SlideShare a Scribd company logo
1
บทที่ 1
สมบัติของจํานวนนับ (6 ชั่วโมง)
1.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช (4 ชั่วโมง)
1.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช (2 ชั่วโมง)
เนื้อหาในบทเรียนนี้ จะเนนเฉพาะเรื่อง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. โดยเริ่มทบทวนในเรื่องที่เกี่ยวกับ
การหารจํานวนนับที่เปนการหารลงตัว ตัวหารหรือตัวประกอบ ตัวประกอบรวม หรือตัวหารรวม
จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะและการแยกตัวประกอบ เพื่อนําสมบัติไปใชในการหา ห.ร.ม. และ
ค.ร.น. ของจํานวนนับตอไป
ในบทเรียนนี้เนนการนํา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในการแกปญหา จึงจําเปนตองทบทวนวิธี
การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
ตัวอยางเอกสารแนะนําการจัดกิจกรรมที่จัดไวในแตละหัวขอ มีไวเพื่อนําเขาสูเนื้อหาสาระ
เสริมเนื้อหาสาระ ฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ใหมีคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมที่ดีงาม
ครูสามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสมและอาจปรับใชไดตามความตองการ
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับที่กําหนดใหได
2. ใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. แกปญหาได
2
แนวทางในการจัดการเรียนรู
1.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได
2. ใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. แกปญหาได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก – 1.1 ง
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก ครูอาจใชการถามตอบหรือครูอาจจัดทําเปนใบงานให
นักเรียนทํากอน แลวจึงใชการถามตอบตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนอีกครั้งหนึ่ง เมื่อนักเรียนมี
ความรูพื้นฐานแลวครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ข เพื่อทบทวนการแยกตัวประกอบ
2. ในการหาตัวประกอบของจํานวนนับที่กําหนดให นักเรียนอาจหาไดไมครบถวน ครูควร
แนะนํานักเรียนใหพิจารณาจากตัวคูณสองจํานวนทุกคูที่มีผลคูณเทากับจํานวนนับนั้น เชน การหา
ตัวประกอบของ 18 ทําไดดังนี้
หาจํานวนนับสองจํานวนที่คูณกันแลวได 18 โดยเริ่มจากตัวคูณ 1, 2, 3, …
1 × 18 = 18
2 × 9 = 18
3 × 6 = 18
4 × χ = χ ซึ่งไมมีจํานวนนับที่คูณกับ 4 ได 18
ครูอาจใชแผนภาพการจับคูจํานวนสองจํานวนที่คูณกันได 18 เพื่อชวยในการหาวายังมี
จํานวนคูอื่นอีกหรือไมที่คูณกันได 18 ดังนี้
1 2 3 4 χ 6 9 18
ไมมี
3
จากแผนภาพจะเห็นวาจํานวนนับที่อยูระหวาง 4 กับ 6 คือ 5 มีเพียงจํานวนเดียวและ
4 × 5 ไมเทากับ 18 ดังนั้นตัวประกอบของ 18 มีทั้งหมด 6 จํานวน ไดแก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
3. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ค กอนใหนักเรียนทํากิจกรรมนี้ครูควรสนทนากับนักเรียน
ถึงเรื่องการตัดไมทําลายปาซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดอุทกภัยทุกป ทําใหเราตองหาวิธีชวยเหลือผูประสบ
อุทกภัยในเบื้องตน เชน แจกถุงยังชีพ
4. ปญหาการลอมรั้วที่ดินของชาวสวนในหนังสือเรียนที่นําเสนอไวนั้น เพื่อใหเกิดแนวคิด
เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และการนําไปใช ครูอาจจําลองสถานการณใหนักเรียนลงมือปฏิบัติโดยใชฟวเจอรบอรด
แทนบริเวณที่ดินและเข็มหมุดแทนเสาเพื่อชวยในการหาคําตอบ นอกจากนี้ครูอาจเลือกใชโจทยปญหา
อื่น ๆ จากกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ง เพิ่มเติมก็ได
5. เมื่อนักเรียนไดเรียนรูวิธีหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปครบถวนทั้งสามวิธีแลว
ควรแนะใหนักเรียนสํารวจตัวเองวาวิธีใดที่ตนเองถนัดและนําไปใชไดดี ในการทําแบบฝกหัด นักเรียน
จะเลือกทําโดยวิธีใดก็ได
6. สําหรับตัวอยางที่ 6 – 8 ในหนังสือเรียน ครูควรใชคําถามประกอบการอธิบาย และชี้ให
เห็นประโยชนของการนํา ห.ร.ม. มาใชในการแกปญหา เมื่อนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.1 ขอ 11 แลว
ครูควรชวยใหนักเรียนสรุปไดวา เศษสวนใดเปนเศษสวนอยางต่ําก็ตอเมื่อ ห.ร.ม. ของตัวเศษและตัวสวน
เปน 1 ซึ่งเปนบทนิยามของเศษสวนอยางต่ํา
1.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หา ค.ร.น. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได
2. บอกความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนที่กําหนดใหได
3. ใชความรูเกี่ยวกับ ค.ร.น. แกปญหาได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก – 1.2 ค
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนความรูเดิมเกี่ยวกับตัวประกอบเพื่อใหนักเรียนเขาใจวาตัวประกอบของจํานวนนับใด
ยอมหารจํานวนนับนั้นลงตัวดังนี้
2 เปนตัวประกอบของ 6 หมายความวา 2 หาร 6 ลงตัว
หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 6 หารดวย 2 ลงตัว
4
3 เปนตัวประกอบของ 15 หมายความวา 3 หาร 15 ลงตัว
หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 15 หารดวย 3 ลงตัว
4 เปนตัวประกอบของ 16 หมายความวา 4 หาร 16 ลงตัว
หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 16 หารดวย 4 ลงตัว
2. เพื่อใหนักเรียนเขาใจความหมายของพหุคูณ ครูสามารถใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก
ประกอบการเรียนการสอน
3. ครูควรระวังเกี่ยวกับการใหความหมายของตัวประกอบและพหุคูณซึ่งใชถอยคําใกลเคียงกัน
ดังนี้
ตัวประกอบของจํานวนนับใด คือ จํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นลงตัว
พหุคูณของจํานวนนับใด คือ จํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับนั้นลงตัว
จะเห็นวาขอความทั้งสองนั้นแตกตางกันที่พหุคูณของจํานวนนับมีคําวา หารดวย ครูตอง
อธิบายอยางชัดเจนโดยอาจยกตัวอยางดังนี้
ตัวประกอบของ 12 มี 6 ตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6 และ 12
แตพหุคูณของ 12 มีมากมาย ไดแก 12, 24, 36, …
4. ปญหาน้ําพุกลางสวนในหนังสือเรียนนําเสนอไวเพื่อใหเห็นตัวอยางของการนํา ค.ร.น.
ไปใช ครูควรใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหแนวคิดและหาขอสรุปใหไดวาเวลาที่น้ําพุทั้งสามวงพุงขึ้น
พรอมกันคือ ค.ร.น. ของเวลาครบกําหนดที่น้ําพุแตละวงพุงขึ้น
5. เมื่อนักเรียนไดเรียนรูวิธีหา ค.ร.น. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปครบทั้งสามวิธี
แลว ควรแนะใหนักเรียนสํารวจตัวเองวาวิธีใดที่ตนเองถนัดและนําไปใชไดดี ในการทําแบบฝกหัด 1.2
นักเรียนจะเลือกใชวิธีใดก็ได
ครูอาจชี้ใหนักเรียนเห็นวาวิธีการแยกตัวประกอบและวิธีการตั้งหารเปนวิธีที่สามารถใชหา
ไดทั้ง ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
6. ครูควรใหนักเรียนทํากิจกรรมชวนคิดในหนังสือเรียนเพื่อใหสังเกตความสัมพันธระหวาง
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนกับผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนนั้น
หลาย ๆ คู จากนั้นครูและนักเรียนชวยกันสรุปใหไดวาผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ
สองจํานวนใด ๆ เทากับผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนนั้น ขอสรุปดังกลาวเขียนในรูปทั่วไปไดดังนี้
ถา a และ b เปนจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ
(ห.ร.ม. ของ a และ b) × (ค.ร.น. ของ a และ b) = a × b
5
การพิสูจนความสัมพันธดังกลาวตองใชความรูในระดับสูง ในชั้นนี้ตองการเพียงใหนักเรียน
รูจักและนําความสัมพันธดังกลาวนี้ไปใชได
ครูควรใหนักเรียนทดลองหาความสัมพันธของจํานวนนับสามจํานวนใดๆ ตามแบบรูปของ
ความสัมพันธขางตนแลวตรวจสอบดูวาความสัมพันธนั้นยังคงเปนจริงสําหรับกรณีสามจํานวนเสมอไป
หรือไม นักเรียนควรสรุปไดวาไมเปนจริง
7. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข และ 1.2 ค นั้น ครูอาจเลือกใชเพื่อชี้ใหนักเรียนเห็น
การนําความรูเรื่องสมบัติของจํานวนนับไปเชื่อมโยงกับความรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ
คําตอบแบบฝกหัด
คําตอบแบบฝกหัด 1.1
1.
1) 17 2) 1
3) 3 4) 1
2. 1
3. 17
4. 27
5. 34
6. 12 กอง ชนิดที่หนึ่งกองละ 4 ผล ชนิดที่สองกองละ 5 ผล ชนิดที่สามกองละ 7 ผล
7. 5 แถว แถวละ 32 คน
8. 120 แผน แตละแผนมีดานยาว 13 เซนติเมตร
9. 176 ตน
10. ตัดไดมากที่สุด 180 ผืน ตัดไดนอยที่สุด 5 ผืน ซึ่งมีแนวคิดดังนี้
หาตัวหารรวมของ 36 และ 180 จะได 2 , 4 , 6 , 8 , 10 , 12 , 18 และ 36 จากเงื่อนไขของ
โจทยที่ตองตัดผาเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวไมต่ํากวา 5 เซนติเมตร ความยาวที่ใชได คือ 6 , 9 ,
12 , 18 หรือ 36 เซนติเมตร
ถาตองการตัดใหไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจํานวนมากที่สุด ตองตัดใหยาวดานละ 6 เซนติเมตร
จะตัดได 180 ผืน และถาตองการตัดใหไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสนอยที่สุด ตองตัดใหยาวดานละ 36
เซนติเมตร จะตัดได 5 ผืน
11. 18
13 เปนเศษสวนอยางต่ําของ 108
78 เพราะวา ห.ร.ม. ของ 13 และ 18 คือ 1
12. ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองมากกวาหรือเทากับ 1 เสมอ เพราะวา
6
กรณีที่ 1 ถาจํานวนนับสองจํานวนนั้นมีตัวประกอบรวมเปน 1 เทานั้น
ห.ร.ม. ของสองจํานวนนั้นตองเทากับ 1
กรณีที่ 2 ถาจํานวนนับสองจํานวนนั้นมีตัวประกอบรวมมากกวา 1 แลว ห.ร.ม. ของสองจํานวนนั้น
ตองมากกวา 1
หรืออาจใหเหตุผลดังนี้
1 เปนตัวหารรวมของจํานวนนับทุกจํานวน และ 1 เปนจํานวนนับที่นอยที่สุด
ดังนั้น ห.ร.ม. หรือตัวหารรวมที่มากที่สุดของจํานวนนับสองจํานวนที่กําหนดใหจึงตองมากกวาหรือ
เทากับ 1
คําตอบแบบฝกหัด 1.2
1.
