่อการฝึกปฏิบัติงานพร้อมสามารถอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่าง เหมาะสม ๔ ดี นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมเหมาะสม มีความพร้อม เสียสละ รวมถึงทัศนคติที่ดีต่อการฝึก ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง แต่ต้องได้รับคาแนะนาเพียงเล็กน้อย ๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์พอใช้ สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง แต่ต้องได้รับ คาแนะนาเป็นส่วนใหญ่ ๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมไม่เหมาะสมบางประการ เกิดความผิดพลาดซ้า สามารถ ปฏิบัติงานได้ แต่ต้องได้รับการติดตามอย่างใกล้ชิด ๑ ไม่ผ่าน นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เกิดความผิดพลาดซ้า และไม่ปรับปรุงตัวตาม คาแนะนาของอาจารย์ประจาแหล่งฝึก นิสิต/นักศึกษาจะได้รับการประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ก็ต่อเมื่อ มีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๕๐ แบบ-ป-๑/๑
  • 22. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑๐ แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา สาหรับอาจารย์ประจาแหล่งฝึก ชื่อนิสิต/นักศึกษา .............................................................................................. รหัสประจาตัว ............................... ชื่อแหล่งฝึก .........................................................................................................ผลัดที่ ............................................ หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ ๓ หรือ สัปดาห์ที่ ……..... สัปดาห์ที่ ๖ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ตรงต่อเวลาและมีวินัย ๒. แต่งกายเหมาะสมแสดงถึงความเป็นวิชาชีพเภสัชกรรม ๓. มีสัมมาคารวะและประพฤติตนเหมาะสมกับกาลเทศะ ๔. มีน้าใจไม่เพิกเฉยต่อการช่วยเหลือผู้อื่นตามสมควร ๕. บุคลิกภาพเหมาะสม ๖. ตั้งใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติงาน ๗. รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ๘. การปรับตัวเข้ากับแหล่งฝึก ๙. การทางานร่วมกับผู้อื่น ๑๐. การปรับปรุงตนเองต่อข้อเสนอแนะ ๑๑. การมีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ซื่อสัตย์ ไม่มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเปิดเผยความลับของผู้ป่วย ๑๒. โดยรวมนิสิต/นักศึกษา มีทัศคติที่ดีต่อการประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรมชุมชน รวมคะแนน (คะแนนที่ได้ x ๑๐)/ฐานคะแนนที่ประเมินจริง ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………...............................................................อาจารย์ประจาแหล่งฝึก ( ) แบบ-ป-๑/๒
  • 23. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑๑ แบบประเมินทักษะการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชนสาหรับอาจารย์ประจาแหล่งฝึก ชื่อนิสิต/นักศึกษา......................................................................................................รหัสประจาตัว................................. ปฏิบัติงาน...............................................................ชื่อแหล่งฝึก........................................................ผลัดที่..................... ให้อาจารย์ประจาแหล่งฝึกประเมินผลโดยสังเกตจากพฤติกรรม ผลการปฏิบัติงานและ/หรือจากการ อภิปรายสอบถาม การสื่อสารทั้งโดยวาจา หรือลายลักษณ์อักษร และให้ประเมิน ๒ ครั้ง คือในสัปดาห์ที่ ๓ และ ๖ ของ การฝึกปฏิบัติงาน ควรมีการแจ้งผลการประเมินในสัปดาห์ที่ ๓ ให้นิสิต/นักศึกษาทราบ เพื่อให้เกิดการพัฒนา โดย คะแนนที่ใช้การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานจะคิดจากคะแนนในสัปดาห์ที่ ๖ คาชี้แจง ให้ท่านทาเครื่องหมายกากบาท (x) ในช่องระดับคะแนนของแบบประเมินที่ตรงกับทักษะและความสามารถ ของนิสิต/นักศึกษาที่ท่านดูแลมากที่สุด (ประเมินทั้งในและนอกเวลาการฝึกปฏิบัติงานฯ) ระดับขั้นการประเมิน คะแนน ระดับ นิยาม ๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่ามีทักษะ/ความสามารถครบถ้วนตามวัตถุประสงค์การฝึกปฏิบัติงาน ฯเป็นที่น่าพอใจ เกิดความบกพร่องน้อย สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง อาจได้รับคาแนะนาเป็น ครั้งคราว ๔ ดี นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่ามีทักษะ/ความสามารถตามวัตถุประสงค์การฝึกปฏิบัติงานฯ มีความ บกพร่องในระดับยอมรับได้ สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง แต่ต้องได้รับคาแนะนาเป็นครั้งคราว ๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่ามีทักษะ/ความสามารถตามเกณฑ์วัตถุประสงค์การฝึกปฏิบัติงานฯมี ความบกพร่องในระดับยอมรับได้ ยังคงสามารถปฏิบัติงานได้ แต่ต้องได้รับคาแนะนาเป็นส่วนใหญ่ ๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่าขาดทักษะ/ความสามารถในระดับไม่น่าเชื่อถือ เกิดความบกพร่อง อยู่เสมอ การปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การดูแลจากอาจารย์ประจาแหล่งฝึกอย่างใกล้ชิด ๑ ไม่ผ่าน นิสิต/นักศึกษาแสดงให้เห็นว่าขาดทักษะ/ความสามารถ ไม่ผ่านตามวัตถุประสงค์การฝึก ปฏิบัติงานฯ ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ เกิดความผิดพลาดซ้า และไม่ปรับปรุงตามคาแนะนาของ อาจารย์ประจาแหล่งฝึก แบบ-ป-๓/๑
