SlideShare a Scribd company logo
คณิตศาสตร์ในแต่ละยุคสมัย ที่มา   :   เว็บไซต์ศูนย์การเรียนคณิตศาสตร์ออนไลน์เวบไซต์การศึกษาเพื่อครู - อาจารย์และลูกหลานไทย
1. สมัยบาบิโลนและอียิปต์ -    ในสมัย  5,000   ปีมาแล้ว ชาวบาบิโลน  ( อยู่ในประเทศอิรักทุกวันนี้ )  และชาวอียิปต์รู้จักเขียนสัญลักษณ์แทนจำนวน รู้จักเลขเศษส่วน รู้จักใช้ลูกคิดบวก ลบ คูณ หารตัวเลข ความรู้เกี่ยวกับจำนวนได้นำมาใช้ในการติดต่อค้าขาย การเก็บภาษี การรู้จักทำปฏิทินและการรู้จักใช้มาตรฐานเกี่ยวกับเวลา
2. สมัยกรีกและโรมัน -   ในสมัย  2 ,000   ปีถึง  2 ,300   ปีที่แล้ว ชาวกรีกได้รับความรู้ทางคณิตศาสตร์จากชาวอียิปต์และชาวบาบิโลน ชาวกรีกเป็นนักคิด ชอบการใช้เหตุผล เขาเห็นว่าคณิตศาสตร์ไม่เป็นแต่เพียงเกร็ดความรู้ที่ใช้ให้เป็นประโยชน์ได้เท่านั้น เขาจึงได้วางกฎเกณฑ์ทำให้คณิตศาสตร์กลายเป็นวิชาที่มีเหตุผล
นักคณิตศาสตร์ที่สำคัญในสมัยกรีกและโรมัน มีดังนี้   เธลีส  ( Thales   ประมาณ  640 -546  ปี ก่อนคริสต์ศักราช )  เป็นนักปรัชญานักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ชาวกรีก เป็นคนแรกที่คำนวณหาความสูงของพีระมิดในอียิปต์โดยใช้เงา เขาได้ทำนายว่าจะเกิดสุริยคราสล่วงหน้าซึ่งได้เกิดขึ้นก่อนพุทธศักราช  42   ปี รู้จักพิสูจน์ทฤษฎีบททางเรขาคณิต
ปีทาโกรัส   ( Pythagoras   ประมาณ  580 -496  ปี ก่อนคริสต์ศักราช )  นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก เป็นผู้ริเริ่มตั้งโรงเรียนสอนวิชาคณิตศาสตร์และปรัชญา ปีทาโกรัสและศิษย์สนใจเรื่องราวของจำนวนมาก เขาคิดว่าวิชาการต่างๆและการงานแทบทุกชนิดของมนุษย์ จะต้องมีจำนวนเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอ
ยูคลิด   ( Euclid   ประมาณ  450 -380  ปี ก่อนคริสต์ศักราช )  นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ได้รวบรวมเรขาคณิตขึ้นเป็นตำราที่มีชื่อเสียงมาก เป็นการวางพื้นฐานการเรียนเรขาคณิตโดยกล่าวถึงจุด เส้นและรูป เช่น รูปสามเหลี่ยมและวงกลม จากข้อความที่ยูคลิดถือว่าเป็นจริงแล้วประมาณ  10   ข้อความ เช่น  " มีเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท่านั้นที่ลากผ่านจุดสองจุดได้ "   
อาร์คีมีดีส  ( Archimedes   ประมาณ  287 -212  ปี ก่อนคริสต์ศักราช )  นักคณิตศาสตร์นักฟิสิกส์ชาวกรีก สนใจการหาพื้นที่วงกลมปริมาตรของทรงกระบอกและกรวย นักคณิตศาสตร์สมัยนี้รู้จักคำนวณอตรรกยะเช่น  (...)  และ  (...) ( พาย )  และสามารถคำนวณค่าโดยประมาณได้โดยใช้เศษส่วนอาร์คีมีดีสพบว่า มีค่าประมาณ วิธีการหาค่า นำไปสู่การค้นพบวิชาแคลคูลัส   
