SlideShare a Scribd company logo
1
บทที่ 1
จํานวนจริง (Real Numbers)
1.1 จํานวนจริง
การศึกษาการวิเคราะหเชิงจริง เราตองมีความรูเกี่ยวกับสมบัติของจํานวนจริง ในที่นี้เราจะ
กําหนดใหสมบัติของจํานวนจริงบางประการเปนสัจพจน และพิสูจนสมบัติอื่นๆของจํานวนจริงโดยใช
สัจพจนเหลานี้
กอนที่จะใหสัจพจน ขอทบทวนเกี่ยวกับจํานวนธรรมชาติ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และ
จํานวนจริงในสวนที่เราคุนเคยมาแลว
จํานวนธรรมชาติ (natural numbers)
ให N แทนเซตของจํานวนธรรมชาติ ซึ่งประกอบดวย
1, 2, 3, 4, …
ดังนั้น { },...3,2,1N = โดยที่ แตละ Nn∈ จะมี ตัวตามหลัง (successor) เปน 1n + เชนตัวตามหลัง
ของ 1 คือ 2 ตัวตามหลังของ 2 คือ 3 เปนตน
สมบัติที่เดนชัดของ N คือ สัจพจนเปอาโน (Peano’s Axiom or Peano’s Postulate) คิดโดย จู
เซปเป เปอาโน (Giuseppe Peano ค.ศ. 1858-1932) เปนนักคณิตศาสตรชาวอิตาเลียน สัจพจนเปอาโน
5 ขอ กลาวไวดังนี้
1N 1 เปนจํานวนธรรมชาติ
2N ถา n เปนจํานวนธรรมชาติแลว ตัวตามหลังของ n เปนจํานวนธรรมชาติ
3N ถา m และ n เปนจํานวนธรรมชาติที่มีตัวตามหลังเปนตัวเดียวกันแลว nm =
4N ถา n เปนจํานวนธรรมชาติ และ 1n ≠ แลว n เปนตัวตามหลังของจํานวนธรรมชาติ
จํานวนหนึ่ง นั่นคือ ถา Nn∈ และ 1n ≠ แลวจะมี Nm∈ ซึ่ง 1mn +=
5N ถา NS ⊂ ซึ่งมีสมบัติวา
ก. S1∈
2
และ ข. ทุก Nk ∈ ถา Sk ∈ แลว S1k ∈+
แลว NS =
เราเรียกสัจพจน 5N วา หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร(principle of mathematical induction) ซึ่ง
นําไปใชพิสูจนขอความในแบบ ( )"nP,Nn" ∈∀ เมื่อ ( )nP แทนขอความเชิงคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับ
n โดยให { }: ( )S n N P n= ∈ ถาแสดงไดวา
1. ( )1P เปนจริง และ
2. ทุก Nk ∈ ถา ( )kP เปนจริงแลว ( )1kP + เปนจริง
แลวสรุปไดวา ( )nP เปนจริงทุก n N∈
มีการดําเนินการทวิภาคบน N คือ การบวก “+” และการคูณ “ .” ของ m และn อยูใน N ซึ่งจะ
เขียน n m+ และ .m n (หรือ mn ) ตามลําดับ มีความสัมพันธอันดับ มากกวา “>” โดยเขียนแทน m n>
(อานวา เอ็มมากกวาเอ็น)
จํานวนเต็ม (integers)
จากเซตของจํานวนธรรมชาติ มีการสรางเซตของจํานวนเต็มเพื่อใหเกิดการลบ (นั่นคือมีคําตอบ
ของสมการในรูป mnx =+ เมื่อกําหนด ,n m N∈ )
ให Z (หรือ I ) แทนเซตของจํานวนเต็ม ซึ่งประกอบดวย
, 3 , 2 , 1 ,0 ,1 ,2 ,3,… − − − …
ดังนั้น { }, 3 , 2 , 1 ,0 ,1 ,2 ,3,Z =… − − − …
และเห็นไดชัดวา N Z⊂ ซึ่งบางครั้งเราจะเรียก N วาเซตของจํานวนเต็มบวก
มีการดําเนินการทวิภาคบน Z คือ การบวกและการคูณ มีความสัมพันธอันดับ “มากกวา” โดยที่
สมบัติการบวก การคูณ และความสัมพันธอันดับใน N ยังคงเปนจํานวนจริงใน Z
จํานวนตรรกยะ (rational numbers)
เพื่อทําใหเกิดการหาร (นั่นคือมีคําตอบของสมการในรูป mxn = เมื่อกําหนด ,n m N∈ ) จึงมี
การสรางเซตของจํานวนตรรกยะขึ้น
3
ให Q แทนเซตของจํานวนตรรกยะ ไดวา : ,
m
Q m Z n N
n
 
= ∈ ∈ 
 
ซึ่ง จํานวนตรรกยะ คือจํานวนที่อยูในรูปเศษสวน
n
m
โดยที่ m Z∈ และ n N∈ และ N Z Q⊂ ⊂
การเทากันของสมาชิกของ N หรือ Z
กําหนดวา mn = หมายถึง m และ n เปนสิ่งเดียวกัน ขณะที่การเทากันของสมาชิกของ Q กําหนดวา
b
a
n
m
= ก็ตอเมื่อ anmb = สําหรับ ,m a Z∈ และ ,n b N∈
จํานวนจริง (real numbers)
ระบบจํานวนจริงสามารถสรางไดโดยเริ่มจากสัจพจนเปอาโน 5 ขอ สําหรับจํานวนธรรมชาติ แลว
สรางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนจริง การพัฒนาระบบจํานวนจริงจากจํานวนตรรกยะอยาง
เปนระบบที่สมบูรณ มีวิธีการซึ่งเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปอยู 2 วิธี คิดคนโดยคณิตศาสตรชาวเยอรมันนี
2 คน คือ ริคารด เดเดคินด(Richard Dedekind) ค.ศ. 1845-1918) และเกอรก คันทอร (Gerog Cantor
ค.ศ. 1931-1916)รายละเอียดของการพัฒนาระบบจํานวนจริงศึกษาไดจาก [9] ซึ่งจะไมกลาวในหนังสือ
เลมนี้ จากการพัฒนามาจนถึงจํานวนตรรกยะ พบวาไมมีจํานวนตรรกยะ r ซึ่ง 2r2
= การพิสูจน
ขอความนี้ใชสมบัติของจํานวนเต็มและพิสูจนโดยขอขัดแยง ดังนี้
สมมติวามีจํานวนตรรกยะ
n
m
ซึ่ง 2
n
m
2
=