1) 114 2) 377
3) 3657 4) 120
5) 2499 6) 1551
2.
1) 6
7 หรือ 1 6
1
2) 120
89
3) 48
11
3. 149
4. 180 ผล
5. เวลา 17.30 น.
6. ครั้งตอไปที่แมจะพบลูกพรอมกันสองคนดังนี้
แมพบสวยกับขําอีก 12 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 25 เมษายน
แมพบสวยกับคมอีก 20 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 3 พฤษภาคม
แมพบคมกับขําอีก 30 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 13 พฤษภาคม
และพบลูกพรอมกันทั้งสามคนในวันที่ 12 มิถุนายน
7. ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองมากกวาหรือเทากับจํานวนใดจํานวนหนึ่งในสองจํานวน
นั้นเสมอ เพราะวาแตละจํานวนตองหาร ค.ร.น. ไดลงตัว
8. เพราะวา ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองหารสองจํานวนนั้นลงตัวและสองจํานวนนั้น
ตองหาร ค.ร.น. ของสองจํานวนนั้นลงตัวดวย ดังนั้น ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ หาร
ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนนั้นไดลงตัวเสมอ
7
คําตอบปญหาชวนคิด
1. ห.ร.ม. ของ 6 และ 10 คือ 2
ค.ร.น. ของ 6 และ 10 คือ 30
2. 1) ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 2 × 30 = 60
2) ผลคูณของ 6 และ 10 คือ 6 × 10 = 60
3. ผลลัพธที่ไดในขอ 2 จากขอ 1) และ 2) เทากัน
4. ห.ร.ม. ของ 8 และ 28 คือ 4
ค.ร.น. ของ 8 และ 28 คือ 56
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 8 × 28 = 224
ผลคูณของ 8 และ 28 คือ 8 × 28 = 224
5. กําหนด 15 และ 27
ห.ร.ม. ของ 15 และ 27 คือ 3
ค.ร.น. ของ 15 และ 27 คือ 135
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 3 × 135 = 405
ผลคูณของ 15 และ 27 คือ 15 × 27 = 405
6. ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนเทากับผลคูณของจํานวนนับ
สองจํานวนนั้น หรือ เมื่อ a และ b เปนจํานวนนับ
(ห.ร.ม. ของ a และ b) × (ค.ร.น. ของ a และ b) = a × b
7. จํานวนสองจํานวนมี ห.ร.ม. เปน 6 ค.ร.น. เปน 72
จํานวนหนึ่งคือ 18 อีกจํานวนหนึ่ง คือ 24
8. 18 และ 24 มี ห.ร.ม. คือ 6 และ ค.ร.น. คือ 72 จริง
8
กิจกรรมเสนอแนะ
9
กิจกรรมนี้ครูอาจใชการถามตอบ เพื่อทบทวนความรูเกี่ยวกับตัวประกอบ ตัวประกอบรวม
จํานวนคู จํานวนคี่ และจํานวนเฉพาะ
กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก
1. ใหนักเรียนหาตัวประกอบทั้งหมดของจํานวนตอไปนี้
1) 17 [1, 17]
2) 24 [1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 24]
3) 36 [1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18, 36]
4) 125 [1, 5, 25, 125]
2. จํานวนนับทุกจํานวนมี 1 เปนตัวประกอบใชหรือไม เพราะเหตุใด
[ใช เพราะ 1 หารจํานวนนับทุกจํานวนลงตัว]
3. จํานวนนับทุกจํานวนมี 2 เปนตัวประกอบใชหรือไม เพราะเหตุใด
[ไมใช เพราะมีตัวอยาง เชน 3 เปนจํานวนนับซึ่งไมมี 2 เปนตัวประกอบ]
4. จํานวนนับใดบางที่เปนตัวประกอบรวมของ 16 และ 20 [1, 2, 4]
5. ขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ
1) 8 เปนตัวประกอบของ 72 [จริง]
2) 7 เปนตัวประกอบของ 91 [จริง]
3) 3 ไมเปนตัวประกอบของ 45 [เท็จ]
4) ตัวประกอบของ 13 มีเพียง 2 ตัวเทานั้น [จริง]
5) 28 มีตัวประกอบทั้งหมด 7 ตัว [เท็จ]
6) 2 และ 3 เปนตัวประกอบของ 15 [เท็จ]
6. จงหาจํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีจํานวนทุกจํานวนในแตละขอตอไปนี้เปนตัวประกอบ
1) 1, 3, 4, 8 [24]
2) 1, 5, 7 [35]
7. จงหาวาขอความในขอใดเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาเปนเท็จใหบอกเหตุผลหรือยกตัวอยางคาน
1) จํานวนนับที่ลงทายดวย 0, 2, 4, 6 และ 8 ทุกจํานวนเปนจํานวนคู [จริง]
2) จํานวนนับที่ลงทายดวย 1, 3, 5, 7 และ 9 ทุกจํานวนเปนจํานวนคี่ [จริง]
10
3) จํานวนนับทุกจํานวนที่ 2 หารลงตัวเปนจํานวนคู [จริง]
4) จํานวนนับทุกจํานวนที่ 3 หารลงตัวเปนจํานวนคี่
[เท็จ เพราะมีตัวอยาง เชน 12 ซึ่ง 3 หารลงตัว แต 12 ไมเปนจํานวนคี่]
5) จํานวนคี่ทุกจํานวนมี 1 และตัวมันเองเทานั้นหารลงตัว
[เท็จ เพราะมีตัวอยาง เชน 27 มี 1, 3, 9 และ 27 หารลงตัว]
6) ผลบวกของจํานวนคูสองจํานวนเปนจํานวนคู [จริง]
7) ผลคูณของจํานวนคูกับจํานวนคี่เปนจํานวนคู [จริง]
8) 48, 112, 215 เปนจํานวนคูทุกจํานวน
[เท็จ เพราะ 215 เปนจํานวนคี่]
9) 302, 247, 121 มีจํานวนคี่สองจํานวน [จริง]
8. จงหาวาขอความในขอใดเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาเปนเท็จใหบอกเหตุผลหรือยกตัวอยางคาน
1) 3 เปนจํานวนเฉพาะที่นอยที่สุด
[เท็จ เพราะยังมีจํานวนเฉพาะที่นอยกวา คือ 2]
2) จํานวนคี่ทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะ
[เท็จ เพราะมีจํานวนคี่ที่ไมเปนจํานวนเฉพาะ เชน 9]
3) 1 ไมใชจํานวนเฉพาะ [จริง]
4) ไมมีจํานวนคูจํานวนใดเปนจํานวนเฉพาะ
[เท็จ เพราะ 2 เปนจํานวนคู และ 2 เปนจํานวนเฉพาะ]
5) จํานวนเฉพาะที่มากที่สุดแตนอยกวา 30 คือ 29 [จริง]
6) 5 × 7 เปนจํานวนเฉพาะ
[เท็จ เพราะ 5 × 7 ยังมีตัวประกอบที่ไมใช 1 และไมใชตัวของมันเอง คือ 5 และ 7]
9. จงหาจํานวนที่มีสองหลักและเปนจํานวนเฉพาะที่มากที่สุด [97]
10. จงหาจํานวนที่มีสามหลักและเปนจํานวนเฉพาะที่นอยที่สุด [101]
11. จงหาจํานวนเฉพาะที่อยูระหวาง 40 ถึง 60 [41, 43, 47, 53 และ 59]
12. จงหาจํานวนเฉพาะสามจํานวนแรกที่มากกวา 200 [211, 223 และ 227]
13. ถา a และ b เปนจํานวนเฉพาะที่ a ≠ b จํานวนนับที่หารทั้ง a และ b ไดลงตัว คือจํานวนใด [1]
11
กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ข
1. จงหาจํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีตัวประกอบเฉพาะไมซ้ํากัน 4 ตัว
[จํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีตัวประกอบเฉพาะไมซ้ํากัน 4 ตัว คือ 210
210 ไดจาก 2 × 3 × 5 × 7]
2. จงแยกตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้
1) 189 [189 = 3 × 3 × 3 × 7]
2) 333 [333 = 3 × 3 × 37]
3) 735 [735 = 3 × 5 × 7 × 7]
4) 1,155 [1155 = 3 × 5 × 7 × 11]
5) 1,350 [1350 = 2 × 3 × 3 × 3 × 5 × 5]
6) 9,009 [9009 = 3 × 3 × 7 × 11 × 13]
กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ค
สื่อการเรียนรู
ใบกิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน
แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงการจัดสิ่งของเปนถุงหรือเปนกองเพื่อใหนักเรียนเห็นแนวคิดใน
การใชตัวประกอบรวม เชน มีมะมวง 12 ผล และมังคุด 18 ผล จะจัดใสจานไดอยางไรบางโดยให
แตละจานมีจํานวนผลไมแตละชนิดเทากัน และไมมีผลไมเหลืออยู
กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นการใชความรูเกี่ยวกับตัวประกอบรวมและใหเห็น
สถานการณของปญหาที่เชื่อมโยงถึงเรื่องที่จะสรางเสริมคุณธรรมใหแกนักเรียน
กิจกรรมนี้ครูอาจใชเพื่อทบทวนการแยกตัวประกอบ
12
2. ครูแจกใบกิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน ใหนักเรียนทําเปนงานกลุม กอนใหทํากิจกรรมนี้
ครูควรสนทนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการชวยเหลือสังคมในเรื่องอื่น ๆ เพื่อกระตุนใหนักเรียนรูสึกถึงการมี
น้ําใจทํางานเพื่อสังคม
3. หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมแลว ควรใหมีการนําเสนอแนวคิดและวิธีการแกปญหาของ
แตละกลุมและอภิปรายถึงความเหมาะสมของการจัดสิ่งของมอบใหหมูบาน
4. หลังจากนักเรียนนําเสนอแลวใหครูใชคําถามเพิ่มเติมวา ถาในการจัดของไปบริจาคครั้งนี้
ตองการจัดใหไดจํานวนหมูบานมากที่สุด จะจัดไดกี่หมูบาน
นักเรียนของโรงเรียนแหงหนึ่งชวยครูจัดสิ่งของที่ไดรับบริจาคเพื่อนําไปชวยเหลือหมูบานที่
ประสบอุทกภัยในจังหวัดหนึ่ง
รายการสิ่งของที่ไดรับบริจาคมีดังนี้
ผาหม จํานวน 120 ผืน
ปลากระปอง จํานวน 150 โหล
ผักกาดดองกระปอง จํานวน 840 กระปอง
บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป จํานวน 600 กลอง
ขาวสารถุงละ 5 กิโลกรัม จํานวน 480 ถุง
ถาตองการจัดสิ่งของเหลานี้เปนกองเพื่อมอบใหแตละหมูบาน แตละกองมีของครบทุกชนิดและ
แตละชนิดมีจํานวนเทากันโดยไมมีสิ่งของเหลืออยู นักเรียนจะมีวิธีการจัดสิ่งของไดกี่วิธี
คําตอบกิจกรรม เพื่อนชวยเพื่อน