3. สมัยกลาง -    ( ประมาณ พ . ศ .  1072-1979 )  อาณาจักรโรมันเสื่อมสลายลงในปี พ . ศ .  1019   ชาวอาหรับรับการถ่ายทอดความรู้ทางคณิตศาสตร์จากกรีก ได้รับความรู้เรื่องจำนวนศูนย์ และวิธีเขียนตัวเลขแบบใหม่จากอินเดีย ตัวเลข  1   2   3   4   5   6   7   8   9   0   ที่เราใช้กันทุกวันนี้ จึงมีชื่อว่า ฮินดูอารบิค ชาวอาหรับแปลตำราภาษากรีกออกเป็นภาษาอาหรับไว้มากมาย ทั้งทางดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์และแพทยศาสตร์  
4. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ( ประมาณ พ . ศ .  1980-2143 )  สงครามครูเสดระหว่างชาวยุโรปกับชาวอาหรับ ซึ่งกินเวลาร่วม  300   ปี สิ้นสุดลง ชาวยุโรปเริ่มฟื้นฟูทางการศึกษา และมีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยกันขึ้น ในปี พ . ศ .  2035   คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส  ( Christopher Columbus   ประมาณ ค . ศ .  1415-1506 )   นักเดินเรือชาวอิตาเลียนแล่นเรือไปพบทวีปอเมริกา ใน พ . ศ .  2045   ชาวโปรตุเกสเข้ามาค้าขายในกรุงศรีอยุธยา การค้าขายเจริญรุ่งเรือง ชาวโลกสนใจคณิตศาสตร์มากขึ้นเพราะใช้เป็นประโยชน์ได้มากในการค้าขายและเดินเรือ
เราพบตำราคณิตศาสตร์ภาษาเยอรมัน พิมพ์ใน พ . ศ .  2032   มีการใช้เครื่องหมาย  +  และ  -  ตำราคณิตศาสตร์ที่แพร่หลายมากคือตำราเกี่ยวกับเลขาคณิต อธิบายวิธี บวก ลบ คูณ หารจำนวน โดยไม่ต้องใช้ลูกคิด การหารยาวก็เริ่มต้นมาจากสมัยนี้และยังคงใช้กันอยู่ตราบเท่าปัจจุบัน นักดาราศาสตร์ใช้คณิตศาสตร์ในงานค้นคว้าเกี่ยวกับดวงดาวบนท้องฟ้า นิโคลัส คอเปอร์นิคัส  ( Nicolus Copernicus  ค . ศ .  1473-   1546 )   นักดาราศาสตร์ผู้อ้างว่า โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เกิดในสมัยนี้
5. การเริ่มต้นของคณิตศาสตร์สมัยใหม่  การเริ่มต้นของคณิตศาสตร์สมัยใหม่  ( ประมาณ ค . ศ .  2144-2343 )   เริ่มต้นประมาณแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยาจนถึงแผ่นดินสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในรอบสองร้อยปีต่อมา ความเจริญทางด้านดาราศาสตร์ การเดินเรือ การค้า การก่อสร้าง ทำให้จำเป็นต้องคิดเลข ให้ได้เร็วและถูกต้อง
6. สมัยปัจจุบัน   -   สมัยปัจจุบัน  ( ประมาณ พ . ศ .  2344 - ปัจจุบัน )  เริ่มประมาณแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย นักคณิตศาสตร์ในสมัยนี้สนในเรื่องรากฐานของวิชาคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์  ( วิชาว่าด้วยการใช้เหตุผล )  นำผลงานของนักคณิตศาสตร์รุ่นก่อนมาวิเคราะห์ใคร่ครวญ สิ่งใดที่นักคณิตศาสตร์รุ่นก่อนเคยกล่าวว่าเป็นจริงแล้ว เพื่อนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน
นักคณิตศาสตร์ และแขนงใหม่ของคณิตศาสตร์ในสมัยนี้ ดังนี้    คาร์ล ฟรีดริค เกาส์   ( Carl Friedrich Gauss   ค . ศ .  1777-1855 )   นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน มีผลงานดีเด่นทางคณิตศาสตร์มากมายหลายด้าน ได้แก่ พีชคณิต การวิเคราะห์ทฤษฎีจำนวน การวิเคราะห์เชิงตัวเลข ความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ รวมทั้งดาราศาสตร์และฟิสิกส์  
   นิโคไล อิวาโนวิช โลบาเชฟสกี   ( Nikolai Iwanowich Lobacheviski   ค . ศ .  1792-1856 )   นักคณิตศาสตร์ชาวรุสเซีย และจาโนส โบลไย  ( Janos Bolyai   ค . ศ .  1802-1860 )   นักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี ได้รับการยกย่องให้เป็นผู้ให้กำเนิดวิชาเรขาคณิตนอกระบบยูคลิดในส่วนเรขาคณิตแบบไฮเพอร์โบลิก
นีลส์ เฮนริก อาเบล   ( Niels Henrik Abel   ค . ศ .  ( 1802-1829 )   เกิดวันที่  5   สิงหาคม    ค . ศ .  1802   ที่เมือง  Findoe, Norway   ประเทศนอรเว    เป็นนักคณิตศาสตร์ มีผลงานในด้านพีชคณิตและการวิเคราะห์
เซอร์ วิลเลียม โรแวน แฮมิลทัน   ( Sir William Rowan Hamilton   ค . ศ .  1805 -1885 )  นักคณิตศาสตร์ชาวไอริส มีผลงานในด้านพีชคณิต ดาราศาสตร์ และฟิสิกส์ ในปี ค . ศ .  1843   เขาได้สร้างจำนวนชนิดใหม่ขึ้นเรียกว่า ควอเทอร์เนียน เป็นจำนวนที่เขียนได้ในรูป  a  +  bi  +  cj  +  dk  +   โดยที่  a, b, c   และ  d   เป็นจำนวนจริง  i 2  +  j 2  +  k 2  +  ijk  =  -1   ควอเทอร์เนียนมี
แบร์นฮาร์ด รีมันน์   ( Bernhard Riemann   ค . ศ . 1 826 -1866)   เกิดวันที่   17  กันยายน   พ . ศ . 2369   ที่  Breselenz, Hanover   ประเทศเยอรมัน    เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน มีผลงานในด้านเรขาคณิต ทฤษฎีของฟังก์ชันวิเคราะห์ที่มีตัวแปรเป็นจำนวนเชิงซ้อน ทฤษฎีจำนวน ทฤษฎีศักย์ โทโปโลยี และวิชาฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์
   อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์   ( Albert Einstein   ค . ศ .  1879-1955 )    เกิดวันที่   14  มีนาคม   พ . ศ .   2419   ที่  Ulm, Württemberg ,  Germany   ไอน์สไตน์นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันใช้คณิตศาสตร์สร้างทฤษฎีสัมพันธภาพ เป็นเหตุให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับเอกภพและสสารซึ่งเชื่อกันมาแต่เดิมเปลี่ยนแปลงไป ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบัน เช่น แขนงอิเล็กทรอนิกส์ ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอวกาศ ต้องใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ประยุกต์แบบใหม่     ไอน์สไตน์เสียชีวิตที่    Princeton, New Jersey, USA  เมื่อปี พ . ศ .  2498   รวมอายุได้   76   ปี