โดยที่ m Z∈ และ n N∈ และตัวหารรวมมาก
(greatest commom divisor) ของ n และ m เทากับ 1 ดังนั้น 22
n2m = ไดวา m เปนจํานวนคู ให
k2m = สําหรับบางคา k Z∈ จะได 22
n2k2 = ดังนั้น 22
k2n = ไดวา n เปนจํานวนคูเพราะฉะนั้น
m และn มี 2 เปนตัวประกอบ ทําใหไดวาตัวหารรวมมากของ n และ m ไมเทากับ 1 เกิดขอความ
ขัดแยงกัน ดังนั้นไมมีจํานวนตรรกยะ r ซึ่ง 2r2
= เพื่อใหไดจํานวนซึ่งเปนคําตอบของสมการ 2x2
=
จึงเกิดจํานวนอตรรกยะ (irrational numbers) ซึ่งไมเปนจํานวนตรรกยะ และยูเนียนของเซตของจํานวน
ตรรกยะ และเซตของจํานวนอตรรกยะเปน เซตของจํานวนจริงเขียนแทนดวย R
ตอไปเราจะศึกษาโครงสรางและสมบัติบางประการของจํานวนจริง โดยสมมติวาเซตของจํานวน
จริง R มีสมบัติสอดคลองกับสัจพจน 3 กลุม คือ สัจพจนฟลด สัจพจนการเปนบวก และสัจพจนความ
บริบูรณ
4
สัจพจนฟลด (Field Axioms)
เซตของจํานวนจริงR มีการดําเนินการทวิภาคบน R ที่เรียกวา การบวกและการคูณ สําหรับ
จํานวนจริง a และ b การบวกของ a และ b เขียนแทนดวย ba + การคูณของ a และ b เขียนแทนดวย
ba ⋅ หรือ ab การบวกและการคูณสอดคลองกับสัจพจนฟลดดังนี้
1A แตละ a , Rb∈ abba +=+
2A แตละ a , Rb∈ ( ) ( )cbacba ++=++
3A มี R0 ∈ เพียงตัวเดียวเทานั้นที่ทําให aa00a =+=+ ทุก Ra ∈
4A แตละ Ra ∈ จะมี Rb∈ ซึ่งทําให 0ba =+ เขียนแทน b ดวย a− และเรียก a− วา
ตัวผกผันของ a ภายใตการบวก
1M แตละ a , Rb∈ baab =
2M แตละ a , Rb∈ ( ) ( )bcacab =
3M มี 1 R∈ เพียงตัวเดียวเทานั้นที่ทําให a1aa1 == ทุก Ra ∈
4M แตละ Ra ∈ และ 0a ≠ จะมี Rb∈ ซึ่งทําให 1ab = เขียนแทน b ดวย 1
a−
และ
เรียก 1
a−
วา ตัวผกผันของ a ภายใตการคูณ
1AM แตละ a , Rb∈ ( ) bcaccba +=+
ขอตกลง ให a , Rb∈ จะเขียน ba − แทน ( )ba −+ และเขียน
b
a
แทน 1
ab−
เมื่อ 0b ≠
จากสัจพจนฟลด เราสามารถพิสูจนสมบัติของจํานวนจริงภายใตการบวกและการคูณไดอีก
มากมาย เชน ( ) aa =−− , ( ) bb
11
=
−−
ถา 0b ≠ , ( ) ( )11
bb −−
−=− ถา 0b ≠ เปนตน
สัจพจนการบวก (Positivity Axiom)
สมมติวา R มีเซตยอย +
R เพียงเซตเดียวเทานั้นที่มีสมบัติ 2 ขอ ดังนี้
1P ถา +
∈ Ra และ +
∈ Rb แลว +
∈+ Rba และ +
∈ Rab
5
2P แตละ Ra∈ ขอความตอไปนี้เปนจริงพียงขอเดียวเทานั้น
i) +
∈ Ra ii) 0a = iii) +
∈− Ra
เราเรียกจํานวนจริงที่เปนสมาชิกของ +
R วา จํานวนจริงบวก ดังนั้น +
R เปนเซตของจํานวนจริงบวก
จากสัจพจนการเปนบวก จะนิยามความสัมพันธอันดับ “มากกวา” บน R ไดดังนี้
ให Rb,a ∈ เรากลาววา
a มากกวา b (เขียน ba > ) ก็ตอเมื่อ ba − เปนจํานวนจริงบวก
a มากกวาหรือเทากับ b (เขียน ba ≥ ) ก็ตอเมื่อ ba > หรือ ba =
a นอยกวา b (เขียน ba < ) ก็ตอเมื่อ b มากกวา a
a นอยกวาหรือเทากับ b (เขียน ba ≤ ) ก็ตอเมื่อ ba < หรือ ba =
ขอสังเกต ให Ra∈ ไดวา 0a > ก็ตอเมื่อ +
∈−= R0aa ดังนั้น { }0x|RxR >∈=+
และไดวา
0a < ก็ตอเมื่อ 0 a> ก็ตอเมื่อ +
∈−=− Ra0a ถาให { }+−
∈−∈= Ra|RaR แลว
{ }0x|RxR <∈=−
เรียกจํานวนจริงที่เปนสมาชิกของ −
R วา จํานวนจริงลบ ดังนั้น
{ } −+
∪∪= R0RR
จากสัจพจนฟลดและสัจพจนการเปนบวก ทําใหไดสมบัติของจํานวนจริงตามมาอีกมาก ซึ่งจะ
กลาวไวเฉพาะที่สําคัญหรือที่จะนําไปใชโดยไมตองพิสูจน
1. แตละ Rb,a ∈ ขอความตอไปนี้เปนจริงเพียงขอความเดียว
i) ba > ii) ba = iii) ba <
เราเรียกกฎนี้วา กฎไตรวิภาค (trichotomy law) สําหรับจํานวนจริง
2. แตละ Rc,b,a ∈ ถา ba > และ cb > แลว ca >
3. แตละ Rb,a ∈ ถา ba > แลว cbca +>+ ทุก Rc∈
4. แตละ Rb,a ∈ ถา ba > แลว ac bc> ทุก +
∈ Rc และ ac bc< ทุก −
∈ Rc
5. แตละ +
∈ Ra และ 0a ≠ ไดวา 0a2
>
6. แตละ +
∈ Ra ไดวา +−
∈ Ra 1
6
7. แตละ Rb,a ∈ ถา ba > แลวจะมี Rc∈ ซึ่ง bca >>
8. แตละ Ra ∈
8.1 ถา 1a > แลว 1aa2
>>
8.2 ถา 1a0 << แลว aa2
<
9. แตละ Rb,a ∈ ถา ba0 << แลว 22
ba <
แบบฝกหัด 1.1
1. จงหาคําตอบของ อสมการตอไปนี้
1.1 2
1 1
2 2 4x
<
+
1.2 2 3
4 2 1
x x
x x
+ −
>
+ −
1.3
2
2
4 7
3
1
x x
x
− −
≥
−
1.4 ( )
22
2 1x x≥ +
2. จงพิสูจนความสมเหตุสมผลของขอความพีชคณิตจํานวนตอไปนี้
สําหรับแตละจํานวนนับ n
2.1 ( ) 2
1 3 5 ... 2 1n n+ + + + − = 2.2
2
1 2 3 ...
2
n n
n
+
+ + + + =
2.3 2 2n
n ≤ 2.4 2 2n
n < เมื่อ 3n ≥
1.2 สัจพจนความบริบูรณ (Completeness Axiom)
ให RS ⊂ ถา { }1 2, ,..., nS x x x= เปนเซตจํากัด จะเห็นไดชัดวา S มี สมาชิก คาสูงสุด และ
สมาชิก คานอยสุดแตถา S เปนเซตอนันต อาจจะไมมี สมาชิก คาสูงสุด หรือ สมาชิก คานอยสุดก็ได
บทนิยาม 1.9 ให S Rφ ≠ ⊂ และ ,u l R∈ เรากลาววา
ก. u เปนขอบเขตบน (upper bound) ของ S ก็ตอเมื่อ x u≤ ทุก Sx∈
ข. l เปนขอบเขตลาง (lower bound) ของ S ก็ตอเมื่อ x l≥ ทุก Sx∈
ค. S เปนเซตมีขอบเขต(bounded set) ก็ตอเมื่อ S มีทั้งขอบเขตลางและขอบเขตบน
นั่นคือมี u R∈ ซึ่ง u เปนขอบเขตบน ของ S และมี l R∈ ซึ่ง l เปนขอบเขตลางของ S
ขอสังเกต จากนิยาม 1.9 ไดวา
S ไมมีขอบเขตบน ก็ตอเมื่อ ทุก u R∈ จะมี Sx∈ ซึ่ง x u>
7
S ไมมีขอบเขตลาง ก็ตอเมื่อ ทุก l R∈ จะมี Sx∈ ซึ่ง x l<
S ไมมีขอบเขต ก็ตอเมื่อ S ไมมีขอบเขตบน หรือ S ไมมีขอบเขตลาง
บทนิยาม 1.10 ให S Rφ ≠ ⊂ เรากลาววา
ก. จํานวนจริง a เปนคาสูงสุด(maximum) ของ S ก็ตอเมื่อ a S∈ และ a เปนขอบเขต
บนของ S และเขียนแทนดวย maxa S=
ข. จํานวนจริง b เปนคาต่ําสุด(minimum) ของ S ก็ตอเมื่อ b S∈ และ b เปนขอบเขต
ลางของ S และเขียนแทนดวย minb S=
ขอสังเกต ถา c เปนขอบเขตบนของ A แลว ทุกๆจํานวน x ซึ่ง x c≥ จะเปนขอบเขตบนของ A
และ ถา d เปนขอบเขตลางของ A แลว ทุกๆจํานวน y ซึ่ง y c≤ จะเปนขอบเขตลางของ A ดังนั้น
ขอบเขตบนและขอบเขตลางของ A มีจํานวนมากมาย
บทนิยาม 1.11 ให RS ⊂ และ φ≠S เรากลาววา
ก. จํานวนจริงM เปนขอบเขตบนนอยสุด(least upper bound or supremum) ของ S
ถา M เปนคาต่ําสุดของเซตของขอบเขตบนทั้งหมดของ S และเขียน SsupM =
นั่นคือ SsupM = ก็ตอเมื่อ 1. M เปนขอบเขตบนของ S
2. ถา y เปนขอบเขตบนใดๆของ S แลว My ≥
ข. จํานวนจริงm เปนขอบเขตลางมากสุด(greatest lower bound or infimum) ของ S
ถา m เปนคาสูงสุดของเซตของขอบเขตลางทั้งหมดของ S และเขียน Sinfm =
นั่นคือ Sinfm = ก็ตอเมื่อ 1. m เปนขอบเขตลางของ S
2. ถา y เปนขอบเขตลางใดๆของ S แลว my ≤
ถา S ไมมีขอบเขตบน แลวกําหนดให ∞=Ssup ในทํานองเดียวกัน ถา S ไมมีขอบเขตลาง
แลวกําหนดให −∞=Sinf
ขอสังเกต ให AU แทนเซตของขอบเขตบนทั้งหมดของ A และ AL แทนเซตของขอบเขตลาง
ทั้งหมดของ A จะเห็นไดวา min supAU A= และ max infAL A=
8
ตัวอยาง 1.1 ให { }[0,1) | 0 1A x R x= = ∈ ≤ < จงหาขอบเขตบน ขอบเขตลาง ขอบเขตบนคา
นอยสุดและขอบเขตลางคามากสุด ของ A
วิธีทํา ให x A∈ ไดวา 1x0 <≤
ดังนั้น x0 ≤ ทุก Ax∈ ไดวา 0 เปนขอบเขตลางของ A
และ 1x < ทุก Ax∈ ไดวา 1 เปนขอบเขตบนของ A
และไดวา ( ],0AL = −∞ และ [ )1,AU = ∞ ดังนั้น max 0 infAL A= = และ
min 1 supAU A= =
และไดวา 0 เปนคาต่ําสุดของ [0,1)A = เพราะวา A0 ∈ และ 0 เปนของเขตลางของ A
แต 1 ไมเปนคาสูงสุดของ Aเพราะวา 1 เปนขอบเขตบนของ A แต A1∉
สําหรับ S เปนเซตใดๆ ที่ φ≠S และ S มีขอบเขต แลว SU มีคาต่ําสุดเสมอ การพิสูจน
ขอความตอไปนี้ ไมสามารถทําไดโดยใชเพียงสัจพจนฟลดและสัจพจนการเปนบวก ดังนั้นเราจะให
ขอความดังกลาวเปนสัจพจน ซึ่งคือสัจพจนความบริบูรณ
สัจพจนความบริบูรณ กลาววา เซตยอยของ R ซึ่งไมเปนเซตวางและมีขอบเขตบน จะมีขอบเขตบน
นอยสุดเสมอ นั่นคือ ถา φ≠S และ S มีขอบเขตบนแลว S มีขอบเขตบนนอยสุดหรือ Ssup มีจริง
(exist)
ตัวอยาง 1.2 จงหา Ssup Sinf Smax และ Smin เมื่อกําหนดเซต S ดังตอไปนี้
ก. { }4x3|ZxS <<−∈=
ข. { }2x|RxS ≥∈=
วิธีทํา ก. ไดวา { }3,2,1,0,1,2S −−= ดังนั้น Smax3Ssup == และ Smin2Sinf =−=
ข. เนื่องจาก x2 ≤ ทุก Sx ∈ ดังนั้น 2 เปนขอบเขตลางของ S และถา y เปนขอบเขตลางของ
S แลว 2y ≤ ดังนั้น 2Sinf = และจาก S2 ∈ ดวย ดังนั้น 2Smin =
จะแสดงวา S ไมมีขอบเขตบนโดยพิสูจนแบบขัดแยง( Contradiction) สมมติวา S มีขอบเขต
บน ให RM ∈ ซึ่ง Mx ≤ ทุก Sx ∈ ดังนั้น 2M ≥ ไดวา 2M1M >>+ ดังนั้น
9
S1M ∈+ เพราะฉะนั้น M1M ≤+ ซึ่งเปนไปไมได ดังนั้น ที่สมมติวา S มีขอบเขตบนนั้นเปนเท็จ
ไดวา S ไมมีขอบเขตบน นั่นคือ S ไมมีขอบเขตบนนอยสุด และ S ไมมีคาสูงสุด
ทฤษฎีบท 1.1 ให RS ⊂ และ φ≠S ถาS มีขอบเขตลางแลว S มีขอบเขตลางมากสุด
พิสูจน ให φ≠S และให b เปนขอบเขตลางของ S
ให { }St|RtT ∈−∈= ดังนั้น φ≠T (เพราะวา φ≠S ดังนั้น มี Sx ∈ และ
( ) Sxx ∈−−= ดังนั้น Tx ∈− ) จะแสดงวา b− เปนขอบเขตบนของ T
ให Tt ∈ ดังนั้น St ∈− ไดวา tb −≤ (เพราะวา b เปนขอบเขตลางของ S ) นั่นคือ tb ≥−
ดังนั้น b− เปนขอบเขตบนของ T โดยสัจพจนความบริบูรณไดวา T มีขอบเขตบนนอยสุด ให Tsupc =
จะแสดงวา c− เปนขอบเขตลางมากสุดของ S ให Sx ∈ ดังนั้น Tx ∈− ไดวา c x≥ −
(เพราะวา c เปนขอบเขตบนของ T ) ดังนั้น xc ≤− ไดวา c− เปนขอบเขตลางของ S
ให y เปนขอบเขตลางใดๆของ S จะได y− เปนขอบเขตบนของ T จาก Tsupc = ไดวา
yc −≤ นั่นคือ yc ≥− ดังนั้น c− เปนขอบเขตลางมากสุดของ S
ทฤษฎีบท 1.2 ให RS ⊂ และ φ≠S และ S มีขอบเขตบนแลว สําหรับทุกจํานวนจริง 0>ε จะมี
Sa ∈ ซึ่งทําให sup supS a Sε− < ≤
พิสูจน โดยใชขอขัดแยง สมมติวามี 00 >ε ซึ่งทําให ทุก Sa ∈ ไดวา a0Ssup ≥ε− ถาเกิดกรณี
a0Ssup ≥ε− ทุก Sa ∈ แลว 0supS ε− เปนขอบเขตบนของ S ซึ่ง Ssup0Ssup <ε− เกิดขอ
ขัดแยง (เพราะวา Ssup เปนขอบเขตบนนอยสุดของ S และ Ssupa ≤ ทุก Sa ∈ ) ดังนั้นทุก 0>ε
จะมี Sa ∈ ซึ่งทําให SsupaSsup <<ε−
แบบฝกหัด 1.2
1. จงพิสูจนวา ไมมีจํานวนตรรกยะ r ซึ่ง 3r2
=
2. ให ( )b,aS = หรือ ]b,a( หรือ [ ]b,a หรือ )b,a[ เมื่อ Rb,a ∈ และ ba < จงแสดงวา
Sinfa = และ Ssupb =
3. ให ]a,(A −∞= หรือ ( )a,∞− เมื่อ Ra ∈ จงแสดงวา Asupa = และ Aไมมีขอบเขตลาง
4. จงหา Ssup Sinf Smax และ Smin สําหรับเซตในแตละขอตอไปนี้
10
4.1 ZS = 4.2 { }2x|RxS 2
<∈=
4.3 { }01x2x|xS 2
<−−= 4.4