เนื่องจากตัวประกอบของ 120, 150, 840, 600 และ 480 ไดแก 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ
30 ดังนั้นนักเรียนจะมีวิธีการจัดสิ่งของ ใหแตละหมูบานไดของครบทุกชนิดและแตละชนิดมีจํานวน
เทากันโดยไมมีสิ่งของเหลืออยูไดทั้งหมด 8 วิธีดังนี้
เพื่อนชวยเพื่อน
13
ตัดเชือก
กิจกรรมตอไปนี้นําเสนอใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติเพื่อใหเกิดแนวคิดเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ
นําความรูเรื่อง ห.ร.ม. ไปแกปญหาหรือสถานการณตาง ๆ ครูอาจใหนักเรียนทําทั้งหมดหรือ
ทําบางกิจกรรมก็ได
ผาหม
(ผืน)
ปลากระปอง
(โหล)
ผักกาดดอง
กระปอง
(กระปอง)
บะหมี่
กึ่งสําเร็จรูป
(กลอง)
ขาวสารถุงละ
5 กิโลกรัม
(ถุง)
1. จัดให 1 หมูบาน
2. จัดให 2 หมูบาน
3. จัดให 3 หมูบาน
4. จัดให 5 หมูบาน
5. จัดให 6 หมูบาน
6. จัดให 10 หมูบาน
7. จัดให 15 หมูบาน
8. จัดให 30 หมูบาน
120
60
40
24
20
12
8
4
150
75
50
30
25
15
10
5
840
420
280
168
140
84
56
28
600
300
200
120
100
60
40
20
480
240
160
96
80
48
32
16
กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ง
สื่อการเรียนรู เชือกฟางสามเสนยาว 28 เซนติเมตร 36 เซนติเมตร และ 48 เซนติเมตร
กรรไกร และไมบรรทัด
คําสั่ง ใหนักเรียนชวยกันหาวิธีตัดเชือกทั้งสามเสนออกเปนทอนสั้นๆ โดยใหทุกทอนยาวเทากัน
เปนจํานวนเต็มเซนติเมตรและไมเหลือเศษ จงหาวา
1. จะตัดเชือกไดอยางไรบาง
2. ถาตองการใหเชือกแตละทอนยาวที่สุดจะไดเชือกกี่ทอน แตละทอนยาว
กี่เซนติเมตร
วิธีที่
สิ่งของที่แตละหมูบาน
จะไดรับ
14
ตัดกระดาษ
คําตอบกิจกรรม ตัดเชือก
1. ตัดเชือกได 3 แบบ
1) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 1 เซนติเมตร จะตัดได 112 ทอน
2) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 2 เซนติเมตร จะตัดได 56 ทอน
3) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 4 เซนติเมตร จะตัดได 28 ทอน
2. ถาตองการใหเชือกแตละทอนยาวที่สุดจะตัดเชือกไดทั้งหมด 28 ทอน แตละทอนยาว
4 เซนติเมตร
สื่อการเรียนรู กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดกวาง 32 เซนติเมตร ยาว 56 เซนติเมตร
คําสั่ง ใหนักเรียนชวยกันหาวิธีตัดกระดาษออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเทาๆ กันดวยความยาว
ของดานเปนจํานวนเต็มเซนติเมตรโดยไมเหลือเศษ จงหาวา
1. จะตัดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสไดขนาดเทาใดบาง
2. ถาตองการตัดใหเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดใหญที่สุด โดยไมใหเหลือเศษ
จะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมดกี่รูป แตละรูปมีดานยาวกี่เซนติเมตร
คําตอบกิจกรรม ตัดกระดาษ
1. ตัดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสได 4 แบบ
1) ถาตัดใหมีดานยาว 1 เซนติเมตร จะตัดได 1,792 รูป
2) ถาตัดใหมีดานยาว 2 เซนติเมตร จะตัดได 448 รูป
3) ถาตัดใหมีดานยาว 4 เซนติเมตร จะตัดได 112 รูป
4) ถาตัดใหมีดานยาว 8 เซนติเมตร จะตัดได 28 รูป
2. ถาตองการตัดใหเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดใหญที่สุด จะตองตัดใหมีดานยาวดานละ 8
เซนติเมตร และตัดได 28 รูป
15
จัดยางรัดใสถุง
สื่อการเรียนรู ยางรัดสีเขียว 48 เสน ยางรัดสีแดง 72 เสน และยางรัดสีเนื้อ 192 เสน
คําสั่ง ใหนักเรียนชวยกันจัดยางรัดใสถุง ถุงละเทาๆ กันโดยไมใหเหลือเศษ ใหแตละถุงมียางรัด
ครบทุกสีและแตละสีมีจํานวนเทากันดวย จงหาวา
1. ถาตองการใหไดจํานวนถุงมากที่สุดจะจัดไดกี่ถุง แตละถุงจะมียางรัดทั้งหมดกี่เสน
และแตละสีมีอยางละกี่เสน
2. ถาตองการใหในแตละถุงมีจํานวนยางรัดมากที่สุด จะจัดไดกี่ถุง และแตละ
ถุงจะมียางรัดกี่เสน
คําตอบกิจกรรม จัดยางรัดใสถุง
1. ถาตองการใหไดจํานวนถุงมากที่สุดจะจัดได 24 ถุง
แตละถุงมียางรัดทั้งหมด 13 เสน มี สีเขียว 2 เสน สีแดง 3 เสน และสีเนื้อ 8 เสน
2. ถาตองการใหในแตละถุงมีจํานวนยางรัดมากที่สุดจะจัดได 1 ถุง
และในถุงมียางรัด 312 เสน
กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก
แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูอาจใหนักเรียนทองสูตรคูณแม 2, 3, 4 และ 5 พรอมกันหนึ่งรอบ จากนั้นครูเขียน
สูตรคูณดังกลาวบนกระดานตามแบบรูปดังนี้
2 × 1 2 × 2 2 × 3 2 × 4 2 × 5 …
3 × 1 3 × 2 3 × 3 3 × 4 3 × 5 …
4 × 1 4 × 2 4 × 3 4 × 4 4 × 5 …
5 × 1 5 × 2 5 × 3 5 × 4 5 × 5 …
กิจกรรมนี้นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับพหุคูณของจํานวนนับ โดยสังเกตจาก
แบบรูปของสูตรคูณที่นักเรียนคุนเคยมาแลว
พหุคูณ
16
2. ครูใชคําถามใหนักเรียนสังเกตวาจํานวนในแถวที่ 1 ซึ่งเปนสูตรคูณของแม 2 แตละ
จํานวนไดมาอยางไร (นักเรียนควรตอบไดวา ไดมาจากการคูณของ 2 กับจํานวนนับตั้งแต 1 ขึ้นไป)
ครูแนะนําวาแตละจํานวนนั้นคือ พหุคูณของ 2 พรอมทั้งเขียนคําวา “เปนพหุคูณของ 2” หลังแถวที่ 1
ดังนี้
2 × 1 2 × 2 2 × 3 2 × 4 2 × 5 … เปนพหุคูณของ 2
3. ครูใหนักเรียนสังเกตจํานวนในแถวตอไปวามีลักษณะเชนเดียวกับจํานวนในแถวที่ 1
หรือไม และควรเรียกจํานวนในแตละแถววาอยางไร (นักเรียนควรตอบไดวา แถวที่ 2, 3 และ 4 เปน
พหุคูณของ 3 พหุคูณของ 4 และพหุคูณของ 5 ตามลําดับ) ใหครูเขียนคําวา เปนพหุคูณของ 3, 4
และ 5 ตามคําบอกของนักเรียนไวหลังแถวเชนเดียวกับแถวที่ 1
4. ครูใชการถามตอบ ใหนักเรียนไดสังเกตเห็นวาจํานวนที่เปนพหุคูณของจํานวนนับจะตอง
หารดวยจํานวนนับนั้นไดลงตัว โดยใชคําถามในทํานองตอไปนี้
1) 2 หารจํานวนทุกจํานวนที่เปนพหุคูณของ 2 ลงตัวหรือไม
2) 2 เปนตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่เปนพหุคูณของ 2 ใชหรือไม
3) จํานวนทุกจํานวนที่หารดวย 2 ลงตัวเปนพหุคูณของ 2 ใชหรือไม
ครูใชคําถามในทํานองเดียวกันนี้กับพหุคูณของจํานวนนับอื่น ๆ อีก 2 – 3 คําถาม เพื่อให
นักเรียนสรุปไดวา จํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับที่กําหนดใหลงตัว เรียกวาพหุคูณของจํานวนนับ
ที่กําหนดใหนั้น
ในทางคณิตศาสตรมีบทนิยามสําหรับพหุคูณของ a เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ ดังนี้
บทนิยาม พหุคูณของ a เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ คือ จํานวนในรูป ma
เมื่อ m เปนจํานวนเต็ม
ดังนั้นถาใชบทนิยามโดยตรง พหุคูณของ a คือ 0 × a, 1 × a, 2 × a, … และ -1 × a, -2 × a,
-3 × a … เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ แตในบทเรียนระดับนี้ เราจํากัดขอบเขตไวเฉพาะจํานวนนับ
ดังนั้นพหุคูณของ 2 คือ 1 × 2, 2 × 2, 3 × 2, 4 × 2, … และเมื่อใชสมบัติการสลับที่จะไดสูตรคูณ
ในแบบรูปของกิจกรรมนี้เปน 2 × 1, 2 × 2, 2 × 3, 2 × 4, …
ความรูเกี่ยวกับบทนิยามขางตนนี้ ครูไมจําเปนตองใหนักเรียนรู ในที่นี้เพิ่มเติมไวสําหรับครู
17
กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข
กิจกรรมนี้ครูอาจใชเพื่อใหนักเรียนไดเห็นการนําสมบัติของจํานวนนับมาประยุกตเปนกิจกรรม
และไดเชื่อมโยงความรูคณิตศาสตรกับความรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่น
พรรณไมบานเรา
สื่อการเรียนรู
บัตรสีตาง ๆ 4 สี ในตัวอยางนี้สมมติในหองเรียนมีนักเรียน 50 คน จัดเตรียมบัตรสีตาง ๆ
50 ใบ ดังนี้
บัตรสีแดงมีจํานวน 14 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22,
24, 26 และ 28
บัตรสีเขียวมีจํานวน 12 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 1, 3, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17, 19, 21
และ 23
บัตรสีน้ําเงินมีจํานวน 10 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45
และ 50
บัตรสีชมพูมีจํานวน 14 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, 30,
33, 36, 39 และ 42
แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูแจกบัตรสี 1 ใบใหนักเรียนแตละคนโดยไมเจาะจงสีและหมายเลขบัตร
2. ใหนักเรียนแยกเขากลุมตามสีของบัตร อาจใหยืนเปนกลุมก็ได
3. ใหนักเรียนในแตละกลุมอภิปรายกันถึงจํานวนบนบัตรที่แตละคนไดรับวาครูแบงกลุมโดย
ใชความรูหรือหลักเกณฑอยางไร ซึ่งนักเรียนควรสรุปไดวา บนบัตรสีแดงเปนจํานวนคูหรือเปนจํานวน
ซึ่งเปนพหุคูณของ 2 บนบัตรสีเขียวเปนจํานวนคี่ บนบัตรสีน้ําเงินเปนจํานวนซึ่งเปนพหุคูณของ 5