More Related Content

Viewers also liked

Hot or Not Empire avenue
Hot or Not Empire avenueHot or Not Empire avenue
Hot or Not Empire avenueDinoD
 
Transhealthcare - Company Profile
Transhealthcare - Company ProfileTranshealthcare - Company Profile
Transhealthcare - Company Profile
Netscribes, Inc.
 
Lisa Vander Meulen Portfolio Condensed
Lisa Vander Meulen Portfolio   CondensedLisa Vander Meulen Portfolio   Condensed
Lisa Vander Meulen Portfolio Condensed
clarity_design
 
Membership Engagement
Membership EngagementMembership Engagement
Membership Engagement
jHOamerica
 
Quo vadis deli? Mit Twitter, Facebook und Co?
Quo vadis deli? Mit Twitter, Facebook und Co?Quo vadis deli? Mit Twitter, Facebook und Co?
Quo vadis deli? Mit Twitter, Facebook und Co?
Prof. Dr. Heike Simmet
 
ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ะลข้อ ม.3 ปี 52
ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ะลข้อ ม.3 ปี 52ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ะลข้อ ม.3 ปี 52
ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ะลข้อ ม.3 ปี 52เสาวลักษณ์ อาษานอก
 
Penyeragaman tulang file
Penyeragaman tulang filePenyeragaman tulang file
Penyeragaman tulang fileSida Hashim
 
Power loss reduction in radial distribution system by using plant growth simu...
Power loss reduction in radial distribution system by using plant growth simu...Power loss reduction in radial distribution system by using plant growth simu...
Power loss reduction in radial distribution system by using plant growth simu...Alexander Decker
 
How to use Prezi, the easy way
How to use Prezi, the easy wayHow to use Prezi, the easy way
How to use Prezi, the easy way
juanfran125
 
Redes sociales.
Redes sociales.Redes sociales.
Redes sociales.
isabel
 
E-Mail-Marketing Buzzword-Bingo / Bullshit-Bingo
E-Mail-Marketing Buzzword-Bingo / Bullshit-BingoE-Mail-Marketing Buzzword-Bingo / Bullshit-Bingo
E-Mail-Marketing Buzzword-Bingo / Bullshit-Bingo
Sylvia Detzel
 
Beteiligungsbilanzierung
BeteiligungsbilanzierungBeteiligungsbilanzierung
Beteiligungsbilanzierung
Dr. Anke Nestler
 
Hessischer Bibliothekstag 2010
Hessischer Bibliothekstag  2010Hessischer Bibliothekstag  2010
Hessischer Bibliothekstag 2010Zukunftswerkstatt
 
Desarrollo humano
Desarrollo humanoDesarrollo humano
Desarrollo humano
Carlos Hodgkin Celaya
 
Мобильный доступ
Мобильный доступМобильный доступ
Мобильный доступ
Алексей Волков
 
Best of mtv
Best of mtvBest of mtv
Best of mtvd189009
 

Viewers also liked (19)

Hot or Not Empire avenue
Hot or Not Empire avenueHot or Not Empire avenue
Hot or Not Empire avenue
 
Salavarria
SalavarriaSalavarria
Salavarria
 
Transhealthcare - Company Profile
Transhealthcare - Company ProfileTranshealthcare - Company Profile
Transhealthcare - Company Profile
 
Lisa Vander Meulen Portfolio Condensed
Lisa Vander Meulen Portfolio   CondensedLisa Vander Meulen Portfolio   Condensed
Lisa Vander Meulen Portfolio Condensed
 
Membership Engagement
Membership EngagementMembership Engagement
Membership Engagement
 
Quo vadis deli? Mit Twitter, Facebook und Co?
Quo vadis deli? Mit Twitter, Facebook und Co?Quo vadis deli? Mit Twitter, Facebook und Co?
Quo vadis deli? Mit Twitter, Facebook und Co?
 
ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ะลข้อ ม.3 ปี 52
ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ะลข้อ ม.3 ปี 52ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ะลข้อ ม.3 ปี 52
ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ะลข้อ ม.3 ปี 52
 
Bhasin final
Bhasin finalBhasin final
Bhasin final
 
Penyeragaman tulang file
Penyeragaman tulang filePenyeragaman tulang file
Penyeragaman tulang file
 
Power loss reduction in radial distribution system by using plant growth simu...
Power loss reduction in radial distribution system by using plant growth simu...Power loss reduction in radial distribution system by using plant growth simu...
Power loss reduction in radial distribution system by using plant growth simu...
 
How to use Prezi, the easy way
How to use Prezi, the easy wayHow to use Prezi, the easy way
How to use Prezi, the easy way
 
Redes sociales.
Redes sociales.Redes sociales.
Redes sociales.
 