∈= Nn|
n
1
S
4.5
( )








∈
−
−= Nn|
n
1
1S
n
5. ให RS ⊂ และ S เปนเซตมีขอบเขต จงพิสูจนวา
5.1 ถา SinfSsup = แลว S มีสมาชิกเพียงตัวเดียว
5.2 ถา a เปนขอบเขตลางของ S และ b เปนขอบเขตบนของ S แลว ba ≤
6. ให RS ⊂ และให { }Sx|xT ∈−= จงหาความสัมพันธระหวาง Ssup และ Tinf และ ระหวาง
Sinf และ Tsup
7. ให RBA ⊂⊂≠φ AและB เปนเซตมีขอบเขต จงแสดงวา
7.1 AinfBinf ≤ 7.2 BsupAsup ≤
8. ให RS ⊂≠φ และให { }Sx|xV 2
∈= จงแสดงความสัมพันธระหวาง Ssup และ Vsup และ
ระหวาง Sinf และ Tinf
9. ให { }9x1|RxA <<∈= และ { }8x0|RxB <<∈= กําหนดเซต
{ }BbRa|baBA ∈∈+=+ จงหา ( )inf A B+ และ ( )sup A B+
10. ให Aและ B เปนเซตมีขอบเขต กําหนดเซต BA + เชนเดียวกับขอ 9 จงพิสูจนวา
10.1 ( )sup A+ B = supA+supB
10.2 ( )inf A+ B = infA+infB
11. ให { } [ ]5,15x1|RxS −=<<−∈= กําหนดเซต { }Sx|axaS ∈= เมื่อ Ra ∈ จงหา
( )aSinf และ ( )aSsup เมื่อ
11.1 3a = 11.2 2a −=
12. ให S เปนเซตมีขอบเขต กําหนดเซต aS เมื่อ Ra ∈ เชนเดียวกับขอ 11 จงพิสูจนวา
12.1 ถา 0a > แลว ( ) SinfaaSinf = และ ( ) SsupaaSsup =
12.2 ถา 0a < แลว ( ) SsupaaSinf = และ ( ) SinfaaSsup =
และ
11
13. ให S และ T เปนเซตมีขอบเขต จงพิสูจนวา ( ) { }Tsup,SsupmaxTSsup =∪
14. ให RS ⊂ และ b เปนขอบเขตบนนอยสุดของ S จงแสดงวา ทุก Ra ∈ ถา ba < แลว จะมี
Sx ∈ ซึ่ง bxa ≤≤
15. ให RS ⊂ และ φ≠S จงพิสูจนวา ถา S เปนขอบเขตลางแลว ทุกจํานวนจริง 0>ε ใดๆ จะมี
Sa ∈ ซึ่งทําให ε+<≤ SinfaSinf
1.3 สมบัติอารคิมีดีส ( Archimedean Property )
เราจะศึกษาสมบัติที่สําคัญของเซตของจํานวนธรรมชาติ
ทฤษฎีบท 1.3 N เปนเซตไมมีขอบเขตบน
พิสูจน โดยใชขอขัดแยง สมมติวา N เปนเซตมีขอบเขตบน ดังนั้น มี Rb∈ ซึ่ง Nsupb = ไดวา
bn ≤ ทุก Nn ∈ จาก 1b − ไมเปนขอบเขตบนของ N ดังนั้นมี Nm∈ ซึ่ง m1b <− หรือ
1mb +< เนื่องจาก N1m ∈+ ดังนั้น 1m b+ ≤ ( เพราะวา b เปนขอบเขตบนของ N ) เกิดขอความ
ขัดแยง ดังนั้น N ไมมีขอบเขตบน
ทฤษฎีบท 1.4 สมบัติการจัดอันดับดี (well-ordering property )
ทุกเซตยอยของ N ที่ไมเปนเซตวางจะมีคาต่ําสุดเสมอ
พิสูจน ให S N⊂ และ φ≠S จะแสดงวา S มีคาต่ําสุด เนื่องจาก 1 เปนขอบเขตลางของ S โดย
สัจพจนความบริบูรณไดวา S มีขอบเขตลางมากสุด ให Sinfa = ดังนั้น 1a + ไมเปนขอบเขตลางของ
S ไดวามี Sx ∈ ซึ่ง 1axa +<≤
สมมติวา Sa ∉ ไดวา 1axa +<< ดังนั้น x ไมเปนขอบเขตลางของ S ไดวามี Sy ∈ ซึ่ง
1axya +<<< ดังนั้น 1yx0 <−< ซึ่งเปนไปไมไดเพราะวา x และ y เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น
เปนเท็จ โดยบทนิยาม 1.10 ไดวา a เปนคาต่ําสุดของ S
ทฤษฎีบท 1.5 สมบัติอารคิมีดีส
ทุกจํานวนจริงบวก x และ y จะมี Nn∈ ซึ่งทําให ynx >
12
พิสูจน ให 0x > และ 0y > และ { }|A nx n N= ∈ ไดวา φ≠A (เพราะวา Axx1 ∈=⋅ ) สมมติ
วา nx y≤ ทุก n N∈ ดังนั้น y เปนขอบเขตบนของ A โดยสัจพจนความบริบูรณไดวา A มีขอบเขตบน
นอยสุด ให Asupb = เนื่องจาก 0x > ดังนั้น bxb <− ไดวา xb − ไมเปนขอบเขตบนของ A
ดังนั้น มี Nk ∈ ซึ่งทําให xbkx −> หรือ ( ) bx1k >+
เนื่องจาก ( ) Ax1k ∈+ ดังนั้น ( ) bx1k ≤+ เกิดขอขัดแยงกัน ดังนั้น nx y≤ ทุก n N∈ เปนเท็จ
ไดวา มี Nn∈ ซึ่ง ynx >
หมายเหตุ ถา 0x > และ y เปนจํานวนจริงใดๆแลวจะมี Nn∈ ซึ่งทําให ynx > ทั้งนี้ เพราะวา
เมื่อ 0y > ใชทฤษฎีบท 1.5 เมื่อ 0y < เลือก 1n = จะได yx1 >⋅ เสมอ
บทแทรก 1.6 ก. ทุก Rx ∈ มี Nn∈ ซึ่งทําให xn >
ข. ทุก 0a > มี n N∈ ซึ่งทําให
1
a
n
<
พิสูจน ก. ให Rx ∈ ถา 0x ≤ แลวเราเลือก 1n = จะได xn > ถา 0x > โดยทฤษฎีบท 1.5 ไดวา
มี Nn∈ ซึ่ง x1nn >⋅=
ข.ให 0a > ดังนั้น 0
a
1
> โดยขอ ก. ไดวามี Nn∈ ซึ่ง
a
1
n > นั่นคือ a
n
1
<
ตัวอยาง 1.4 จงแสดงวา ก. ( )
1
( ,2) 0,2
n N n∈
= ข.
1
(0, )
n N n
φ
∈
=
พิสูจน ก. ให 
Nn
2,
n
1
x
∈






∈ ดังนั้น มี Nm∈ ซึ่ง
1
,2x
m
 
∈ 
 
นั่นคือ 2x
m
1
0 <<< ดังนั้น
( )2,0x ∈ ไดวา ( )2,02,
n
1
Nn
⊂





∈
 ให ( )2,0x ∈ หรือ 2x0 << โดยบทแทรก 1.6 ข. ไดวา มี
0n N∈ ซึ่ง x
0n
1
< ดังนั้น 





∈ 2,
0n
1
x ไดวา 
Nn
2,
n
1
x
∈






∈ นั่นคือ ( ) 
Nn
2,
n
1
2,0
∈






⊂ สรุป
ไดวา ( )2,02,
n
1
Nn
=





∈

13
ข.สมมติวา φ≠





∈

Nn n
1
,0 ดังนั้นมี 
Nn n
1
,0x
∈






∈ นั่นคือ 







∈
n
1
,0x ทุก Nn ∈
โดยบทแทรก 1.6 ข. ไดวามี N0m ∈ ซึ่ง x
0m
1
< แต
0m
1
x < เกิดขอขัดแยงกัน
ดังนั้น φ=