บนบัตรสีชมพูเปนจํานวนซึ่งเปนพหุคูณของ 3
จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาวา
1) ระหวางกลุมบัตรสีตาง ๆ มีบัตรซึ่งแสดงจํานวนเดียวกันอยางนอย 1 จํานวนบาง
หรือไม
18
[กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีน้ําเงิน มีจํานวนซ้ํากันคือ 10 และ 20
กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 6, 12, 18 และ 24
กลุมบัตรสีเขียวกับกลุมบัตรสีน้ําเงิน มีจํานวนซ้ํากันคือ 5 และ 15
กลุมบัตรสีเขียวกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 3, 9, 15 และ 21
กลุมบัตรสีน้ําเงินกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 15 และ 30
กลุมบัตรสีเขียว บัตรสีน้ําเงิน และบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 15 ]
2) กลุมบัตรสีใดบางที่มีจํานวนบนบัตรไมซ้ํากับกลุมสีอื่น
[กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีเขียว]
คําตอบของทั้งสองขอนี้จะนําไปใชในกิจกรรมตอนตอไป
4. ใหนักเรียนในแตละกลุมบัตรสีชวยกันรวบรวมรายชื่อพรรณไมบานเรา ดังนี้
บัตรสีแดง รวบรวมชื่อ ไมดอก
บัตรสีเขียว รวบรวมชื่อ ไมผล
บัตรสีน้ําเงิน รวบรวมชื่อ ไมเลื้อย
บัตรสีชมพู รวบรวมชื่อ ไมประดับ
ถาครูเห็นวานักเรียนหาชื่อพรรณไมไดชาเกินไป ครูอาจแจกใบรายชื่อพรรณไมบานเรา
ดังตัวอยางขางลางนี้ ใหนักเรียนเลือกชื่อและบันทึกเปนของกลุม แลวใหแตละกลุมนําเสนอรายชื่อ
พรรณไมบนกระดานดําในเวลา 10 นาที
รายชื่อพรรณไมบานเรา
กุหลาบ มะมวง องุน ปาริชาต ฟกทอง โกสน
แตงโม พวงผกา ไทร เสนหจันทน เล็บมือนาง เสาวรส
ทุเรียน กระดุมทอง เล็บครุฑ ชมพู กลวย อัญชัน
สุพรรณิการ จําปา จําป ตําลึง สลิด (ขจร) ฤๅษีผสม
มะดัน เฟองฟา นอยหนา พลูฉีก พลูดาง มังคุด
มะขวิด มะเฟอง ลดาวัลย ถั่วฝกยาว มะเขือ พวงแสด
มะปราง บัวหลวง เข็ม ตีนตุกแก โมก มะไฟ
มะยม เข็ม พลับพลึง บานบุรี พวงชมพู แตงไทย
พวงคราม มะตูม ปบ พุทรา ผักบุงไทย บานเชา
ผักบุงทะเล บานชื่น มะลิ ลําไย กระทอน รางเงิน
บอน ตีนเปด สมจี๊ด บวบ พุทธรักษา ละมุด
ไมยราบ มะกอก ราชาวดี วานสี่ทิศ เศรษฐีเรือนนอก
ปรง พริกไทย มะพราว เงาะ เฟรน บานชื่น
19
5. จากนั้นใหนักเรียนสังเกตรายชื่อที่รวบรวมไดของทุกกลุมแลวพิจารณาวา
1) กลุมบัตรสีใดบางที่มีรายชื่อพรรณไมซ้ํากัน
2) กลุมบัตรสีใดบางที่ไมมีรายชื่อพรรณไมซ้ํากันเลย
ครูใหนักเรียนอภิปรายและเปรียบเทียบดูวา จํานวนบนบัตรของกลุมสีที่มีจํานวนซ้ํากัน
มีความสัมพันธกับชื่อพรรณไมที่กลุมเหลานั้นรวบรวมมาอยางไร เชน เมื่อพิจารณาจํานวนบนบัตรสี
แดงและจํานวนบนบัตรสีน้ําเงินจะเห็นวามีจํานวนที่ซ้ํากันคือ 10 และ 20 และเมื่อพิจารณารายชื่อ
พรรณไมที่สองกลุมนี้รวบรวมมาจะพบวามีชื่อพรรณไมที่ซ้ํากัน เชน อัญชัน เล็บมือนาง พลับพลึง
ฯลฯ เชนกัน ระหวางกลุมบัตรสีที่ไมมีจํานวนซ้ํากันก็จะไมมีชื่อพรรณไมซ้ํากันดวยเชนกัน
คําตอบกิจกรรม พรรณไมบานเรา
ตัวอยางคําตอบของแตละกลุมที่จะนําเสนออาจมีดังนี้
ไมดอก ไมผล ไมเลื้อย ไมประดับ
กุหลาบ
ปาริชาต
พวงผกา
เล็บมือนาง
จําปา
จําป
สุพรรณิการ
โมก
ราชาวดี
อัญชัน
ลดาวัลย
เฟองฟา
บัวหลวง
พวงแสด
พลับพลึง
เข็ม
ปบ
มะมวง
องุน
แตงโม
มังคุด
เสาวรส
ทุเรียน
นอยหนา
กลวย
ชมพู
มะขวิด
มะตูม
มะดัน
มะกอก
มะเฟอง
มะไฟ
มะยม
มะปราง
ฟกทอง
องุน
แตงโม
เล็บมือนาง
เสาวรส
กระดุมทอง
พลูดาง
พลูฉีก
ถั่วฝกยาว
อัญชัน
ลดาวัลย
เฟองฟา
สลิด (ขจร)
พวงแสด
ตําลึง
ไมยราบ
ตีนตุกแก
กุหลาบ
โกสน
เสนหจันทน
เล็บมือนาง
ไทร
กระดุมทอง
พลูดาง
พลูฉีก
เล็บครุฑ
อัญชัน
ฤๅษีผสม
เฟองฟา
บัวหลวง
พวงแสด
พลับพลึง
เข็ม
ตีนตุกแก
20
แจกแลวแจกอีก
ไมดอก ไมผล ไมเลื้อย ไมประดับ
บานบุรี
วานสี่ทิศ
มะลิ
พวงคราม
บานเชา
บานชื่น
พวงชมพู
พุทธรักษา
พุทรา
เงาะ
แตงไทย
กระทอน
ละมุด
ลําไย
มะพราว
สมจี๊ด
บานบุรี
พวงชมพู
แตงไทย
พวงคราม
ผักบุงไทย
ผักบุงทะเล
พริกไทย
บวบ
รางเงิน
วานสี่ทิศ
บอน
เศรษฐีเรือนนอก
ปรง
เฟรน
ตีนเปด
สมจี๊ด
กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ค
ใหนักเรียนศึกษาปญหาตอไปนี้แลวตอบคําถามและแสดงแนวคิดในชองวางที่กําหนดให
กิจกรรมนี้นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดฝกการสังเกต คนหาความสัมพันธ และนําความรู
เกี่ยวกับ ค.ร.น. ไปใชในการแกปญหา
ในชวงเทศกาลปใหม หางสรรพสินคาแหงหนึ่งตองการแจกของขวัญสําหรับลูกคาที่
เขาหาง 300 คนแรกในแตละวัน โดยมีกติกาการแจกของขวัญดังนี้
แจกคูปองสวนลด 10% สําหรับลูกคาที่เขาหางซื้อสินคาเปนลําดับที่ 7, 14, 21, …
หรืออยูในลําดับที่ 8, 16, 24 , …
แจกเสื้อยืด 1 ตัว แกลูกคาที่เขาหางเปนลําดับที่ 10, 20, 30, …
21
1. ลูกคาเขาหางเปนลําดับที่เทาใดจึงจะไดรับทั้งคูปองสวนลดและเสื้อยืดเปนคนแรกและคนสุดทาย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2. ลูกคาเขาหางเปนลําดับที่เทาใดจึงจะไดรับคูปองสวนลดเปนคนสุดทาย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3. ถานักเรียนเขาหางเปนคนที่ 295 นักเรียนจะไดรับแจกของขวัญอะไรหรือไม เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
คําตอบกิจกรรม แจกแลวแจกอีก
1. เนื่องจากลูกคาที่จะไดรับคูปองสวนลด 10% ไดแก ลูกคาที่อยูในลําดับที่ 7, 14, 21, … , 280,
287, 294 หรือลูกคาที่อยูในลําดับที่ 8, 16, 24, … , 280, 288, 296
ลูกคาที่จะไดรับเสื้อยืด ไดแก ลูกคาที่อยูในลําดับที่ 10, 20, 30, … , 280, 290, 300
แนวคิด
1) หาลูกคาที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด
หา ค.ร.น.ของ 7 และ 10 จะได 70
หา ค.ร.น.ของ 8 และ 10 จะได 2× 4× 5 = 40
ดังนั้นลูกคาคนแรกที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด คือลูกคาคนที่ 40
2) หาลูกคาที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด
จํานวนนับที่นอยกวา 300 ที่ 70 หารลงตัวไดแก 70, 140, 210, และ 280
จํานวนนับที่นอยกวา 300 ที่ 40 หารลงตัวไดแก 40, 80, 120, 160, 200, 240 และ 280
ดังนั้นลูกคาคนสุดทายที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด คือลูกคาคนที่ 280
2. ลูกคาที่ไดรับคูปองสวนลดเปนคนสุดทาย คือคนที่ 296
3. ลูกคาคนที่เขาหางเปนลําดับที่ 295 จะไมไดรับแจกของขวัญ เพราะไมเปนลูกคาที่ไดรับแจกคูปอง
สวนลดในชุดของลําดับที่ 7, 14, 21, … หรือชุดของลําดับที่ 8, 16, 24, … และไมเปนลูกคาที่
ไดรับแจกเสื้อยืดซึ่งเขาหางเปนลําดับที่ 10, 20, 30, …

More Related Content

What's hot

[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
อนุชิต ไชยชมพู
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1kanjana2536
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
PumPui Oranuch
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
Patteera Praew
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
อนุชิต ไชยชมพู
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
sawed kodnara
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
Chokchai Taveecharoenpun
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
พัน พัน
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
Thidarat Termphon
 
ทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวนทฤษฎีจำนวน
3 25 2(1)
3 25 2(1)3 25 2(1)
3 25 2(1)
salakjit2554
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวนguest89040d
 

What's hot (20)

[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็ม
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
ทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวนทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวน
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
3 25 2(1)
3 25 2(1)3 25 2(1)
3 25 2(1)
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 

Similar to คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1

แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 

Similar to คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1 (20)

68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
การบวก
การบวกการบวก