4th Period Tundra
4th Period Tundra4th Period Tundra
4th Period Tundra
 
E-Mail-Marketing Buzzword-Bingo / Bullshit-Bingo
E-Mail-Marketing Buzzword-Bingo / Bullshit-BingoE-Mail-Marketing Buzzword-Bingo / Bullshit-Bingo
E-Mail-Marketing Buzzword-Bingo / Bullshit-Bingo
 
Beteiligungsbilanzierung
BeteiligungsbilanzierungBeteiligungsbilanzierung
Beteiligungsbilanzierung
 
Hessischer Bibliothekstag 2010
Hessischer Bibliothekstag  2010Hessischer Bibliothekstag  2010
Hessischer Bibliothekstag 2010
 
Desarrollo humano
Desarrollo humanoDesarrollo humano
Desarrollo humano
 
Мобильный доступ
Мобильный доступМобильный доступ
Мобильный доступ
 
Best of mtv
Best of mtvBest of mtv
Best of mtv
 

More from guest0cb30c2 (7)

Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Math
MathMath
Math
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

Math

  • 1. คณิตศาสตร์ในแต่ละยุคสมัย ที่มา : เว็บไซต์ศูนย์การเรียนคณิตศาสตร์ออนไลน์เวบไซต์การศึกษาเพื่อครู - อาจารย์และลูกหลานไทย
  • 2. 1. สมัยบาบิโลนและอียิปต์ -   ในสมัย 5,000 ปีมาแล้ว ชาวบาบิโลน ( อยู่ในประเทศอิรักทุกวันนี้ ) และชาวอียิปต์รู้จักเขียนสัญลักษณ์แทนจำนวน รู้จักเลขเศษส่วน รู้จักใช้ลูกคิดบวก ลบ คูณ หารตัวเลข ความรู้เกี่ยวกับจำนวนได้นำมาใช้ในการติดต่อค้าขาย การเก็บภาษี การรู้จักทำปฏิทินและการรู้จักใช้มาตรฐานเกี่ยวกับเวลา
  • 3. 2. สมัยกรีกและโรมัน -   ในสมัย 2 ,000 ปีถึง 2 ,300 ปีที่แล้ว ชาวกรีกได้รับความรู้ทางคณิตศาสตร์จากชาวอียิปต์และชาวบาบิโลน ชาวกรีกเป็นนักคิด ชอบการใช้เหตุผล เขาเห็นว่าคณิตศาสตร์ไม่เป็นแต่เพียงเกร็ดความรู้ที่ใช้ให้เป็นประโยชน์ได้เท่านั้น เขาจึงได้วางกฎเกณฑ์ทำให้คณิตศาสตร์กลายเป็นวิชาที่มีเหตุผล
  • 4. นักคณิตศาสตร์ที่สำคัญในสมัยกรีกและโรมัน มีดังนี้ เธลีส ( Thales ประมาณ 640 -546 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ) เป็นนักปรัชญานักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ชาวกรีก เป็นคนแรกที่คำนวณหาความสูงของพีระมิดในอียิปต์โดยใช้เงา เขาได้ทำนายว่าจะเกิดสุริยคราสล่วงหน้าซึ่งได้เกิดขึ้นก่อนพุทธศักราช 42 ปี รู้จักพิสูจน์ทฤษฎีบททางเรขาคณิต
  • 5. ปีทาโกรัส ( Pythagoras ประมาณ 580 -496 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก เป็นผู้ริเริ่มตั้งโรงเรียนสอนวิชาคณิตศาสตร์และปรัชญา ปีทาโกรัสและศิษย์สนใจเรื่องราวของจำนวนมาก เขาคิดว่าวิชาการต่างๆและการงานแทบทุกชนิดของมนุษย์ จะต้องมีจำนวนเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอ
  • 6. ยูคลิด ( Euclid ประมาณ 450 -380 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ได้รวบรวมเรขาคณิตขึ้นเป็นตำราที่มีชื่อเสียงมาก เป็นการวางพื้นฐานการเรียนเรขาคณิตโดยกล่าวถึงจุด เส้นและรูป เช่น รูปสามเหลี่ยมและวงกลม จากข้อความที่ยูคลิดถือว่าเป็นจริงแล้วประมาณ 10 ข้อความ เช่น " มีเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท่านั้นที่ลากผ่านจุดสองจุดได้ "  