∈

Nn n
1
,0
ทฤษฎีบท 1.7 ทุก Rx ∈ จะมีจํานวนเต็ม m ซึ่งทําให 1m x m≤ < +
พิสูจน ให Rx ∈ ดังนั้น 0x ≥ หรือ 0x <
กรณี 0x ≥ ให { }kx|NkA <∈= ดังนั้น NA ⊂ โดยใชบทแทรก 1.5 ก. ไดวามี Nn0 ∈
ซึ่ง 0nx0 <≤ ดังนั้น An0 ∈ นั่นคือ φ≠A โดยทฤษฎีบท 1.4 ไดวา A มีคาต่ําสุดให Aminn =
ดังนั้น n เปนจํานวนเต็มบวก ให 1nm −= ไดวา m เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น xm ≤ (เพราะวาถา
xm > แลว Am∈ ทําให m1nn =−≤ เกิดขอขัดแยง) ดังนั้น 1mxm +<≤
กรณี 0x < จะได 0x >− ดังนั้นมีจํานวนเต็ม p ซึ่งทําให 1pxp +<−≤ ไดวา
px1p ≤−<− ดังนั้น 1pxp +−<≤− ให pm −= ไดวา m เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น มี Zm∈ ซึ่ง
1mxm +<≤
ความสัมพันธระหวางเซตของจํานวนตรรกยะและเซตของจํานวนจริงคือ เซตของจํานวนตรรกยะ
เปนเซตหนาแนนของเซตในจํานวนจริง
บทนิยาม 1.12 ให RS ⊂ เรากลาววา S เปนเซตหนาแนน (dense set) ใน R ถาทุกชวง ( )b,a โดยที่
ba < บรรจุสมาชิกของ S อยางนอยหนึ่งตัว
ทฤษฎีบท 1.8 เซตของจํานวนตรรกยะ Q เปนเซตหนาแนนใน R
พิสูจน ให Rb,a ∈ และ ba < เราจะแสดงวามีจํานวนตรรกยะ r ใน ( )b,a
เนื่องจาก 0ba >− โดยสมบัติอารคิมีดีส ไดวา มี Nn∈ ซึ่งทําให
( ) 1abn >− ------ ( 1 )
พิจารณาจํานวนจริง 1na + โดยใชทฤษฎีบท 1.7 ไดวามี Zm∈ ซึ่งทําให
14
1m1nam +<+≤ ------ ( 2 )
จาก (2) ไดวา mna1m <≤− ดังนั้น
n
m
a <
จาก (1) ไดวา 1nanb +> และใช (2) ไดวา nb1nam <+≤ ดังนั้น b
n
m
<
ให
n
m
r = จะได r เปนจํานวนตรรกยะ ซึ่ง ( )b,ar ∈ ดังนั้น Q เปนเซตหนาแนนใน R
หมายเหตุ จาก ทฤษฎีบท 1.8 กลาวไดวา ระหวางจํานวนจริงสองจํานวน จะมีจํานวนตรรกยะอยู
ระหวางจํานวนจริงทั้งสอง
ทฤษฎีบท 1.9 ระหวางจํานวนจริงสองจํานวน จะมีจํานวนอตรรกยะอยูระหวางจํานวนจริงทั้งสอง
พิสูจน ให Rb,a ∈ และ ba < ดังนั้น
2
b
2
a
< โดยทฤษฎีบท 1.8 ไดวามี Qr ∈ ซึ่งทําให
2
b
r
2
a
<< เราสามารถเลือก Qs ∈ ซึ่ง φ≠s ซึ่งทําให
2
b
s
2
a
<< ดังนั้น b2sa <<
เนื่องจาก Qs ∈ และ φ≠s และ 2 เปนจํานวนอตรรกยะ ดังนั้น 2s เปนจํานวนอตรรกยะไดวามี
จํานวนอตรรกยะ 2s อยูระหวาง a และ b
1.4 คาสมบูรณ ( Absolute Value)
ในบางครั้งเราจําเปนตองใชเฉพาะจํานวนจริงที่ไมเปนลบ ดังนั้นเราจึงนิยามคาสัมบูรณของ
จํานวนจริง
บทนิยาม 1.13 คาสัมบูรณของจํานวนจริง a เขียนแทนดวย a กําหนดโดย



−
=
a
a
a
จากบทนิยามของคาสัมบูรณไดวา 0a ≥ และไดสมบัติของคาสัมบูรณดังนี้
ทฤษฎีบท 1.10 ให Rb,a ∈ ไดวา
ก. aa =−
ข. aaa ≤≤−
ถา 0a ≥
ถา 0a <
15
ค. baab =
ง. a b a b+ ≤ + (อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม (triangle inequality))
จ. a b a b− ≤ −
พิสูจน ก. ถา 0=a แลว 000 ==−
ถา 0>a แลว 0<− a ดังนั้น ( ) aaaa ==−−=−
ถา 0<a แลว 0>− a ดังนั้น aaa =−=−
ข. ถา 0≥a แลว a a a= > −
ถา 0<a แลว aa −= หรือ aaa <=− ดังนั้น aaa ≤≤−
ค. ถา a หรือ b เทากับศูนยแลว baab == 0
ถา 0>a และ 0>b แลว baabab ==
ถา 0>a และ 0<b แลว ( ) babaabab =−=−=
ถา 0<a และ 0>b แลว ( ) babaabab =−=−=
ถา 0<a และ 0<b แลว ( )( )ab ab a b a b= =− − =
ง. เนื่องจาก aaa ≤≤− และ bbb ≤≤−
ดังนั้น ( ) babababa +≤+≤−−=+−
จากนิยาม 1.13 ไดวา
( )


+−
+
=+
ba
ba
ba
ถา 0≥+ ba แลว bababa +≤+=+
ถา 0<+ ba แลว ( ) bababa +≤+−=+
ดังนั้น baba +≤+
จ. bbabbaa +−≤+−= ดังนั้น baba −≤− และ
abaaabb +−≤+−= ดังนั้น baab −≤−
ถา 0≥− ba แลว bababa −≤−=−
ถา 0<− ba แลว baabba −≤−=−
ดังนั้น baba −≤−
ทฤษฎีบท 1.11 ให , ,a b c R∈ และ 0>c ถา ε<− cba ทุก 0>ε แลว ba =
ถา 0≥+ ba
ถา 0<+ ba
16
พิสูจน ให ε<− cba ทุก 0>ε และ สมมติวา ba ≠ เลือก ba
c
−=ε
2
1
ดังนั้น 0>ε ไดวา
baba
c
cba −=−⋅<−
2
1
2
1
เกิดขอความที่เปนไปไมได ดังนั้น ba =
ในทางเรขาคณิตจุดบนเสนตรงเสนหนึ่งสามารถใชแทนจํานวนจริงได ในบางกรณีชวยใหการ
วิเคราะหเขาใจงายขึ้น เรากลาวไดวามีการสมนัยหนึ่งตอหนึ่ง ระหวางเซตของจํานวนจริงและเซตของจุด
บนเสนตรงเสนหนึ่ง ดังนั้นเราอาจเรียกจํานวนจริงวา จุด และเรียกเสนตรงที่ใชแทนจํานวนจริงวา เสน
จํานวนจริง ( real line )
โดยปกติระยะทางระหวางจุด x ที่ไมเทากับจุด y ใน R คือ yx − หรือ xy − เมื่อจํานวนนั้นเปนบวก
เราสามารถนิยามระยะทางระหวาง Ry,x ∈ โดยใชคาสัมบูรณ ไดวา ระยะทางระหวาง x และ y
เทากับ yx − ดังนั้น x คือระยะทางระหวาง Rx ∈ และ 0 นั่นเอง
ทฤษฎีบท 1.12 ให Rz,y,x ∈ ไดวา
ก. xyyx −=−
ข. 0=− yx ก็ตอเมื่อ yx =
ค. yzzxyx −+−≤− ทุก Rz ∈
พิสูจน ทําเปนแบบฝกหัด
1.5 อสมการและเอกลักษณที่สําคัญ
เราจะกลาวถึงอสมการและเอกลักษณที่สําคัญ ซึ่งจะนําไปใชในบทตอไป
อสมการของแบรนูลลี (Bernoulli’s Inequality)
ทุกจํานวนธรรมชาติ n และทุกจํานวนจริง a ซึ่ง 1−≥a ไดวา
รูป 1.1
17
( ) naa n
+≥+ 11
พิสูจน โดยหลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร ให 1−≥a แตละ Nn∈ ให ( )nP แทนอสมการ
( ) naa n
+≥+ 11 เห็นไดชัดวา เมื่อ 1=n ได ( ) a.a 111 1
+=+ ดังนั้น ( )1P เปนจริง
สมมติ ( ) kaa k
+≥+ 11 เมื่อ Nk ∈ จาก 01 ≥+ a ดังนั้น
( ) ( ) ( )( ) 2
1 1 1 1 1
k
a a ka a a ka ka+ + ≥ + + ≥ + + +
( ) ( )aka k
111 1
++≥+ +
(เพราะวา 02
≥ka )
ไดวา ( )1+kP เปนจริง ดังนั้น ( ) naa
n
+≥+ 11 เปนจริงทุก n N∈
สูตรผลตางยกกําลัง (Difference of Powers Formula)
ทุกจํานวนธรรมชาติ n ทุกจํานวนจริง a และ b ไดวา
( )( )1221 −−−−
++++−=− nnnnnn
bab...baababa
เมื่อให 1=a และ rb = สูตรผลตางยกกําลังกลายเปนสูตรผลรวมเรขาคณิต (geometric sum formula)
ดังนี้
r
r
r...rrr
n
n
−
−
=+++++ −
1
1
1 132
เมื่อ 1≠r
สูตรทวิภาค (Binomial Formula)
ทุกจํานวนธรรมชาติ n ทุกจํานวนจริง a และ b ไดวา
( ) nnnnnn
bab
n
n
...ba
n
ba
n
aba +





−
++





+





+=− −−− 1221
121
เมื่อ
( )
!
! !
n n
k k n k
 
= 
− 
โดยที่ 1321321 −== n,...,,,k,n.......!n
แบบฝกหัด 1.3
18
1. จงหา Ssup Sinf Smax และ Smin ของเซตในแตละขอตอไปนี้ พรอมทั้งพิสูจน
1.1






∈
+
= Nn|
1n
n
S
1.2 )
n
1
,0[S
Nn

∈
=
1.3 )1n2,n2[S
Nn
+=
∈

1.4 { }ax|QxS <∈=
1.5 )
n
1
1,0(S
Nn

∈
+=
2. จงพิสูจนวา ถา
n
1
a ≤ ทุก Nn∈ แลว 0a ≤
3. จงพิสูจนวา ถา NA ⊂ และ A มีขอบเขตบน แลว A มีคาสูงสุด
4. ให RS ⊂ และ S มีขอบเขตบน จงแสดงวา ถา
n
1
a − ไมเปนขอบเขตลางของ S และ
n
1
a +
ไมเปนขอบเขตลางของ S ทุก Nn∈ แลว Asupa =
5. จงหาจํานวนตรรกยะที่อยูระหวาง 10 และ 13
6. จงแสดงวา เซต






∈∈= NnZm|
n
2m
E เปนเซตหนาแนนใน R
7. ให RS ⊂ จงพิสูจนวา S เปนเซตมีขอบเขต ก็ตอเมื่อ มี 0M > ซึ่งทําให Mx ≤ ทุก
Sx ∈
8. ให Rb,a ∈ จงพิสูจนวา
8.1 ab ≤ ก็ตอเมื่อ aba ≤≤−
8.2 ถา 1ba ≤+ แลว 1ba +≤
8.3 baba +=+ ก็ตอเมื่อ 0ab ≥
9. ให Ra ∈ จงแสดงวา { }Ra|a,amaxa ∈−=
10. จงแสดงวา ถา bxa << และ bya << แลว abyx −<−
11. ให Rc,b,a ∈ และ ca < จงแสดงวา cba << ก็ตอเมื่อ cacbba −=−+−
12. จงใชหลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร พิสูจนวา !n2 1n
≤−
ทุก Nn∈
และ