การบวก
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 

คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1

  • 1. 1 บทที่ 1 สมบัติของจํานวนนับ (6 ชั่วโมง) 1.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช (4 ชั่วโมง) 1.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช (2 ชั่วโมง) เนื้อหาในบทเรียนนี้ จะเนนเฉพาะเรื่อง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. โดยเริ่มทบทวนในเรื่องที่เกี่ยวกับ การหารจํานวนนับที่เปนการหารลงตัว ตัวหารหรือตัวประกอบ ตัวประกอบรวม หรือตัวหารรวม จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะและการแยกตัวประกอบ เพื่อนําสมบัติไปใชในการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับตอไป ในบทเรียนนี้เนนการนํา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในการแกปญหา จึงจําเปนตองทบทวนวิธี การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ตัวอยางเอกสารแนะนําการจัดกิจกรรมที่จัดไวในแตละหัวขอ มีไวเพื่อนําเขาสูเนื้อหาสาระ เสริมเนื้อหาสาระ ฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ใหมีคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมที่ดีงาม ครูสามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสมและอาจปรับใชไดตามความตองการ ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับที่กําหนดใหได 2. ใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. แกปญหาได
  • 2. 2 แนวทางในการจัดการเรียนรู 1.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. หา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได 2. ใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. แกปญหาได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก – 1.1 ง ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก ครูอาจใชการถามตอบหรือครูอาจจัดทําเปนใบงานให นักเรียนทํากอน แลวจึงใชการถามตอบตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนอีกครั้งหนึ่ง เมื่อนักเรียนมี ความรูพื้นฐานแลวครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ข เพื่อทบทวนการแยกตัวประกอบ 2. ในการหาตัวประกอบของจํานวนนับที่กําหนดให นักเรียนอาจหาไดไมครบถวน ครูควร แนะนํานักเรียนใหพิจารณาจากตัวคูณสองจํานวนทุกคูที่มีผลคูณเทากับจํานวนนับนั้น เชน การหา ตัวประกอบของ 18 ทําไดดังนี้ หาจํานวนนับสองจํานวนที่คูณกันแลวได 18 โดยเริ่มจากตัวคูณ 1, 2, 3, … 1 × 18 = 18 2 × 9 = 18 3 × 6 = 18 4 × χ = χ ซึ่งไมมีจํานวนนับที่คูณกับ 4 ได 18 ครูอาจใชแผนภาพการจับคูจํานวนสองจํานวนที่คูณกันได 18 เพื่อชวยในการหาวายังมี จํานวนคูอื่นอีกหรือไมที่คูณกันได 18 ดังนี้ 1 2 3 4 χ 6 9 18 ไมมี
  • 3. 3 จากแผนภาพจะเห็นวาจํานวนนับที่อยูระหวาง 4 กับ 6 คือ 5 มีเพียงจํานวนเดียวและ 4 × 5 ไมเทากับ 18 ดังนั้นตัวประกอบของ 18 มีทั้งหมด 6 จํานวน ไดแก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18 3. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ค กอนใหนักเรียนทํากิจกรรมนี้ครูควรสนทนากับนักเรียน ถึงเรื่องการตัดไมทําลายปาซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดอุทกภัยทุกป ทําใหเราตองหาวิธีชวยเหลือผูประสบ อุทกภัยในเบื้องตน เชน แจกถุงยังชีพ 4. ปญหาการลอมรั้วที่ดินของชาวสวนในหนังสือเรียนที่นําเสนอไวนั้น เพื่อใหเกิดแนวคิด เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และการนําไปใช ครูอาจจําลองสถานการณใหนักเรียนลงมือปฏิบัติโดยใชฟวเจอรบอรด แทนบริเวณที่ดินและเข็มหมุดแทนเสาเพื่อชวยในการหาคําตอบ นอกจากนี้ครูอาจเลือกใชโจทยปญหา อื่น ๆ จากกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ง เพิ่มเติมก็ได 5. เมื่อนักเรียนไดเรียนรูวิธีหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปครบถวนทั้งสามวิธีแลว ควรแนะใหนักเรียนสํารวจตัวเองวาวิธีใดที่ตนเองถนัดและนําไปใชไดดี ในการทําแบบฝกหัด นักเรียน จะเลือกทําโดยวิธีใดก็ได 6. สําหรับตัวอยางที่ 6 – 8 ในหนังสือเรียน ครูควรใชคําถามประกอบการอธิบาย และชี้ให เห็นประโยชนของการนํา ห.ร.ม. มาใชในการแกปญหา เมื่อนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.1 ขอ 11 แลว ครูควรชวยใหนักเรียนสรุปไดวา เศษสวนใดเปนเศษสวนอยางต่ําก็ตอเมื่อ ห.ร.ม. ของตัวเศษและตัวสวน เปน 1 ซึ่งเปนบทนิยามของเศษสวนอยางต่ํา 1.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. หา ค.ร.น. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได 2. บอกความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนที่กําหนดใหได 3. ใชความรูเกี่ยวกับ ค.ร.น. แกปญหาได 4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก – 1.2 ค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูทบทวนความรูเดิมเกี่ยวกับตัวประกอบเพื่อใหนักเรียนเขาใจวาตัวประกอบของจํานวนนับใด ยอมหารจํานวนนับนั้นลงตัวดังนี้ 2 เปนตัวประกอบของ 6 หมายความวา 2 หาร 6 ลงตัว หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 6 หารดวย 2 ลงตัว
  • 4. 4 3 เปนตัวประกอบของ 15 หมายความวา 3 หาร 15 ลงตัว หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 15 หารดวย 3 ลงตัว 4 เปนตัวประกอบของ 16 หมายความวา 4 หาร 16 ลงตัว หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 16 หารดวย 4 ลงตัว 2. เพื่อใหนักเรียนเขาใจความหมายของพหุคูณ ครูสามารถใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก ประกอบการเรียนการสอน 3. ครูควรระวังเกี่ยวกับการใหความหมายของตัวประกอบและพหุคูณซึ่งใชถอยคําใกลเคียงกัน ดังนี้ ตัวประกอบของจํานวนนับใด คือ จํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นลงตัว พหุคูณของจํานวนนับใด คือ จํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับนั้นลงตัว จะเห็นวาขอความทั้งสองนั้นแตกตางกันที่พหุคูณของจํานวนนับมีคําวา หารดวย ครูตอง อธิบายอยางชัดเจนโดยอาจยกตัวอยางดังนี้ ตัวประกอบของ 12 มี 6 ตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 แตพหุคูณของ 12 มีมากมาย ไดแก 12, 24, 36, … 4. ปญหาน้ําพุกลางสวนในหนังสือเรียนนําเสนอไวเพื่อใหเห็นตัวอยางของการนํา ค.ร.น. ไปใช ครูควรใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหแนวคิดและหาขอสรุปใหไดวาเวลาที่น้ําพุทั้งสามวงพุงขึ้น พรอมกันคือ ค.ร.น. ของเวลาครบกําหนดที่น้ําพุแตละวงพุงขึ้น 5. เมื่อนักเรียนไดเรียนรูวิธีหา ค.ร.น. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปครบทั้งสามวิธี แลว ควรแนะใหนักเรียนสํารวจตัวเองวาวิธีใดที่ตนเองถนัดและนําไปใชไดดี ในการทําแบบฝกหัด 1.2 นักเรียนจะเลือกใชวิธีใดก็ได ครูอาจชี้ใหนักเรียนเห็นวาวิธีการแยกตัวประกอบและวิธีการตั้งหารเปนวิธีที่สามารถใชหา ไดทั้ง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 6. ครูควรใหนักเรียนทํากิจกรรมชวนคิดในหนังสือเรียนเพื่อใหสังเกตความสัมพันธระหวาง ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนกับผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนนั้น หลาย ๆ คู จากนั้นครูและนักเรียนชวยกันสรุปใหไดวาผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ สองจํานวนใด ๆ เทากับผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนนั้น ขอสรุปดังกลาวเขียนในรูปทั่วไปไดดังนี้ ถา a และ b เปนจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ (ห.ร.ม. ของ a และ b) × (ค.ร.น. ของ a และ b) = a × b