  • 24. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑๒ แบบประเมินทักษะ/ความสามารถ การฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน ชื่อนิสิต/นักศึกษา .............................................................................................. รหัสประจาตัว ............................... ชื่อแหล่งฝึก .........................................................................................................ผลัดที่ ............................................ หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ ๓ หรือสัปดาห์ที่ …...... สัปดาห์ที่ ๖ หมาย เหตุ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม ** - ทักษะการสื่อสาร: การสัมภาษณ์ ผู้ป่วย ญาติและ/หรือบุคลากร ทางสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องเพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยง ประวัติที่จาเป็นใน การดูแลในร้านยา และประเมินความต้องการของผู้ป่วย - ทักษะในการเก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูล: การสังเกต การซัก ประวัติทั่วไป ประวัติแยกโรค และการประเมินระบบร่างกายเบื้องต้น (review of system) การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์พื้นฐานในการ วินิจฉัยเบื้องต้นหรือติดตามผลการรักษา และการบันทึกข้อมูลทาง สุขภาพของผู้มารับบริการอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรค เรื้อรังหรือผู้ป่วยที่ต้องติดตามการใช้ยา (สามารถใช้แฟ้มประวัติของ ทางแหล่งฝึกได้) ๒. กระบวนการคิดเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบแก่ผู้ป่วยเฉพาะ ราย (SOAP) ๒.๑ การระบุปัญหาทางสุขภาพและความต้องการของผู้รับบริการ (Problem list) ๒.๒ การระบุข้อมูลของผู้ป่วยที่สัมพันธ์กับปัญหาทางสุขภาพ ๒.๓ การประเมินผู้ป่วย ** - ระบุสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและ/หรือโรคเรื้อรัง - การคัดกรองและการวินิจฉัยแยกโรคจากอาการแสดงและประวัติ ทางการแพทย์ของผู้ป่วยได้รวมถึงการวินิจฉัยทางเภสัชกรรม - การระบุระดับความรุนแรงของภาวะเจ็บป่วยเบื้องต้น/โรคเรื้อรัง - การพิจารณาเปรียบเทียบคัดเลือกยาและ/หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ เหมาะสมแก่ผู้ป่วยเฉพาะราย (IESAC)* แบบ-ป-๓/๒
  • 25. คณะอนุกรรมการการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมชุมชน (วาระปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ๑๓ หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ ๓ หรือสัปดาห์ที่ …...... สัปดาห์ที่ ๖ หมาย เหตุ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๒.๔ การแก้ไขปัญหาแก่ผู้ป่วย ** - ทักษะในการสรุปผลการประเมินปัญหาสุขภาพ และระบุเป้าหมาย ของการรักษาร่วมกับผู้ป่วย - ทักษะการจ่ายยาและให้คาแนะนา 1) การใช้ยาโดยแจ้งชื่อยา ข้อบ่งใช้ ขนาด วิธีการใช้ ระยะเวลา ในการใช้ยาอาการข้างเคียง และข้อควรระวังข้อควรปฏิบัติเมื่อ เกิดปัญหาจากการใช้ยา รวมถึงการเก็บรักษา 2) การให้คาแนะนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3) การพิจารณาส่งต่อผู้ป่วย (อาจมีหรือไม่มีแบบบันทึกส่งต่อ) 4) การให้คาแนะนาเบื้องต้นเพื่อให้ผู้ป่วยได้ติดตามประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของยาที่ได้รับ - ทักษะในการเก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูล: การจัดทาแฟ้มประวัติ การรักษาและการใช้ยาของผู้ป่วยโรคเรื้อรังหรือผู้ที่ต้องติดตามการ ใช้ยา (ใช้รูปแบบการบันทึกของแหล่งฝึกหรือนิสิต/นักศึกษาจัดทา ขึ้นมาเอง) ๓. การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาแก่ผู้ป่วย ** - อวัจนภาษา: สีหน้า ท่าทาง - วัจนภาษา: ภาษาเหมาะแก่ระดับผู้รับสาร ชัดเจน ได้ใจความ ถูกต้อง ตรงประเด็น - การให้คาแนะนาที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ - การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เหมาะสมตามสถานการณ์ - การเขียนฉลากยา ฉลากช่วย และใบส่งต่อผู้ป่วย (ถ้ามี) ๔. บริการสารสนเทศทางยาแก่ผู้ป่วยและ/หรือบุคคลทั่วไป/บุคลากร สาธารณสุข รวมคะแนน (คะแนนที่ได้ x ๓๐)/ฐานคะแนนที่ประเมินจริง หมายเหตุ: *IESAC คือ Indication, Efficacy, Safety, Adherence, Cost ** ประเมินในภาพรวมโดยพิจารณาจากข้อย่อยทั้งหมด ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ . ลงชื่อ………...............................................................อาจารย์ประจาแหล่งฝึก แบบ-ป-๓/๓