More Related Content

What's hot

เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6Roman Paduka
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
พิทักษ์ ทวี
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
sawed kodnara
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
K'Keng Hale's
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
วชิรญาณ์ พูลศรี
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
ssuser29b0ec
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
Owen Inkeaw
 

What's hot (20)

รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 

Similar to บทที่1 จำนวนจริง

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
sensehaza
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์Pasit Suwanichkul
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
kruaunpwk
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
kroojaja
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 

Similar to บทที่1 จำนวนจริง (20)

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1
 
Real
RealReal
Real
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

บทที่1 จำนวนจริง

  • 1. 1 บทที่ 1 จํานวนจริง (Real Numbers) 1.1 จํานวนจริง การศึกษาการวิเคราะหเชิงจริง เราตองมีความรูเกี่ยวกับสมบัติของจํานวนจริง ในที่นี้เราจะ กําหนดใหสมบัติของจํานวนจริงบางประการเปนสัจพจน และพิสูจนสมบัติอื่นๆของจํานวนจริงโดยใช สัจพจนเหลานี้ กอนที่จะใหสัจพจน ขอทบทวนเกี่ยวกับจํานวนธรรมชาติ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และ จํานวนจริงในสวนที่เราคุนเคยมาแลว จํานวนธรรมชาติ (natural numbers) ให N แทนเซตของจํานวนธรรมชาติ ซึ่งประกอบดวย 1, 2, 3, 4, … ดังนั้น { },...3,2,1N = โดยที่ แตละ Nn∈ จะมี ตัวตามหลัง (successor) เปน 1n + เชนตัวตามหลัง ของ 1 คือ 2 ตัวตามหลังของ 2 คือ 3 เปนตน สมบัติที่เดนชัดของ N คือ สัจพจนเปอาโน (Peano’s Axiom or Peano’s Postulate) คิดโดย จู เซปเป เปอาโน (Giuseppe Peano ค.ศ. 1858-1932) เปนนักคณิตศาสตรชาวอิตาเลียน สัจพจนเปอาโน 5 ขอ กลาวไวดังนี้ 1N 1 เปนจํานวนธรรมชาติ 2N ถา n เปนจํานวนธรรมชาติแลว ตัวตามหลังของ n เปนจํานวนธรรมชาติ 3N ถา m และ n เปนจํานวนธรรมชาติที่มีตัวตามหลังเปนตัวเดียวกันแลว nm = 4N ถา n เปนจํานวนธรรมชาติ และ 1n ≠ แลว n เปนตัวตามหลังของจํานวนธรรมชาติ จํานวนหนึ่ง นั่นคือ ถา Nn∈ และ 1n ≠ แลวจะมี Nm∈ ซึ่ง 1mn += 5N ถา NS ⊂ ซึ่งมีสมบัติวา ก. S1∈
  • 2. 2 และ ข. ทุก Nk ∈ ถา Sk ∈ แลว S1k ∈+ แลว NS = เราเรียกสัจพจน 5N วา หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร(principle of mathematical induction) ซึ่ง นําไปใชพิสูจนขอความในแบบ ( )"nP,Nn" ∈∀ เมื่อ ( )nP แทนขอความเชิงคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับ n โดยให { }: ( )S n N P n= ∈ ถาแสดงไดวา 1. ( )1P เปนจริง และ 2. ทุก Nk ∈ ถา ( )kP เปนจริงแลว ( )1kP + เปนจริง แลวสรุปไดวา ( )nP เปนจริงทุก n N∈ มีการดําเนินการทวิภาคบน N คือ การบวก “+” และการคูณ “ .” ของ m และn อยูใน N ซึ่งจะ เขียน n m+ และ .m n (หรือ mn ) ตามลําดับ มีความสัมพันธอันดับ มากกวา “>” โดยเขียนแทน m n> (อานวา เอ็มมากกวาเอ็น) จํานวนเต็ม (integers) จากเซตของจํานวนธรรมชาติ มีการสรางเซตของจํานวนเต็มเพื่อใหเกิดการลบ (นั่นคือมีคําตอบ ของสมการในรูป mnx =+ เมื่อกําหนด ,n m N∈ ) ให Z (หรือ I ) แทนเซตของจํานวนเต็ม ซึ่งประกอบดวย , 3 , 2 , 1 ,0 ,1 ,2 ,3,… − − − … ดังนั้น { }, 3 , 2 , 1 ,0 ,1 ,2 ,3,Z =… − − − … และเห็นไดชัดวา N Z⊂ ซึ่งบางครั้งเราจะเรียก N วาเซตของจํานวนเต็มบวก มีการดําเนินการทวิภาคบน Z คือ การบวกและการคูณ มีความสัมพันธอันดับ “มากกวา” โดยที่ สมบัติการบวก การคูณ และความสัมพันธอันดับใน N ยังคงเปนจํานวนจริงใน Z จํานวนตรรกยะ (rational numbers) เพื่อทําใหเกิดการหาร (นั่นคือมีคําตอบของสมการในรูป mxn = เมื่อกําหนด ,n m N∈ ) จึงมี การสรางเซตของจํานวนตรรกยะขึ้น
  • 3. 3 ให Q แทนเซตของจํานวนตรรกยะ ไดวา : , m Q m Z n N n   = ∈ ∈    ซึ่ง จํานวนตรรกยะ คือจํานวนที่อยูในรูปเศษสวน n m โดยที่ m Z∈ และ n N∈ และ N Z Q⊂ ⊂ การเทากันของสมาชิกของ N หรือ Z กําหนดวา mn = หมายถึง m และ n เปนสิ่งเดียวกัน ขณะที่การเทากันของสมาชิกของ Q กําหนดวา b a n m = ก็ตอเมื่อ anmb = สําหรับ ,m a Z∈ และ ,n b N∈ จํานวนจริง (real numbers) ระบบจํานวนจริงสามารถสรางไดโดยเริ่มจากสัจพจนเปอาโน 5 ขอ สําหรับจํานวนธรรมชาติ แลว สรางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนจริง การพัฒนาระบบจํานวนจริงจากจํานวนตรรกยะอยาง เปนระบบที่สมบูรณ มีวิธีการซึ่งเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปอยู 2 วิธี คิดคนโดยคณิตศาสตรชาวเยอรมันนี 2 คน คือ ริคารด เดเดคินด(Richard Dedekind) ค.ศ. 1845-1918) และเกอรก คันทอร (Gerog Cantor ค.ศ. 1931-1916)รายละเอียดของการพัฒนาระบบจํานวนจริงศึกษาไดจาก [9] ซึ่งจะไมกลาวในหนังสือ เลมนี้ จากการพัฒนามาจนถึงจํานวนตรรกยะ พบวาไมมีจํานวนตรรกยะ r ซึ่ง 2r2 = การพิสูจน ขอความนี้ใชสมบัติของจํานวนเต็มและพิสูจนโดยขอขัดแยง ดังนี้ สมมติวามีจํานวนตรรกยะ n m ซึ่ง 2 n m 2 =      โดยที่ m Z∈ และ n N∈ และตัวหารรวมมาก (greatest commom divisor) ของ n และ m เทากับ 1 ดังนั้น 22 n2m = ไดวา m เปนจํานวนคู ให k2m = สําหรับบางคา k Z∈ จะได 22 n2k2 = ดังนั้น 22 k2n = ไดวา n เปนจํานวนคูเพราะฉะนั้น m และn มี 2 เปนตัวประกอบ ทําใหไดวาตัวหารรวมมากของ n และ m ไมเทากับ 1 เกิดขอความ ขัดแยงกัน ดังนั้นไมมีจํานวนตรรกยะ r ซึ่ง 2r2 = เพื่อใหไดจํานวนซึ่งเปนคําตอบของสมการ 2x2 = จึงเกิดจํานวนอตรรกยะ (irrational numbers) ซึ่งไมเปนจํานวนตรรกยะ และยูเนียนของเซตของจํานวน ตรรกยะ และเซตของจํานวนอตรรกยะเปน เซตของจํานวนจริงเขียนแทนดวย R ตอไปเราจะศึกษาโครงสรางและสมบัติบางประการของจํานวนจริง โดยสมมติวาเซตของจํานวน จริง R มีสมบัติสอดคลองกับสัจพจน 3 กลุม คือ สัจพจนฟลด สัจพจนการเปนบวก และสัจพจนความ บริบูรณ