  • 5. 5 การพิสูจนความสัมพันธดังกลาวตองใชความรูในระดับสูง ในชั้นนี้ตองการเพียงใหนักเรียน รูจักและนําความสัมพันธดังกลาวนี้ไปใชได ครูควรใหนักเรียนทดลองหาความสัมพันธของจํานวนนับสามจํานวนใดๆ ตามแบบรูปของ ความสัมพันธขางตนแลวตรวจสอบดูวาความสัมพันธนั้นยังคงเปนจริงสําหรับกรณีสามจํานวนเสมอไป หรือไม นักเรียนควรสรุปไดวาไมเปนจริง 7. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข และ 1.2 ค นั้น ครูอาจเลือกใชเพื่อชี้ใหนักเรียนเห็น การนําความรูเรื่องสมบัติของจํานวนนับไปเชื่อมโยงกับความรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ คําตอบแบบฝกหัด คําตอบแบบฝกหัด 1.1 1. 1) 17 2) 1 3) 3 4) 1 2. 1 3. 17 4. 27 5. 34 6. 12 กอง ชนิดที่หนึ่งกองละ 4 ผล ชนิดที่สองกองละ 5 ผล ชนิดที่สามกองละ 7 ผล 7. 5 แถว แถวละ 32 คน 8. 120 แผน แตละแผนมีดานยาว 13 เซนติเมตร 9. 176 ตน 10. ตัดไดมากที่สุด 180 ผืน ตัดไดนอยที่สุด 5 ผืน ซึ่งมีแนวคิดดังนี้ หาตัวหารรวมของ 36 และ 180 จะได 2 , 4 , 6 , 8 , 10 , 12 , 18 และ 36 จากเงื่อนไขของ โจทยที่ตองตัดผาเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวไมต่ํากวา 5 เซนติเมตร ความยาวที่ใชได คือ 6 , 9 , 12 , 18 หรือ 36 เซนติเมตร ถาตองการตัดใหไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจํานวนมากที่สุด ตองตัดใหยาวดานละ 6 เซนติเมตร จะตัดได 180 ผืน และถาตองการตัดใหไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสนอยที่สุด ตองตัดใหยาวดานละ 36 เซนติเมตร จะตัดได 5 ผืน 11. 18 13 เปนเศษสวนอยางต่ําของ 108 78 เพราะวา ห.ร.ม. ของ 13 และ 18 คือ 1 12. ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองมากกวาหรือเทากับ 1 เสมอ เพราะวา
  • 6. 6 กรณีที่ 1 ถาจํานวนนับสองจํานวนนั้นมีตัวประกอบรวมเปน 1 เทานั้น ห.ร.ม. ของสองจํานวนนั้นตองเทากับ 1 กรณีที่ 2 ถาจํานวนนับสองจํานวนนั้นมีตัวประกอบรวมมากกวา 1 แลว ห.ร.ม. ของสองจํานวนนั้น ตองมากกวา 1 หรืออาจใหเหตุผลดังนี้ 1 เปนตัวหารรวมของจํานวนนับทุกจํานวน และ 1 เปนจํานวนนับที่นอยที่สุด ดังนั้น ห.ร.ม. หรือตัวหารรวมที่มากที่สุดของจํานวนนับสองจํานวนที่กําหนดใหจึงตองมากกวาหรือ เทากับ 1 คําตอบแบบฝกหัด 1.2 1. 1) 114 2) 377 3) 3657 4) 120 5) 2499 6) 1551 2. 1) 6 7 หรือ 1 6 1 2) 120 89 3) 48 11 3. 149 4. 180 ผล 5. เวลา 17.30 น. 6. ครั้งตอไปที่แมจะพบลูกพรอมกันสองคนดังนี้ แมพบสวยกับขําอีก 12 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 25 เมษายน แมพบสวยกับคมอีก 20 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 3 พฤษภาคม แมพบคมกับขําอีก 30 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 13 พฤษภาคม และพบลูกพรอมกันทั้งสามคนในวันที่ 12 มิถุนายน 7. ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองมากกวาหรือเทากับจํานวนใดจํานวนหนึ่งในสองจํานวน นั้นเสมอ เพราะวาแตละจํานวนตองหาร ค.ร.น. ไดลงตัว 8. เพราะวา ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองหารสองจํานวนนั้นลงตัวและสองจํานวนนั้น ตองหาร ค.ร.น. ของสองจํานวนนั้นลงตัวดวย ดังนั้น ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ หาร ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนนั้นไดลงตัวเสมอ
  • 7. 7 คําตอบปญหาชวนคิด 1. ห.ร.ม. ของ 6 และ 10 คือ 2 ค.ร.น. ของ 6 และ 10 คือ 30 2. 1) ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 2 × 30 = 60 2) ผลคูณของ 6 และ 10 คือ 6 × 10 = 60 3. ผลลัพธที่ไดในขอ 2 จากขอ 1) และ 2) เทากัน 4. ห.ร.ม. ของ 8 และ 28 คือ 4 ค.ร.น. ของ 8 และ 28 คือ 56 ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 8 × 28 = 224 ผลคูณของ 8 และ 28 คือ 8 × 28 = 224 5. กําหนด 15 และ 27 ห.ร.ม. ของ 15 และ 27 คือ 3 ค.ร.น. ของ 15 และ 27 คือ 135 ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 3 × 135 = 405 ผลคูณของ 15 และ 27 คือ 15 × 27 = 405 6. ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนเทากับผลคูณของจํานวนนับ สองจํานวนนั้น หรือ เมื่อ a และ b เปนจํานวนนับ (ห.ร.ม. ของ a และ b) × (ค.ร.น. ของ a และ b) = a × b 7. จํานวนสองจํานวนมี ห.ร.ม. เปน 6 ค.ร.น. เปน 72 จํานวนหนึ่งคือ 18 อีกจํานวนหนึ่ง คือ 24 8. 18 และ 24 มี ห.ร.ม. คือ 6 และ ค.ร.น. คือ 72 จริง
  • 9. 9 กิจกรรมนี้ครูอาจใชการถามตอบ เพื่อทบทวนความรูเกี่ยวกับตัวประกอบ ตัวประกอบรวม จํานวนคู จํานวนคี่ และจํานวนเฉพาะ กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก 1. ใหนักเรียนหาตัวประกอบทั้งหมดของจํานวนตอไปนี้ 1) 17 [1, 17] 2) 24 [1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 24] 3) 36 [1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18, 36] 4) 125 [1, 5, 25, 125] 2. จํานวนนับทุกจํานวนมี 1 เปนตัวประกอบใชหรือไม เพราะเหตุใด [ใช เพราะ 1 หารจํานวนนับทุกจํานวนลงตัว] 3. จํานวนนับทุกจํานวนมี 2 เปนตัวประกอบใชหรือไม เพราะเหตุใด [ไมใช เพราะมีตัวอยาง เชน 3 เปนจํานวนนับซึ่งไมมี 2 เปนตัวประกอบ] 4. จํานวนนับใดบางที่เปนตัวประกอบรวมของ 16 และ 20 [1, 2, 4] 5. ขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ 1) 8 เปนตัวประกอบของ 72 [จริง] 2) 7 เปนตัวประกอบของ 91 [จริง] 3) 3 ไมเปนตัวประกอบของ 45 [เท็จ] 4) ตัวประกอบของ 13 มีเพียง 2 ตัวเทานั้น [จริง] 5) 28 มีตัวประกอบทั้งหมด 7 ตัว [เท็จ] 6) 2 และ 3 เปนตัวประกอบของ 15 [เท็จ] 6. จงหาจํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีจํานวนทุกจํานวนในแตละขอตอไปนี้เปนตัวประกอบ 1) 1, 3, 4, 8 [24] 2) 1, 5, 7 [35] 7. จงหาวาขอความในขอใดเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาเปนเท็จใหบอกเหตุผลหรือยกตัวอยางคาน 1) จํานวนนับที่ลงทายดวย 0, 2, 4, 6 และ 8 ทุกจํานวนเปนจํานวนคู [จริง] 2) จํานวนนับที่ลงทายดวย 1, 3, 5, 7 และ 9 ทุกจํานวนเปนจํานวนคี่ [จริง]
  • 10. 10 3) จํานวนนับทุกจํานวนที่ 2 หารลงตัวเปนจํานวนคู [จริง] 4) จํานวนนับทุกจํานวนที่ 3 หารลงตัวเปนจํานวนคี่ [เท็จ เพราะมีตัวอยาง เชน 12 ซึ่ง 3 หารลงตัว แต 12 ไมเปนจํานวนคี่] 5) จํานวนคี่ทุกจํานวนมี 1 และตัวมันเองเทานั้นหารลงตัว [เท็จ เพราะมีตัวอยาง เชน 27 มี 1, 3, 9 และ 27 หารลงตัว] 6) ผลบวกของจํานวนคูสองจํานวนเปนจํานวนคู [จริง] 7) ผลคูณของจํานวนคูกับจํานวนคี่เปนจํานวนคู [จริง] 8) 48, 112, 215 เปนจํานวนคูทุกจํานวน [เท็จ เพราะ 215 เปนจํานวนคี่] 9) 302, 247, 121 มีจํานวนคี่สองจํานวน [จริง] 8. จงหาวาขอความในขอใดเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาเปนเท็จใหบอกเหตุผลหรือยกตัวอยางคาน 1) 3 เปนจํานวนเฉพาะที่นอยที่สุด [เท็จ เพราะยังมีจํานวนเฉพาะที่นอยกวา คือ 2] 2) จํานวนคี่ทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะ [เท็จ เพราะมีจํานวนคี่ที่ไมเปนจํานวนเฉพาะ เชน 9] 3) 1 ไมใชจํานวนเฉพาะ [จริง] 4) ไมมีจํานวนคูจํานวนใดเปนจํานวนเฉพาะ [เท็จ เพราะ 2 เปนจํานวนคู และ 2 เปนจํานวนเฉพาะ] 5) จํานวนเฉพาะที่มากที่สุดแตนอยกวา 30 คือ 29 [จริง] 6) 5 × 7 เปนจํานวนเฉพาะ [เท็จ เพราะ 5 × 7 ยังมีตัวประกอบที่ไมใช 1 และไมใชตัวของมันเอง คือ 5 และ 7] 9. จงหาจํานวนที่มีสองหลักและเปนจํานวนเฉพาะที่มากที่สุด [97] 10. จงหาจํานวนที่มีสามหลักและเปนจํานวนเฉพาะที่นอยที่สุด [101] 11. จงหาจํานวนเฉพาะที่อยูระหวาง 40 ถึง 60 [41, 43, 47, 53 และ 59] 12. จงหาจํานวนเฉพาะสามจํานวนแรกที่มากกวา 200 [211, 223 และ 227] 13. ถา a และ b เปนจํานวนเฉพาะที่ a ≠ b จํานวนนับที่หารทั้ง a และ b ไดลงตัว คือจํานวนใด [1]
  • 11. 11 กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ข 1. จงหาจํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีตัวประกอบเฉพาะไมซ้ํากัน 4 ตัว [จํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีตัวประกอบเฉพาะไมซ้ํากัน 4 ตัว คือ 210 210 ไดจาก 2 × 3 × 5 × 7] 2. จงแยกตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้ 1) 189 [189 = 3 × 3 × 3 × 7] 2) 333 [333 = 3 × 3 × 37] 3) 735 [735 = 3 × 5 × 7 × 7] 4) 1,155 [1155 = 3 × 5 × 7 × 11] 5) 1,350 [1350 = 2 × 3 × 3 × 3 × 5 × 5] 6) 9,009 [9009 = 3 × 3 × 7 × 11 × 13] กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ค สื่อการเรียนรู ใบกิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน แนวการจัดกิจกรรม 1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงการจัดสิ่งของเปนถุงหรือเปนกองเพื่อใหนักเรียนเห็นแนวคิดใน การใชตัวประกอบรวม เชน มีมะมวง 12 ผล และมังคุด 18 ผล จะจัดใสจานไดอยางไรบางโดยให แตละจานมีจํานวนผลไมแตละชนิดเทากัน และไมมีผลไมเหลืออยู กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นการใชความรูเกี่ยวกับตัวประกอบรวมและใหเห็น สถานการณของปญหาที่เชื่อมโยงถึงเรื่องที่จะสรางเสริมคุณธรรมใหแกนักเรียน กิจกรรมนี้ครูอาจใชเพื่อทบทวนการแยกตัวประกอบ