  • 7. อาร์คีมีดีส ( Archimedes ประมาณ 287 -212 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ) นักคณิตศาสตร์นักฟิสิกส์ชาวกรีก สนใจการหาพื้นที่วงกลมปริมาตรของทรงกระบอกและกรวย นักคณิตศาสตร์สมัยนี้รู้จักคำนวณอตรรกยะเช่น (...) และ (...) ( พาย ) และสามารถคำนวณค่าโดยประมาณได้โดยใช้เศษส่วนอาร์คีมีดีสพบว่า มีค่าประมาณ วิธีการหาค่า นำไปสู่การค้นพบวิชาแคลคูลัส  
  • 8. 3. สมัยกลาง -   ( ประมาณ พ . ศ . 1072-1979 ) อาณาจักรโรมันเสื่อมสลายลงในปี พ . ศ . 1019 ชาวอาหรับรับการถ่ายทอดความรู้ทางคณิตศาสตร์จากกรีก ได้รับความรู้เรื่องจำนวนศูนย์ และวิธีเขียนตัวเลขแบบใหม่จากอินเดีย ตัวเลข 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 ที่เราใช้กันทุกวันนี้ จึงมีชื่อว่า ฮินดูอารบิค ชาวอาหรับแปลตำราภาษากรีกออกเป็นภาษาอาหรับไว้มากมาย ทั้งทางดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์และแพทยศาสตร์  
  • 9. 4. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ( ประมาณ พ . ศ . 1980-2143 ) สงครามครูเสดระหว่างชาวยุโรปกับชาวอาหรับ ซึ่งกินเวลาร่วม 300 ปี สิ้นสุดลง ชาวยุโรปเริ่มฟื้นฟูทางการศึกษา และมีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยกันขึ้น ในปี พ . ศ . 2035 คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ( Christopher Columbus ประมาณ ค . ศ . 1415-1506 ) นักเดินเรือชาวอิตาเลียนแล่นเรือไปพบทวีปอเมริกา ใน พ . ศ . 2045 ชาวโปรตุเกสเข้ามาค้าขายในกรุงศรีอยุธยา การค้าขายเจริญรุ่งเรือง ชาวโลกสนใจคณิตศาสตร์มากขึ้นเพราะใช้เป็นประโยชน์ได้มากในการค้าขายและเดินเรือ
  • 10. เราพบตำราคณิตศาสตร์ภาษาเยอรมัน พิมพ์ใน พ . ศ . 2032 มีการใช้เครื่องหมาย + และ - ตำราคณิตศาสตร์ที่แพร่หลายมากคือตำราเกี่ยวกับเลขาคณิต อธิบายวิธี บวก ลบ คูณ หารจำนวน โดยไม่ต้องใช้ลูกคิด การหารยาวก็เริ่มต้นมาจากสมัยนี้และยังคงใช้กันอยู่ตราบเท่าปัจจุบัน นักดาราศาสตร์ใช้คณิตศาสตร์ในงานค้นคว้าเกี่ยวกับดวงดาวบนท้องฟ้า นิโคลัส คอเปอร์นิคัส ( Nicolus Copernicus ค . ศ . 1473- 1546 ) นักดาราศาสตร์ผู้อ้างว่า โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เกิดในสมัยนี้
  • 11. 5. การเริ่มต้นของคณิตศาสตร์สมัยใหม่ การเริ่มต้นของคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ( ประมาณ ค . ศ . 2144-2343 ) เริ่มต้นประมาณแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยาจนถึงแผ่นดินสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในรอบสองร้อยปีต่อมา ความเจริญทางด้านดาราศาสตร์ การเดินเรือ การค้า การก่อสร้าง ทำให้จำเป็นต้องคิดเลข ให้ได้เร็วและถูกต้อง