  • 4. 4 สัจพจนฟลด (Field Axioms) เซตของจํานวนจริงR มีการดําเนินการทวิภาคบน R ที่เรียกวา การบวกและการคูณ สําหรับ จํานวนจริง a และ b การบวกของ a และ b เขียนแทนดวย ba + การคูณของ a และ b เขียนแทนดวย ba ⋅ หรือ ab การบวกและการคูณสอดคลองกับสัจพจนฟลดดังนี้ 1A แตละ a , Rb∈ abba +=+ 2A แตละ a , Rb∈ ( ) ( )cbacba ++=++ 3A มี R0 ∈ เพียงตัวเดียวเทานั้นที่ทําให aa00a =+=+ ทุก Ra ∈ 4A แตละ Ra ∈ จะมี Rb∈ ซึ่งทําให 0ba =+ เขียนแทน b ดวย a− และเรียก a− วา ตัวผกผันของ a ภายใตการบวก 1M แตละ a , Rb∈ baab = 2M แตละ a , Rb∈ ( ) ( )bcacab = 3M มี 1 R∈ เพียงตัวเดียวเทานั้นที่ทําให a1aa1 == ทุก Ra ∈ 4M แตละ Ra ∈ และ 0a ≠ จะมี Rb∈ ซึ่งทําให 1ab = เขียนแทน b ดวย 1 a− และ เรียก 1 a− วา ตัวผกผันของ a ภายใตการคูณ 1AM แตละ a , Rb∈ ( ) bcaccba +=+ ขอตกลง ให a , Rb∈ จะเขียน ba − แทน ( )ba −+ และเขียน b a แทน 1 ab− เมื่อ 0b ≠ จากสัจพจนฟลด เราสามารถพิสูจนสมบัติของจํานวนจริงภายใตการบวกและการคูณไดอีก มากมาย เชน ( ) aa =−− , ( ) bb 11 = −− ถา 0b ≠ , ( ) ( )11 bb −− −=− ถา 0b ≠ เปนตน สัจพจนการบวก (Positivity Axiom) สมมติวา R มีเซตยอย + R เพียงเซตเดียวเทานั้นที่มีสมบัติ 2 ขอ ดังนี้ 1P ถา + ∈ Ra และ + ∈ Rb แลว + ∈+ Rba และ + ∈ Rab
  • 5. 5 2P แตละ Ra∈ ขอความตอไปนี้เปนจริงพียงขอเดียวเทานั้น i) + ∈ Ra ii) 0a = iii) + ∈− Ra เราเรียกจํานวนจริงที่เปนสมาชิกของ + R วา จํานวนจริงบวก ดังนั้น + R เปนเซตของจํานวนจริงบวก จากสัจพจนการเปนบวก จะนิยามความสัมพันธอันดับ “มากกวา” บน R ไดดังนี้ ให Rb,a ∈ เรากลาววา a มากกวา b (เขียน ba > ) ก็ตอเมื่อ ba − เปนจํานวนจริงบวก a มากกวาหรือเทากับ b (เขียน ba ≥ ) ก็ตอเมื่อ ba > หรือ ba = a นอยกวา b (เขียน ba < ) ก็ตอเมื่อ b มากกวา a a นอยกวาหรือเทากับ b (เขียน ba ≤ ) ก็ตอเมื่อ ba < หรือ ba = ขอสังเกต ให Ra∈ ไดวา 0a > ก็ตอเมื่อ + ∈−= R0aa ดังนั้น { }0x|RxR >∈=+ และไดวา 0a < ก็ตอเมื่อ 0 a> ก็ตอเมื่อ + ∈−=− Ra0a ถาให { }+− ∈−∈= Ra|RaR แลว { }0x|RxR <∈=− เรียกจํานวนจริงที่เปนสมาชิกของ − R วา จํานวนจริงลบ ดังนั้น { } −+ ∪∪= R0RR จากสัจพจนฟลดและสัจพจนการเปนบวก ทําใหไดสมบัติของจํานวนจริงตามมาอีกมาก ซึ่งจะ กลาวไวเฉพาะที่สําคัญหรือที่จะนําไปใชโดยไมตองพิสูจน 1. แตละ Rb,a ∈ ขอความตอไปนี้เปนจริงเพียงขอความเดียว i) ba > ii) ba = iii) ba < เราเรียกกฎนี้วา กฎไตรวิภาค (trichotomy law) สําหรับจํานวนจริง 2. แตละ Rc,b,a ∈ ถา ba > และ cb > แลว ca > 3. แตละ Rb,a ∈ ถา ba > แลว cbca +>+ ทุก Rc∈ 4. แตละ Rb,a ∈ ถา ba > แลว ac bc> ทุก + ∈ Rc และ ac bc< ทุก − ∈ Rc 5. แตละ + ∈ Ra และ 0a ≠ ไดวา 0a2 > 6. แตละ + ∈ Ra ไดวา +− ∈ Ra 1
  • 6. 6 7. แตละ Rb,a ∈ ถา ba > แลวจะมี Rc∈ ซึ่ง bca >> 8. แตละ Ra ∈ 8.1 ถา 1a > แลว 1aa2 >> 8.2 ถา 1a0 << แลว aa2 < 9. แตละ Rb,a ∈ ถา ba0 << แลว 22 ba < แบบฝกหัด 1.1 1. จงหาคําตอบของ อสมการตอไปนี้ 1.1 2 1 1 2 2 4x < + 1.2 2 3 4 2 1 x x x x + − > + − 1.3 2 2 4 7 3 1 x x x − − ≥ − 1.4 ( ) 22 2 1x x≥ + 2. จงพิสูจนความสมเหตุสมผลของขอความพีชคณิตจํานวนตอไปนี้ สําหรับแตละจํานวนนับ n 2.1 ( ) 2 1 3 5 ... 2 1n n+ + + + − = 2.2 2 1 2 3 ... 2 n n n + + + + + = 2.3 2 2n n ≤ 2.4 2 2n n < เมื่อ 3n ≥ 1.2 สัจพจนความบริบูรณ (Completeness Axiom) ให RS ⊂ ถา { }1 2, ,..., nS x x x= เปนเซตจํากัด จะเห็นไดชัดวา S มี สมาชิก คาสูงสุด และ สมาชิก คานอยสุดแตถา S เปนเซตอนันต อาจจะไมมี สมาชิก คาสูงสุด หรือ สมาชิก คานอยสุดก็ได บทนิยาม 1.9 ให S Rφ ≠ ⊂ และ ,u l R∈ เรากลาววา ก. u เปนขอบเขตบน (upper bound) ของ S ก็ตอเมื่อ x u≤ ทุก Sx∈ ข. l เปนขอบเขตลาง (lower bound) ของ S ก็ตอเมื่อ x l≥ ทุก Sx∈ ค. S เปนเซตมีขอบเขต(bounded set) ก็ตอเมื่อ S มีทั้งขอบเขตลางและขอบเขตบน นั่นคือมี u R∈ ซึ่ง u เปนขอบเขตบน ของ S และมี l R∈ ซึ่ง l เปนขอบเขตลางของ S ขอสังเกต จากนิยาม 1.9 ไดวา S ไมมีขอบเขตบน ก็ตอเมื่อ ทุก u R∈ จะมี Sx∈ ซึ่ง x u>
  • 7. 7 S ไมมีขอบเขตลาง ก็ตอเมื่อ ทุก l R∈ จะมี Sx∈ ซึ่ง x l< S ไมมีขอบเขต ก็ตอเมื่อ S ไมมีขอบเขตบน หรือ S ไมมีขอบเขตลาง บทนิยาม 1.10 ให S Rφ ≠ ⊂ เรากลาววา ก. จํานวนจริง a เปนคาสูงสุด(maximum) ของ S ก็ตอเมื่อ a S∈ และ a เปนขอบเขต บนของ S และเขียนแทนดวย maxa S= ข. จํานวนจริง b เปนคาต่ําสุด(minimum) ของ S ก็ตอเมื่อ b S∈ และ b เปนขอบเขต ลางของ S และเขียนแทนดวย minb S= ขอสังเกต ถา c เปนขอบเขตบนของ A แลว ทุกๆจํานวน x ซึ่ง x c≥ จะเปนขอบเขตบนของ A และ ถา d เปนขอบเขตลางของ A แลว ทุกๆจํานวน y ซึ่ง y c≤ จะเปนขอบเขตลางของ A ดังนั้น ขอบเขตบนและขอบเขตลางของ A มีจํานวนมากมาย บทนิยาม 1.11 ให RS ⊂ และ φ≠S เรากลาววา ก. จํานวนจริงM เปนขอบเขตบนนอยสุด(least upper bound or supremum) ของ S ถา M เปนคาต่ําสุดของเซตของขอบเขตบนทั้งหมดของ S และเขียน SsupM = นั่นคือ SsupM = ก็ตอเมื่อ 1. M เปนขอบเขตบนของ S 2. ถา y เปนขอบเขตบนใดๆของ S แลว My ≥ ข. จํานวนจริงm เปนขอบเขตลางมากสุด(greatest lower bound or infimum) ของ S ถา m เปนคาสูงสุดของเซตของขอบเขตลางทั้งหมดของ S และเขียน Sinfm = นั่นคือ Sinfm = ก็ตอเมื่อ 1. m เปนขอบเขตลางของ S 2. ถา y เปนขอบเขตลางใดๆของ S แลว my ≤ ถา S ไมมีขอบเขตบน แลวกําหนดให ∞=Ssup ในทํานองเดียวกัน ถา S ไมมีขอบเขตลาง แลวกําหนดให −∞=Sinf ขอสังเกต ให AU แทนเซตของขอบเขตบนทั้งหมดของ A และ AL แทนเซตของขอบเขตลาง ทั้งหมดของ A จะเห็นไดวา min supAU A= และ max infAL A=
  • 8. 8 ตัวอยาง 1.1 ให { }[0,1) | 0 1A x R x= = ∈ ≤ < จงหาขอบเขตบน ขอบเขตลาง ขอบเขตบนคา นอยสุดและขอบเขตลางคามากสุด ของ A วิธีทํา ให x A∈ ไดวา 1x0 <≤ ดังนั้น x0 ≤ ทุก Ax∈ ไดวา 0 เปนขอบเขตลางของ A และ 1x < ทุก Ax∈ ไดวา 1 เปนขอบเขตบนของ A และไดวา ( ],0AL = −∞ และ [ )1,AU = ∞ ดังนั้น max 0 infAL A= = และ min 1 supAU A= = และไดวา 0 เปนคาต่ําสุดของ [0,1)A = เพราะวา A0 ∈ และ 0 เปนของเขตลางของ A แต 1 ไมเปนคาสูงสุดของ Aเพราะวา 1 เปนขอบเขตบนของ A แต A1∉ สําหรับ S เปนเซตใดๆ ที่ φ≠S และ S มีขอบเขต แลว SU มีคาต่ําสุดเสมอ การพิสูจน ขอความตอไปนี้ ไมสามารถทําไดโดยใชเพียงสัจพจนฟลดและสัจพจนการเปนบวก ดังนั้นเราจะให ขอความดังกลาวเปนสัจพจน ซึ่งคือสัจพจนความบริบูรณ สัจพจนความบริบูรณ กลาววา เซตยอยของ R ซึ่งไมเปนเซตวางและมีขอบเขตบน จะมีขอบเขตบน นอยสุดเสมอ นั่นคือ ถา φ≠S และ S มีขอบเขตบนแลว S มีขอบเขตบนนอยสุดหรือ Ssup มีจริง (exist) ตัวอยาง 1.2 จงหา Ssup Sinf Smax และ Smin เมื่อกําหนดเซต S ดังตอไปนี้ ก. { }4x3|ZxS <<−∈= ข. { }2x|RxS ≥∈= วิธีทํา ก. ไดวา { }3,2,1,0,1,2S −−= ดังนั้น Smax3Ssup == และ Smin2Sinf =−= ข. เนื่องจาก x2 ≤ ทุก Sx ∈ ดังนั้น 2 เปนขอบเขตลางของ S และถา y เปนขอบเขตลางของ S แลว 2y ≤ ดังนั้น 2Sinf = และจาก S2 ∈ ดวย ดังนั้น 2Smin = จะแสดงวา S ไมมีขอบเขตบนโดยพิสูจนแบบขัดแยง( Contradiction) สมมติวา S มีขอบเขต บน ให RM ∈ ซึ่ง Mx ≤ ทุก Sx ∈ ดังนั้น 2M ≥ ไดวา 2M1M >>+ ดังนั้น