  • 12. 12 2. ครูแจกใบกิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน ใหนักเรียนทําเปนงานกลุม กอนใหทํากิจกรรมนี้ ครูควรสนทนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการชวยเหลือสังคมในเรื่องอื่น ๆ เพื่อกระตุนใหนักเรียนรูสึกถึงการมี น้ําใจทํางานเพื่อสังคม 3. หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมแลว ควรใหมีการนําเสนอแนวคิดและวิธีการแกปญหาของ แตละกลุมและอภิปรายถึงความเหมาะสมของการจัดสิ่งของมอบใหหมูบาน 4. หลังจากนักเรียนนําเสนอแลวใหครูใชคําถามเพิ่มเติมวา ถาในการจัดของไปบริจาคครั้งนี้ ตองการจัดใหไดจํานวนหมูบานมากที่สุด จะจัดไดกี่หมูบาน นักเรียนของโรงเรียนแหงหนึ่งชวยครูจัดสิ่งของที่ไดรับบริจาคเพื่อนําไปชวยเหลือหมูบานที่ ประสบอุทกภัยในจังหวัดหนึ่ง รายการสิ่งของที่ไดรับบริจาคมีดังนี้ ผาหม จํานวน 120 ผืน ปลากระปอง จํานวน 150 โหล ผักกาดดองกระปอง จํานวน 840 กระปอง บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป จํานวน 600 กลอง ขาวสารถุงละ 5 กิโลกรัม จํานวน 480 ถุง ถาตองการจัดสิ่งของเหลานี้เปนกองเพื่อมอบใหแตละหมูบาน แตละกองมีของครบทุกชนิดและ แตละชนิดมีจํานวนเทากันโดยไมมีสิ่งของเหลืออยู นักเรียนจะมีวิธีการจัดสิ่งของไดกี่วิธี คําตอบกิจกรรม เพื่อนชวยเพื่อน เนื่องจากตัวประกอบของ 120, 150, 840, 600 และ 480 ไดแก 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ 30 ดังนั้นนักเรียนจะมีวิธีการจัดสิ่งของ ใหแตละหมูบานไดของครบทุกชนิดและแตละชนิดมีจํานวน เทากันโดยไมมีสิ่งของเหลืออยูไดทั้งหมด 8 วิธีดังนี้ เพื่อนชวยเพื่อน
  • 13. 13 ตัดเชือก กิจกรรมตอไปนี้นําเสนอใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติเพื่อใหเกิดแนวคิดเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ นําความรูเรื่อง ห.ร.ม. ไปแกปญหาหรือสถานการณตาง ๆ ครูอาจใหนักเรียนทําทั้งหมดหรือ ทําบางกิจกรรมก็ได ผาหม (ผืน) ปลากระปอง (โหล) ผักกาดดอง กระปอง (กระปอง) บะหมี่ กึ่งสําเร็จรูป (กลอง) ขาวสารถุงละ 5 กิโลกรัม (ถุง) 1. จัดให 1 หมูบาน 2. จัดให 2 หมูบาน 3. จัดให 3 หมูบาน 4. จัดให 5 หมูบาน 5. จัดให 6 หมูบาน 6. จัดให 10 หมูบาน 7. จัดให 15 หมูบาน 8. จัดให 30 หมูบาน 120 60 40 24 20 12 8 4 150 75 50 30 25 15 10 5 840 420 280 168 140 84 56 28 600 300 200 120 100 60 40 20 480 240 160 96 80 48 32 16 กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ง สื่อการเรียนรู เชือกฟางสามเสนยาว 28 เซนติเมตร 36 เซนติเมตร และ 48 เซนติเมตร กรรไกร และไมบรรทัด คําสั่ง ใหนักเรียนชวยกันหาวิธีตัดเชือกทั้งสามเสนออกเปนทอนสั้นๆ โดยใหทุกทอนยาวเทากัน เปนจํานวนเต็มเซนติเมตรและไมเหลือเศษ จงหาวา 1. จะตัดเชือกไดอยางไรบาง 2. ถาตองการใหเชือกแตละทอนยาวที่สุดจะไดเชือกกี่ทอน แตละทอนยาว กี่เซนติเมตร วิธีที่ สิ่งของที่แตละหมูบาน จะไดรับ
  • 14. 14 ตัดกระดาษ คําตอบกิจกรรม ตัดเชือก 1. ตัดเชือกได 3 แบบ 1) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 1 เซนติเมตร จะตัดได 112 ทอน 2) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 2 เซนติเมตร จะตัดได 56 ทอน 3) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 4 เซนติเมตร จะตัดได 28 ทอน 2. ถาตองการใหเชือกแตละทอนยาวที่สุดจะตัดเชือกไดทั้งหมด 28 ทอน แตละทอนยาว 4 เซนติเมตร สื่อการเรียนรู กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดกวาง 32 เซนติเมตร ยาว 56 เซนติเมตร คําสั่ง ใหนักเรียนชวยกันหาวิธีตัดกระดาษออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเทาๆ กันดวยความยาว ของดานเปนจํานวนเต็มเซนติเมตรโดยไมเหลือเศษ จงหาวา 1. จะตัดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสไดขนาดเทาใดบาง 2. ถาตองการตัดใหเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดใหญที่สุด โดยไมใหเหลือเศษ จะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมดกี่รูป แตละรูปมีดานยาวกี่เซนติเมตร คําตอบกิจกรรม ตัดกระดาษ 1. ตัดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสได 4 แบบ 1) ถาตัดใหมีดานยาว 1 เซนติเมตร จะตัดได 1,792 รูป 2) ถาตัดใหมีดานยาว 2 เซนติเมตร จะตัดได 448 รูป 3) ถาตัดใหมีดานยาว 4 เซนติเมตร จะตัดได 112 รูป 4) ถาตัดใหมีดานยาว 8 เซนติเมตร จะตัดได 28 รูป 2. ถาตองการตัดใหเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดใหญที่สุด จะตองตัดใหมีดานยาวดานละ 8 เซนติเมตร และตัดได 28 รูป
  • 15. 15 จัดยางรัดใสถุง สื่อการเรียนรู ยางรัดสีเขียว 48 เสน ยางรัดสีแดง 72 เสน และยางรัดสีเนื้อ 192 เสน คําสั่ง ใหนักเรียนชวยกันจัดยางรัดใสถุง ถุงละเทาๆ กันโดยไมใหเหลือเศษ ใหแตละถุงมียางรัด ครบทุกสีและแตละสีมีจํานวนเทากันดวย จงหาวา 1. ถาตองการใหไดจํานวนถุงมากที่สุดจะจัดไดกี่ถุง แตละถุงจะมียางรัดทั้งหมดกี่เสน และแตละสีมีอยางละกี่เสน 2. ถาตองการใหในแตละถุงมีจํานวนยางรัดมากที่สุด จะจัดไดกี่ถุง และแตละ ถุงจะมียางรัดกี่เสน คําตอบกิจกรรม จัดยางรัดใสถุง 1. ถาตองการใหไดจํานวนถุงมากที่สุดจะจัดได 24 ถุง แตละถุงมียางรัดทั้งหมด 13 เสน มี สีเขียว 2 เสน สีแดง 3 เสน และสีเนื้อ 8 เสน 2. ถาตองการใหในแตละถุงมีจํานวนยางรัดมากที่สุดจะจัดได 1 ถุง และในถุงมียางรัด 312 เสน กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก แนวการจัดกิจกรรม 1. ครูอาจใหนักเรียนทองสูตรคูณแม 2, 3, 4 และ 5 พรอมกันหนึ่งรอบ จากนั้นครูเขียน สูตรคูณดังกลาวบนกระดานตามแบบรูปดังนี้ 2 × 1 2 × 2 2 × 3 2 × 4 2 × 5 … 3 × 1 3 × 2 3 × 3 3 × 4 3 × 5 … 4 × 1 4 × 2 4 × 3 4 × 4 4 × 5 … 5 × 1 5 × 2 5 × 3 5 × 4 5 × 5 … กิจกรรมนี้นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับพหุคูณของจํานวนนับ โดยสังเกตจาก แบบรูปของสูตรคูณที่นักเรียนคุนเคยมาแลว พหุคูณ
  • 16. 16 2. ครูใชคําถามใหนักเรียนสังเกตวาจํานวนในแถวที่ 1 ซึ่งเปนสูตรคูณของแม 2 แตละ จํานวนไดมาอยางไร (นักเรียนควรตอบไดวา ไดมาจากการคูณของ 2 กับจํานวนนับตั้งแต 1 ขึ้นไป) ครูแนะนําวาแตละจํานวนนั้นคือ พหุคูณของ 2 พรอมทั้งเขียนคําวา “เปนพหุคูณของ 2” หลังแถวที่ 1 ดังนี้ 2 × 1 2 × 2 2 × 3 2 × 4 2 × 5 … เปนพหุคูณของ 2 3. ครูใหนักเรียนสังเกตจํานวนในแถวตอไปวามีลักษณะเชนเดียวกับจํานวนในแถวที่ 1 หรือไม และควรเรียกจํานวนในแตละแถววาอยางไร (นักเรียนควรตอบไดวา แถวที่ 2, 3 และ 4 เปน พหุคูณของ 3 พหุคูณของ 4 และพหุคูณของ 5 ตามลําดับ) ใหครูเขียนคําวา เปนพหุคูณของ 3, 4 และ 5 ตามคําบอกของนักเรียนไวหลังแถวเชนเดียวกับแถวที่ 1 4. ครูใชการถามตอบ ใหนักเรียนไดสังเกตเห็นวาจํานวนที่เปนพหุคูณของจํานวนนับจะตอง หารดวยจํานวนนับนั้นไดลงตัว โดยใชคําถามในทํานองตอไปนี้ 1) 2 หารจํานวนทุกจํานวนที่เปนพหุคูณของ 2 ลงตัวหรือไม 2) 2 เปนตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่เปนพหุคูณของ 2 ใชหรือไม 3) จํานวนทุกจํานวนที่หารดวย 2 ลงตัวเปนพหุคูณของ 2 ใชหรือไม ครูใชคําถามในทํานองเดียวกันนี้กับพหุคูณของจํานวนนับอื่น ๆ อีก 2 – 3 คําถาม เพื่อให นักเรียนสรุปไดวา จํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับที่กําหนดใหลงตัว เรียกวาพหุคูณของจํานวนนับ ที่กําหนดใหนั้น ในทางคณิตศาสตรมีบทนิยามสําหรับพหุคูณของ a เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ ดังนี้ บทนิยาม พหุคูณของ a เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ คือ จํานวนในรูป ma เมื่อ m เปนจํานวนเต็ม ดังนั้นถาใชบทนิยามโดยตรง พหุคูณของ a คือ 0 × a, 1 × a, 2 × a, … และ -1 × a, -2 × a, -3 × a … เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ แตในบทเรียนระดับนี้ เราจํากัดขอบเขตไวเฉพาะจํานวนนับ ดังนั้นพหุคูณของ 2 คือ 1 × 2, 2 × 2, 3 × 2, 4 × 2, … และเมื่อใชสมบัติการสลับที่จะไดสูตรคูณ ในแบบรูปของกิจกรรมนี้เปน 2 × 1, 2 × 2, 2 × 3, 2 × 4, … ความรูเกี่ยวกับบทนิยามขางตนนี้ ครูไมจําเปนตองใหนักเรียนรู ในที่นี้เพิ่มเติมไวสําหรับครู