  • 12. 6. สมัยปัจจุบัน -   สมัยปัจจุบัน ( ประมาณ พ . ศ . 2344 - ปัจจุบัน ) เริ่มประมาณแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย นักคณิตศาสตร์ในสมัยนี้สนในเรื่องรากฐานของวิชาคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์ ( วิชาว่าด้วยการใช้เหตุผล ) นำผลงานของนักคณิตศาสตร์รุ่นก่อนมาวิเคราะห์ใคร่ครวญ สิ่งใดที่นักคณิตศาสตร์รุ่นก่อนเคยกล่าวว่าเป็นจริงแล้ว เพื่อนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน
  • 13. นักคณิตศาสตร์ และแขนงใหม่ของคณิตศาสตร์ในสมัยนี้ ดังนี้   คาร์ล ฟรีดริค เกาส์ ( Carl Friedrich Gauss ค . ศ . 1777-1855 ) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน มีผลงานดีเด่นทางคณิตศาสตร์มากมายหลายด้าน ได้แก่ พีชคณิต การวิเคราะห์ทฤษฎีจำนวน การวิเคราะห์เชิงตัวเลข ความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ รวมทั้งดาราศาสตร์และฟิสิกส์  
  • 14.   นิโคไล อิวาโนวิช โลบาเชฟสกี ( Nikolai Iwanowich Lobacheviski ค . ศ . 1792-1856 ) นักคณิตศาสตร์ชาวรุสเซีย และจาโนส โบลไย ( Janos Bolyai ค . ศ . 1802-1860 ) นักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี ได้รับการยกย่องให้เป็นผู้ให้กำเนิดวิชาเรขาคณิตนอกระบบยูคลิดในส่วนเรขาคณิตแบบไฮเพอร์โบลิก
  • 15. นีลส์ เฮนริก อาเบล ( Niels Henrik Abel ค . ศ . ( 1802-1829 ) เกิดวันที่ 5 สิงหาคม   ค . ศ . 1802 ที่เมือง Findoe, Norway ประเทศนอรเว   เป็นนักคณิตศาสตร์ มีผลงานในด้านพีชคณิตและการวิเคราะห์
  • 16. เซอร์ วิลเลียม โรแวน แฮมิลทัน ( Sir William Rowan Hamilton ค . ศ . 1805 -1885 ) นักคณิตศาสตร์ชาวไอริส มีผลงานในด้านพีชคณิต ดาราศาสตร์ และฟิสิกส์ ในปี ค . ศ . 1843 เขาได้สร้างจำนวนชนิดใหม่ขึ้นเรียกว่า ควอเทอร์เนียน เป็นจำนวนที่เขียนได้ในรูป a + bi + cj + dk + โดยที่ a, b, c และ d เป็นจำนวนจริง i 2 + j 2 + k 2 + ijk = -1 ควอเทอร์เนียนมี
  • 17. แบร์นฮาร์ด รีมันน์ ( Bernhard Riemann ค . ศ . 1 826 -1866) เกิดวันที่   17  กันยายน   พ . ศ . 2369   ที่ Breselenz, Hanover ประเทศเยอรมัน    เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน มีผลงานในด้านเรขาคณิต ทฤษฎีของฟังก์ชันวิเคราะห์ที่มีตัวแปรเป็นจำนวนเชิงซ้อน ทฤษฎีจำนวน ทฤษฎีศักย์ โทโปโลยี และวิชาฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์
  • 18.   อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ( Albert Einstein ค . ศ . 1879-1955 )   เกิดวันที่   14  มีนาคม   พ . ศ .   2419   ที่ Ulm, Württemberg , Germany   ไอน์สไตน์นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันใช้คณิตศาสตร์สร้างทฤษฎีสัมพันธภาพ เป็นเหตุให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับเอกภพและสสารซึ่งเชื่อกันมาแต่เดิมเปลี่ยนแปลงไป ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบัน เช่น แขนงอิเล็กทรอนิกส์ ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอวกาศ ต้องใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ประยุกต์แบบใหม่    ไอน์สไตน์เสียชีวิตที่   Princeton, New Jersey, USA  เมื่อปี พ . ศ . 2498   รวมอายุได้   76 ปี