  • 9. 9 S1M ∈+ เพราะฉะนั้น M1M ≤+ ซึ่งเปนไปไมได ดังนั้น ที่สมมติวา S มีขอบเขตบนนั้นเปนเท็จ ไดวา S ไมมีขอบเขตบน นั่นคือ S ไมมีขอบเขตบนนอยสุด และ S ไมมีคาสูงสุด ทฤษฎีบท 1.1 ให RS ⊂ และ φ≠S ถาS มีขอบเขตลางแลว S มีขอบเขตลางมากสุด พิสูจน ให φ≠S และให b เปนขอบเขตลางของ S ให { }St|RtT ∈−∈= ดังนั้น φ≠T (เพราะวา φ≠S ดังนั้น มี Sx ∈ และ ( ) Sxx ∈−−= ดังนั้น Tx ∈− ) จะแสดงวา b− เปนขอบเขตบนของ T ให Tt ∈ ดังนั้น St ∈− ไดวา tb −≤ (เพราะวา b เปนขอบเขตลางของ S ) นั่นคือ tb ≥− ดังนั้น b− เปนขอบเขตบนของ T โดยสัจพจนความบริบูรณไดวา T มีขอบเขตบนนอยสุด ให Tsupc = จะแสดงวา c− เปนขอบเขตลางมากสุดของ S ให Sx ∈ ดังนั้น Tx ∈− ไดวา c x≥ − (เพราะวา c เปนขอบเขตบนของ T ) ดังนั้น xc ≤− ไดวา c− เปนขอบเขตลางของ S ให y เปนขอบเขตลางใดๆของ S จะได y− เปนขอบเขตบนของ T จาก Tsupc = ไดวา yc −≤ นั่นคือ yc ≥− ดังนั้น c− เปนขอบเขตลางมากสุดของ S ทฤษฎีบท 1.2 ให RS ⊂ และ φ≠S และ S มีขอบเขตบนแลว สําหรับทุกจํานวนจริง 0>ε จะมี Sa ∈ ซึ่งทําให sup supS a Sε− < ≤ พิสูจน โดยใชขอขัดแยง สมมติวามี 00 >ε ซึ่งทําให ทุก Sa ∈ ไดวา a0Ssup ≥ε− ถาเกิดกรณี a0Ssup ≥ε− ทุก Sa ∈ แลว 0supS ε− เปนขอบเขตบนของ S ซึ่ง Ssup0Ssup <ε− เกิดขอ ขัดแยง (เพราะวา Ssup เปนขอบเขตบนนอยสุดของ S และ Ssupa ≤ ทุก Sa ∈ ) ดังนั้นทุก 0>ε จะมี Sa ∈ ซึ่งทําให SsupaSsup <<ε− แบบฝกหัด 1.2 1. จงพิสูจนวา ไมมีจํานวนตรรกยะ r ซึ่ง 3r2 = 2. ให ( )b,aS = หรือ ]b,a( หรือ [ ]b,a หรือ )b,a[ เมื่อ Rb,a ∈ และ ba < จงแสดงวา Sinfa = และ Ssupb = 3. ให ]a,(A −∞= หรือ ( )a,∞− เมื่อ Ra ∈ จงแสดงวา Asupa = และ Aไมมีขอบเขตลาง 4. จงหา Ssup Sinf Smax และ Smin สําหรับเซตในแตละขอตอไปนี้
  • 10. 10 4.1 ZS = 4.2 { }2x|RxS 2 <∈= 4.3 { }01x2x|xS 2 <−−= 4.4       ∈= Nn| n 1 S 4.5 ( )         ∈ − −= Nn| n 1 1S n 5. ให RS ⊂ และ S เปนเซตมีขอบเขต จงพิสูจนวา 5.1 ถา SinfSsup = แลว S มีสมาชิกเพียงตัวเดียว 5.2 ถา a เปนขอบเขตลางของ S และ b เปนขอบเขตบนของ S แลว ba ≤ 6. ให RS ⊂ และให { }Sx|xT ∈−= จงหาความสัมพันธระหวาง Ssup และ Tinf และ ระหวาง Sinf และ Tsup 7. ให RBA ⊂⊂≠φ AและB เปนเซตมีขอบเขต จงแสดงวา 7.1 AinfBinf ≤ 7.2 BsupAsup ≤ 8. ให RS ⊂≠φ และให { }Sx|xV 2 ∈= จงแสดงความสัมพันธระหวาง Ssup และ Vsup และ ระหวาง Sinf และ Tinf 9. ให { }9x1|RxA <<∈= และ { }8x0|RxB <<∈= กําหนดเซต { }BbRa|baBA ∈∈+=+ จงหา ( )inf A B+ และ ( )sup A B+ 10. ให Aและ B เปนเซตมีขอบเขต กําหนดเซต BA + เชนเดียวกับขอ 9 จงพิสูจนวา 10.1 ( )sup A+ B = supA+supB 10.2 ( )inf A+ B = infA+infB 11. ให { } [ ]5,15x1|RxS −=<<−∈= กําหนดเซต { }Sx|axaS ∈= เมื่อ Ra ∈ จงหา ( )aSinf และ ( )aSsup เมื่อ 11.1 3a = 11.2 2a −= 12. ให S เปนเซตมีขอบเขต กําหนดเซต aS เมื่อ Ra ∈ เชนเดียวกับขอ 11 จงพิสูจนวา 12.1 ถา 0a > แลว ( ) SinfaaSinf = และ ( ) SsupaaSsup = 12.2 ถา 0a < แลว ( ) SsupaaSinf = และ ( ) SinfaaSsup = และ
  • 11. 11 13. ให S และ T เปนเซตมีขอบเขต จงพิสูจนวา ( ) { }Tsup,SsupmaxTSsup =∪ 14. ให RS ⊂ และ b เปนขอบเขตบนนอยสุดของ S จงแสดงวา ทุก Ra ∈ ถา ba < แลว จะมี Sx ∈ ซึ่ง bxa ≤≤ 15. ให RS ⊂ และ φ≠S จงพิสูจนวา ถา S เปนขอบเขตลางแลว ทุกจํานวนจริง 0>ε ใดๆ จะมี Sa ∈ ซึ่งทําให ε+<≤ SinfaSinf 1.3 สมบัติอารคิมีดีส ( Archimedean Property ) เราจะศึกษาสมบัติที่สําคัญของเซตของจํานวนธรรมชาติ ทฤษฎีบท 1.3 N เปนเซตไมมีขอบเขตบน พิสูจน โดยใชขอขัดแยง สมมติวา N เปนเซตมีขอบเขตบน ดังนั้น มี Rb∈ ซึ่ง Nsupb = ไดวา bn ≤ ทุก Nn ∈ จาก 1b − ไมเปนขอบเขตบนของ N ดังนั้นมี Nm∈ ซึ่ง m1b <− หรือ 1mb +< เนื่องจาก N1m ∈+ ดังนั้น 1m b+ ≤ ( เพราะวา b เปนขอบเขตบนของ N ) เกิดขอความ ขัดแยง ดังนั้น N ไมมีขอบเขตบน ทฤษฎีบท 1.4 สมบัติการจัดอันดับดี (well-ordering property ) ทุกเซตยอยของ N ที่ไมเปนเซตวางจะมีคาต่ําสุดเสมอ พิสูจน ให S N⊂ และ φ≠S จะแสดงวา S มีคาต่ําสุด เนื่องจาก 1 เปนขอบเขตลางของ S โดย สัจพจนความบริบูรณไดวา S มีขอบเขตลางมากสุด ให Sinfa = ดังนั้น 1a + ไมเปนขอบเขตลางของ S ไดวามี Sx ∈ ซึ่ง 1axa +<≤ สมมติวา Sa ∉ ไดวา 1axa +<< ดังนั้น x ไมเปนขอบเขตลางของ S ไดวามี Sy ∈ ซึ่ง 1axya +<<< ดังนั้น 1yx0 <−< ซึ่งเปนไปไมไดเพราะวา x และ y เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น เปนเท็จ โดยบทนิยาม 1.10 ไดวา a เปนคาต่ําสุดของ S ทฤษฎีบท 1.5 สมบัติอารคิมีดีส ทุกจํานวนจริงบวก x และ y จะมี Nn∈ ซึ่งทําให ynx >
  • 12. 12 พิสูจน ให 0x > และ 0y > และ { }|A nx n N= ∈ ไดวา φ≠A (เพราะวา Axx1 ∈=⋅ ) สมมติ วา nx y≤ ทุก n N∈ ดังนั้น y เปนขอบเขตบนของ A โดยสัจพจนความบริบูรณไดวา A มีขอบเขตบน นอยสุด ให Asupb = เนื่องจาก 0x > ดังนั้น bxb <− ไดวา xb − ไมเปนขอบเขตบนของ A ดังนั้น มี Nk ∈ ซึ่งทําให xbkx −> หรือ ( ) bx1k >+ เนื่องจาก ( ) Ax1k ∈+ ดังนั้น ( ) bx1k ≤+ เกิดขอขัดแยงกัน ดังนั้น nx y≤ ทุก n N∈ เปนเท็จ ไดวา มี Nn∈ ซึ่ง ynx > หมายเหตุ ถา 0x > และ y เปนจํานวนจริงใดๆแลวจะมี Nn∈ ซึ่งทําให ynx > ทั้งนี้ เพราะวา เมื่อ 0y > ใชทฤษฎีบท 1.5 เมื่อ 0y < เลือก 1n = จะได yx1 >⋅ เสมอ บทแทรก 1.6 ก. ทุก Rx ∈ มี Nn∈ ซึ่งทําให xn > ข. ทุก 0a > มี n N∈ ซึ่งทําให 1 a n < พิสูจน ก. ให Rx ∈ ถา 0x ≤ แลวเราเลือก 1n = จะได xn > ถา 0x > โดยทฤษฎีบท 1.5 ไดวา มี Nn∈ ซึ่ง x1nn >⋅= ข.ให 0a > ดังนั้น 0 a 1 > โดยขอ ก. ไดวามี Nn∈ ซึ่ง a 1 n > นั่นคือ a n 1 < ตัวอยาง 1.4 จงแสดงวา ก. ( ) 1 ( ,2) 0,2 n N n∈ = ข. 1 (0, ) n N n φ ∈ = พิสูจน ก. ให  Nn 2, n 1 x ∈       ∈ ดังนั้น มี Nm∈ ซึ่ง 1 ,2x m   ∈    นั่นคือ 2x m 1 0 <<< ดังนั้น ( )2,0x ∈ ไดวา ( )2,02, n 1 Nn ⊂      ∈  ให ( )2,0x ∈ หรือ 2x0 << โดยบทแทรก 1.6 ข. ไดวา มี 0n N∈ ซึ่ง x 0n 1 < ดังนั้น       ∈ 2, 0n 1 x ไดวา  Nn 2, n 1 x ∈       ∈ นั่นคือ ( )  Nn 2, n 1 2,0 ∈       ⊂ สรุป ไดวา ( )2,02, n 1 Nn =      ∈ 