  • 17. 17 กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข กิจกรรมนี้ครูอาจใชเพื่อใหนักเรียนไดเห็นการนําสมบัติของจํานวนนับมาประยุกตเปนกิจกรรม และไดเชื่อมโยงความรูคณิตศาสตรกับความรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่น พรรณไมบานเรา สื่อการเรียนรู บัตรสีตาง ๆ 4 สี ในตัวอยางนี้สมมติในหองเรียนมีนักเรียน 50 คน จัดเตรียมบัตรสีตาง ๆ 50 ใบ ดังนี้ บัตรสีแดงมีจํานวน 14 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22, 24, 26 และ 28 บัตรสีเขียวมีจํานวน 12 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 1, 3, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17, 19, 21 และ 23 บัตรสีน้ําเงินมีจํานวน 10 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45 และ 50 บัตรสีชมพูมีจํานวน 14 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, 30, 33, 36, 39 และ 42 แนวการจัดกิจกรรม 1. ครูแจกบัตรสี 1 ใบใหนักเรียนแตละคนโดยไมเจาะจงสีและหมายเลขบัตร 2. ใหนักเรียนแยกเขากลุมตามสีของบัตร อาจใหยืนเปนกลุมก็ได 3. ใหนักเรียนในแตละกลุมอภิปรายกันถึงจํานวนบนบัตรที่แตละคนไดรับวาครูแบงกลุมโดย ใชความรูหรือหลักเกณฑอยางไร ซึ่งนักเรียนควรสรุปไดวา บนบัตรสีแดงเปนจํานวนคูหรือเปนจํานวน ซึ่งเปนพหุคูณของ 2 บนบัตรสีเขียวเปนจํานวนคี่ บนบัตรสีน้ําเงินเปนจํานวนซึ่งเปนพหุคูณของ 5 บนบัตรสีชมพูเปนจํานวนซึ่งเปนพหุคูณของ 3 จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาวา 1) ระหวางกลุมบัตรสีตาง ๆ มีบัตรซึ่งแสดงจํานวนเดียวกันอยางนอย 1 จํานวนบาง หรือไม
  • 18. 18 [กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีน้ําเงิน มีจํานวนซ้ํากันคือ 10 และ 20 กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 6, 12, 18 และ 24 กลุมบัตรสีเขียวกับกลุมบัตรสีน้ําเงิน มีจํานวนซ้ํากันคือ 5 และ 15 กลุมบัตรสีเขียวกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 3, 9, 15 และ 21 กลุมบัตรสีน้ําเงินกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 15 และ 30 กลุมบัตรสีเขียว บัตรสีน้ําเงิน และบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 15 ] 2) กลุมบัตรสีใดบางที่มีจํานวนบนบัตรไมซ้ํากับกลุมสีอื่น [กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีเขียว] คําตอบของทั้งสองขอนี้จะนําไปใชในกิจกรรมตอนตอไป 4. ใหนักเรียนในแตละกลุมบัตรสีชวยกันรวบรวมรายชื่อพรรณไมบานเรา ดังนี้ บัตรสีแดง รวบรวมชื่อ ไมดอก บัตรสีเขียว รวบรวมชื่อ ไมผล บัตรสีน้ําเงิน รวบรวมชื่อ ไมเลื้อย บัตรสีชมพู รวบรวมชื่อ ไมประดับ ถาครูเห็นวานักเรียนหาชื่อพรรณไมไดชาเกินไป ครูอาจแจกใบรายชื่อพรรณไมบานเรา ดังตัวอยางขางลางนี้ ใหนักเรียนเลือกชื่อและบันทึกเปนของกลุม แลวใหแตละกลุมนําเสนอรายชื่อ พรรณไมบนกระดานดําในเวลา 10 นาที รายชื่อพรรณไมบานเรา กุหลาบ มะมวง องุน ปาริชาต ฟกทอง โกสน แตงโม พวงผกา ไทร เสนหจันทน เล็บมือนาง เสาวรส ทุเรียน กระดุมทอง เล็บครุฑ ชมพู กลวย อัญชัน สุพรรณิการ จําปา จําป ตําลึง สลิด (ขจร) ฤๅษีผสม มะดัน เฟองฟา นอยหนา พลูฉีก พลูดาง มังคุด มะขวิด มะเฟอง ลดาวัลย ถั่วฝกยาว มะเขือ พวงแสด มะปราง บัวหลวง เข็ม ตีนตุกแก โมก มะไฟ มะยม เข็ม พลับพลึง บานบุรี พวงชมพู แตงไทย พวงคราม มะตูม ปบ พุทรา ผักบุงไทย บานเชา ผักบุงทะเล บานชื่น มะลิ ลําไย กระทอน รางเงิน บอน ตีนเปด สมจี๊ด บวบ พุทธรักษา ละมุด ไมยราบ มะกอก ราชาวดี วานสี่ทิศ เศรษฐีเรือนนอก ปรง พริกไทย มะพราว เงาะ เฟรน บานชื่น
  • 19. 19 5. จากนั้นใหนักเรียนสังเกตรายชื่อที่รวบรวมไดของทุกกลุมแลวพิจารณาวา 1) กลุมบัตรสีใดบางที่มีรายชื่อพรรณไมซ้ํากัน 2) กลุมบัตรสีใดบางที่ไมมีรายชื่อพรรณไมซ้ํากันเลย ครูใหนักเรียนอภิปรายและเปรียบเทียบดูวา จํานวนบนบัตรของกลุมสีที่มีจํานวนซ้ํากัน มีความสัมพันธกับชื่อพรรณไมที่กลุมเหลานั้นรวบรวมมาอยางไร เชน เมื่อพิจารณาจํานวนบนบัตรสี แดงและจํานวนบนบัตรสีน้ําเงินจะเห็นวามีจํานวนที่ซ้ํากันคือ 10 และ 20 และเมื่อพิจารณารายชื่อ พรรณไมที่สองกลุมนี้รวบรวมมาจะพบวามีชื่อพรรณไมที่ซ้ํากัน เชน อัญชัน เล็บมือนาง พลับพลึง ฯลฯ เชนกัน ระหวางกลุมบัตรสีที่ไมมีจํานวนซ้ํากันก็จะไมมีชื่อพรรณไมซ้ํากันดวยเชนกัน คําตอบกิจกรรม พรรณไมบานเรา ตัวอยางคําตอบของแตละกลุมที่จะนําเสนออาจมีดังนี้ ไมดอก ไมผล ไมเลื้อย ไมประดับ กุหลาบ ปาริชาต พวงผกา เล็บมือนาง จําปา จําป สุพรรณิการ โมก ราชาวดี อัญชัน ลดาวัลย เฟองฟา บัวหลวง พวงแสด พลับพลึง เข็ม ปบ มะมวง องุน แตงโม มังคุด เสาวรส ทุเรียน นอยหนา กลวย ชมพู มะขวิด มะตูม มะดัน มะกอก มะเฟอง มะไฟ มะยม มะปราง ฟกทอง องุน แตงโม เล็บมือนาง เสาวรส กระดุมทอง พลูดาง พลูฉีก ถั่วฝกยาว อัญชัน ลดาวัลย เฟองฟา สลิด (ขจร) พวงแสด ตําลึง ไมยราบ ตีนตุกแก กุหลาบ โกสน เสนหจันทน เล็บมือนาง ไทร กระดุมทอง พลูดาง พลูฉีก เล็บครุฑ อัญชัน ฤๅษีผสม เฟองฟา บัวหลวง พวงแสด พลับพลึง เข็ม ตีนตุกแก
  • 20. 20 แจกแลวแจกอีก ไมดอก ไมผล ไมเลื้อย ไมประดับ บานบุรี วานสี่ทิศ มะลิ พวงคราม บานเชา บานชื่น พวงชมพู พุทธรักษา พุทรา เงาะ แตงไทย กระทอน ละมุด ลําไย มะพราว สมจี๊ด บานบุรี พวงชมพู แตงไทย พวงคราม ผักบุงไทย ผักบุงทะเล พริกไทย บวบ รางเงิน วานสี่ทิศ บอน เศรษฐีเรือนนอก ปรง เฟรน ตีนเปด สมจี๊ด กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ค ใหนักเรียนศึกษาปญหาตอไปนี้แลวตอบคําถามและแสดงแนวคิดในชองวางที่กําหนดให กิจกรรมนี้นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดฝกการสังเกต คนหาความสัมพันธ และนําความรู เกี่ยวกับ ค.ร.น. ไปใชในการแกปญหา ในชวงเทศกาลปใหม หางสรรพสินคาแหงหนึ่งตองการแจกของขวัญสําหรับลูกคาที่ เขาหาง 300 คนแรกในแตละวัน โดยมีกติกาการแจกของขวัญดังนี้ แจกคูปองสวนลด 10% สําหรับลูกคาที่เขาหางซื้อสินคาเปนลําดับที่ 7, 14, 21, … หรืออยูในลําดับที่ 8, 16, 24 , … แจกเสื้อยืด 1 ตัว แกลูกคาที่เขาหางเปนลําดับที่ 10, 20, 30, …
  • 21. 21 1. ลูกคาเขาหางเปนลําดับที่เทาใดจึงจะไดรับทั้งคูปองสวนลดและเสื้อยืดเปนคนแรกและคนสุดทาย ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. ลูกคาเขาหางเปนลําดับที่เทาใดจึงจะไดรับคูปองสวนลดเปนคนสุดทาย ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3. ถานักเรียนเขาหางเปนคนที่ 295 นักเรียนจะไดรับแจกของขวัญอะไรหรือไม เพราะเหตุใด ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… คําตอบกิจกรรม แจกแลวแจกอีก 1. เนื่องจากลูกคาที่จะไดรับคูปองสวนลด 10% ไดแก ลูกคาที่อยูในลําดับที่ 7, 14, 21, … , 280, 287, 294 หรือลูกคาที่อยูในลําดับที่ 8, 16, 24, … , 280, 288, 296 ลูกคาที่จะไดรับเสื้อยืด ไดแก ลูกคาที่อยูในลําดับที่ 10, 20, 30, … , 280, 290, 300 แนวคิด 1) หาลูกคาที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด หา ค.ร.น.ของ 7 และ 10 จะได 70 หา ค.ร.น.ของ 8 และ 10 จะได 2× 4× 5 = 40 ดังนั้นลูกคาคนแรกที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด คือลูกคาคนที่ 40 2) หาลูกคาที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด จํานวนนับที่นอยกวา 300 ที่ 70 หารลงตัวไดแก 70, 140, 210, และ 280 จํานวนนับที่นอยกวา 300 ที่ 40 หารลงตัวไดแก 40, 80, 120, 160, 200, 240 และ 280 ดังนั้นลูกคาคนสุดทายที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด คือลูกคาคนที่ 280 2. ลูกคาที่ไดรับคูปองสวนลดเปนคนสุดทาย คือคนที่ 296 3. ลูกคาคนที่เขาหางเปนลําดับที่ 295 จะไมไดรับแจกของขวัญ เพราะไมเปนลูกคาที่ไดรับแจกคูปอง สวนลดในชุดของลําดับที่ 7, 14, 21, … หรือชุดของลําดับที่ 8, 16, 24, … และไมเปนลูกคาที่ ไดรับแจกเสื้อยืดซึ่งเขาหางเปนลําดับที่ 10, 20, 30, …