  • 13. 13 ข.สมมติวา φ≠      ∈  Nn n 1 ,0 ดังนั้นมี  Nn n 1 ,0x ∈       ∈ นั่นคือ         ∈ n 1 ,0x ทุก Nn ∈ โดยบทแทรก 1.6 ข. ไดวามี N0m ∈ ซึ่ง x 0m 1 < แต 0m 1 x < เกิดขอขัดแยงกัน ดังนั้น φ=      ∈  Nn n 1 ,0 ทฤษฎีบท 1.7 ทุก Rx ∈ จะมีจํานวนเต็ม m ซึ่งทําให 1m x m≤ < + พิสูจน ให Rx ∈ ดังนั้น 0x ≥ หรือ 0x < กรณี 0x ≥ ให { }kx|NkA <∈= ดังนั้น NA ⊂ โดยใชบทแทรก 1.5 ก. ไดวามี Nn0 ∈ ซึ่ง 0nx0 <≤ ดังนั้น An0 ∈ นั่นคือ φ≠A โดยทฤษฎีบท 1.4 ไดวา A มีคาต่ําสุดให Aminn = ดังนั้น n เปนจํานวนเต็มบวก ให 1nm −= ไดวา m เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น xm ≤ (เพราะวาถา xm > แลว Am∈ ทําให m1nn =−≤ เกิดขอขัดแยง) ดังนั้น 1mxm +<≤ กรณี 0x < จะได 0x >− ดังนั้นมีจํานวนเต็ม p ซึ่งทําให 1pxp +<−≤ ไดวา px1p ≤−<− ดังนั้น 1pxp +−<≤− ให pm −= ไดวา m เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น มี Zm∈ ซึ่ง 1mxm +<≤ ความสัมพันธระหวางเซตของจํานวนตรรกยะและเซตของจํานวนจริงคือ เซตของจํานวนตรรกยะ เปนเซตหนาแนนของเซตในจํานวนจริง บทนิยาม 1.12 ให RS ⊂ เรากลาววา S เปนเซตหนาแนน (dense set) ใน R ถาทุกชวง ( )b,a โดยที่ ba < บรรจุสมาชิกของ S อยางนอยหนึ่งตัว ทฤษฎีบท 1.8 เซตของจํานวนตรรกยะ Q เปนเซตหนาแนนใน R พิสูจน ให Rb,a ∈ และ ba < เราจะแสดงวามีจํานวนตรรกยะ r ใน ( )b,a เนื่องจาก 0ba >− โดยสมบัติอารคิมีดีส ไดวา มี Nn∈ ซึ่งทําให ( ) 1abn >− ------ ( 1 ) พิจารณาจํานวนจริง 1na + โดยใชทฤษฎีบท 1.7 ไดวามี Zm∈ ซึ่งทําให
  • 14. 14 1m1nam +<+≤ ------ ( 2 ) จาก (2) ไดวา mna1m <≤− ดังนั้น n m a < จาก (1) ไดวา 1nanb +> และใช (2) ไดวา nb1nam <+≤ ดังนั้น b n m < ให n m r = จะได r เปนจํานวนตรรกยะ ซึ่ง ( )b,ar ∈ ดังนั้น Q เปนเซตหนาแนนใน R หมายเหตุ จาก ทฤษฎีบท 1.8 กลาวไดวา ระหวางจํานวนจริงสองจํานวน จะมีจํานวนตรรกยะอยู ระหวางจํานวนจริงทั้งสอง ทฤษฎีบท 1.9 ระหวางจํานวนจริงสองจํานวน จะมีจํานวนอตรรกยะอยูระหวางจํานวนจริงทั้งสอง พิสูจน ให Rb,a ∈ และ ba < ดังนั้น 2 b 2 a < โดยทฤษฎีบท 1.8 ไดวามี Qr ∈ ซึ่งทําให 2 b r 2 a << เราสามารถเลือก Qs ∈ ซึ่ง φ≠s ซึ่งทําให 2 b s 2 a << ดังนั้น b2sa << เนื่องจาก Qs ∈ และ φ≠s และ 2 เปนจํานวนอตรรกยะ ดังนั้น 2s เปนจํานวนอตรรกยะไดวามี จํานวนอตรรกยะ 2s อยูระหวาง a และ b 1.4 คาสมบูรณ ( Absolute Value) ในบางครั้งเราจําเปนตองใชเฉพาะจํานวนจริงที่ไมเปนลบ ดังนั้นเราจึงนิยามคาสัมบูรณของ จํานวนจริง บทนิยาม 1.13 คาสัมบูรณของจํานวนจริง a เขียนแทนดวย a กําหนดโดย    − = a a a จากบทนิยามของคาสัมบูรณไดวา 0a ≥ และไดสมบัติของคาสัมบูรณดังนี้ ทฤษฎีบท 1.10 ให Rb,a ∈ ไดวา ก. aa =− ข. aaa ≤≤− ถา 0a ≥ ถา 0a <
  • 15. 15 ค. baab = ง. a b a b+ ≤ + (อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม (triangle inequality)) จ. a b a b− ≤ − พิสูจน ก. ถา 0=a แลว 000 ==− ถา 0>a แลว 0<− a ดังนั้น ( ) aaaa ==−−=− ถา 0<a แลว 0>− a ดังนั้น aaa =−=− ข. ถา 0≥a แลว a a a= > − ถา 0<a แลว aa −= หรือ aaa <=− ดังนั้น aaa ≤≤− ค. ถา a หรือ b เทากับศูนยแลว baab == 0 ถา 0>a และ 0>b แลว baabab == ถา 0>a และ 0<b แลว ( ) babaabab =−=−= ถา 0<a และ 0>b แลว ( ) babaabab =−=−= ถา 0<a และ 0<b แลว ( )( )ab ab a b a b= =− − = ง. เนื่องจาก aaa ≤≤− และ bbb ≤≤− ดังนั้น ( ) babababa +≤+≤−−=+− จากนิยาม 1.13 ไดวา ( )   +− + =+ ba ba ba ถา 0≥+ ba แลว bababa +≤+=+ ถา 0<+ ba แลว ( ) bababa +≤+−=+ ดังนั้น baba +≤+ จ. bbabbaa +−≤+−= ดังนั้น baba −≤− และ abaaabb +−≤+−= ดังนั้น baab −≤− ถา 0≥− ba แลว bababa −≤−=− ถา 0<− ba แลว baabba −≤−=− ดังนั้น baba −≤− ทฤษฎีบท 1.11 ให , ,a b c R∈ และ 0>c ถา ε<− cba ทุก 0>ε แลว ba = ถา 0≥+ ba ถา 0<+ ba
  • 16. 16 พิสูจน ให ε<− cba ทุก 0>ε และ สมมติวา ba ≠ เลือก ba c −=ε 2 1 ดังนั้น 0>ε ไดวา baba c cba −=−⋅<− 2 1 2 1 เกิดขอความที่เปนไปไมได ดังนั้น ba = ในทางเรขาคณิตจุดบนเสนตรงเสนหนึ่งสามารถใชแทนจํานวนจริงได ในบางกรณีชวยใหการ วิเคราะหเขาใจงายขึ้น เรากลาวไดวามีการสมนัยหนึ่งตอหนึ่ง ระหวางเซตของจํานวนจริงและเซตของจุด บนเสนตรงเสนหนึ่ง ดังนั้นเราอาจเรียกจํานวนจริงวา จุด และเรียกเสนตรงที่ใชแทนจํานวนจริงวา เสน จํานวนจริง ( real line ) โดยปกติระยะทางระหวางจุด x ที่ไมเทากับจุด y ใน R คือ yx − หรือ xy − เมื่อจํานวนนั้นเปนบวก เราสามารถนิยามระยะทางระหวาง Ry,x ∈ โดยใชคาสัมบูรณ ไดวา ระยะทางระหวาง x และ y เทากับ yx − ดังนั้น x คือระยะทางระหวาง Rx ∈ และ 0 นั่นเอง ทฤษฎีบท 1.12 ให Rz,y,x ∈ ไดวา ก. xyyx −=− ข. 0=− yx ก็ตอเมื่อ yx = ค. yzzxyx −+−≤− ทุก Rz ∈ พิสูจน ทําเปนแบบฝกหัด 1.5 อสมการและเอกลักษณที่สําคัญ เราจะกลาวถึงอสมการและเอกลักษณที่สําคัญ ซึ่งจะนําไปใชในบทตอไป อสมการของแบรนูลลี (Bernoulli’s Inequality) ทุกจํานวนธรรมชาติ n และทุกจํานวนจริง a ซึ่ง 1−≥a ไดวา รูป 1.1
  • 17. 17 ( ) naa n +≥+ 11 พิสูจน โดยหลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร ให 1−≥a แตละ Nn∈ ให ( )nP แทนอสมการ ( ) naa n +≥+ 11 เห็นไดชัดวา เมื่อ 1=n ได ( ) a.a 111 1 +=+ ดังนั้น ( )1P เปนจริง สมมติ ( ) kaa k +≥+ 11 เมื่อ Nk ∈ จาก 01 ≥+ a ดังนั้น ( ) ( ) ( )( ) 2 1 1 1 1 1 k a a ka a a ka ka+ + ≥ + + ≥ + + + ( ) ( )aka k 111 1 ++≥+ + (เพราะวา 02 ≥ka ) ไดวา ( )1+kP เปนจริง ดังนั้น ( ) naa n +≥+ 11 เปนจริงทุก n N∈ สูตรผลตางยกกําลัง (Difference of Powers Formula) ทุกจํานวนธรรมชาติ n ทุกจํานวนจริง a และ b ไดวา ( )( )1221 −−−− ++++−=− nnnnnn bab...baababa เมื่อให 1=a และ rb = สูตรผลตางยกกําลังกลายเปนสูตรผลรวมเรขาคณิต (geometric sum formula) ดังนี้ r r r...rrr n n − − =+++++ − 1 1 1 132 เมื่อ 1≠r สูตรทวิภาค (Binomial Formula) ทุกจํานวนธรรมชาติ n ทุกจํานวนจริง a และ b ไดวา ( ) nnnnnn bab n n ...ba n ba n aba +      − ++      +      +=− −−− 1221 121 เมื่อ ( ) ! ! ! n n k k n k   =  −  โดยที่ 1321321 −== n,...,,,k,n.......!n แบบฝกหัด 1.3
  • 18. 18 1. จงหา Ssup Sinf Smax และ Smin ของเซตในแตละขอตอไปนี้ พรอมทั้งพิสูจน 1.1       ∈ + = Nn| 1n n S 1.2 ) n 1 ,0[S Nn  ∈ = 1.3 )1n2,n2[S Nn += ∈  1.4 { }ax|QxS <∈= 1.5 ) n 1 1,0(S Nn  ∈ += 2. จงพิสูจนวา ถา n 1 a ≤ ทุก Nn∈ แลว 0a ≤ 3. จงพิสูจนวา ถา NA ⊂ และ A มีขอบเขตบน แลว A มีคาสูงสุด 4. ให RS ⊂ และ S มีขอบเขตบน จงแสดงวา ถา n 1 a − ไมเปนขอบเขตลางของ S และ n 1 a + ไมเปนขอบเขตลางของ S ทุก Nn∈ แลว Asupa = 5. จงหาจํานวนตรรกยะที่อยูระหวาง 10 และ 13 6. จงแสดงวา เซต       ∈∈= NnZm| n 2m E เปนเซตหนาแนนใน R 7. ให RS ⊂ จงพิสูจนวา S เปนเซตมีขอบเขต ก็ตอเมื่อ มี 0M > ซึ่งทําให Mx ≤ ทุก Sx ∈ 8. ให Rb,a ∈ จงพิสูจนวา 8.1 ab ≤ ก็ตอเมื่อ aba ≤≤− 8.2 ถา 1ba ≤+ แลว 1ba +≤ 8.3 baba +=+ ก็ตอเมื่อ 0ab ≥ 9. ให Ra ∈ จงแสดงวา { }Ra|a,amaxa ∈−= 10. จงแสดงวา ถา bxa << และ bya << แลว abyx −<− 11. ให Rc,b,a ∈ และ ca < จงแสดงวา cba << ก็ตอเมื่อ cacbba −=−+− 12. จงใชหลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร พิสูจนวา !n2 1n ≤− ทุก Nn∈ และ